วารสารศรปี ทมุ ปรทิ ัศน ฉบบั มนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร ปท่ี 20 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 จากตารางท่ี 3 แสดงใหเห็นวาผลรวมเฉลี่ยคะแนนกรอบความคิดเติบโตของกลุมทดลองภายหลังส้ินสุด การทดลองสงู กวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 และสูงกวากอนการทดลองทุกตัวบงช้ีอยา งมี นัยสําคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 อภิปรายผล 1. รูปแบบการนเิ ทศการสอนตามแนวทางกรอบความคิดเติบโตสําหรับนักศึกษาฝก ประสบการณวิชาชพี ครู เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบวา รูปแบบฯ ท่ีผูวิจัยสรางขึ้นนั้น ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานท่ี 1 ที่วามีความเช่ือม่ันในผลของความพยายามนั้น เนื่องจากการสรางรูปแบบการนิเทศการสอนตามแนวทางกรอบ ความคิดเติบโต และนําไปใชในกลุมทดลองในการวิจัยคร้ังนี้ เปนเพียงวิธีการที่ผูวิจัยสรางประสบการณเพ่ือกระตุน การสรางกรอบความคิดเติบโตใหก ับนกั ศึกษาฝก ประสบการณวชิ าชพี ครู ในกลุม ทดลองเทานนั้ 2. เพ่ือศึกษาผลการใชรูปแบบการนิเทศการสอนตามแนวทางกรอบความคิดเติบโตสําหรับนักศึกษา ฝกประสบการณวชิ าชีพครเู พอื่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน 2.1 คะแนนเฉลี่ยของกรอบความคิดเติบโตของนักเรียนในกลุมทดลองภายหลังสิ้นสุดการทดลองสูงกวา กลุมควบคุม อยา งมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ี่ .05 ซงึ่ สอดคลอ งกับสมมติฐานท่ี 2 ท้งั นี้แสดงใหเหน็ วาการเขารว มการนิเทศ การสอนตามแนวทางกรอบความคิดเตบิ โตท่ีออกแบบในคร้ังน้ี ประกอบดวย หลักการ 12 ประการ สมอง จิตใจ และ การเรียนรูโดย เคนและคณะ (Caine et al., 2009) และแนวทางการพัฒนากรอบความคิดโดย แอนเดอสัน (Andersen, 2006) เปนหลักในการสรางรูปแบบการนิเทศการสอน ไดสรางการเรียนรูโดยใชหลักการพ้ืนฐาน การทํางานของสมองกับจิตใจ เปนตวั ชวยใหก ารเรียนการสอนดําเนนิ ดวยความเหมาะสมของแตละบุคคล ซง่ึ หลักการ เรยี นรดู งั กลาวชวยสงเสรมิ การเรียนรูทีด่ ีใหเกิดขน้ึ กบั นักศึกษา และมผี ลสืบเนอ่ื งทําใหนกั ศึกษาสามารถเกิดการพฒั นา กรอบความคิดจากแบบจํากัดเปนแบบเติบโตได ดังน้ัน ความคิดที่แตกตางกันของนักศึกษาท้ังสองกลุมเปนผลมาจาก ปจจัยท่ีเก่ียวของหลายประการเชน การศึกษาของ มัลเลอรและดเวค (Muller and Dweck, 2012) เก่ียวกับผลจาก คําชมเชยทีก่ อ ใหเกดิ กรอบความคดิ ที่แตกตา งกนั โดยใหน ักศกึ ษาแกปญ หาท่ีงา ยกอ นแลวชมเชยนักศึกษากลมุ หน่ึงใน ความสามารถ สวนอีกกลุม หน่ึงชมเชยในความพยายาม ซ่งึ เมือ่ แกปญหาในเวลาตอ มา ก็สามารถแกป ญ หาไดดขี น้ึ และ มีการกําหนดรางวัลข้ึนเพ่ือทําใหมีความพยายามในการเปล่ียนกรอบความคิดเม่ือทํากิจกรรมตางๆ สําหรับ ความพยายามและการเลอื กใชว ิธีการแกปญหา โดยการแกป ญ หามเี ปาหมายเพื่อการเรียนรมู ากกวา ทจี่ ะเปน เปา หมาย เพื่อประเมินศักยภาพ ซึ่งผลการศึกษาช้ีใหเห็นวาระบบการใหรางวัล มีประสิทธิภาพในการเปล่ียนกรอบความคิดให เปน กรอบความคดิ เตบิ โตไดเปน อยางดี (O'Rourke et al, 2014) และในรปู แบบการนิเทศการสอนตามแนวทางกรอบ ความคิดเติบโต ผูวิจัยไดใหความสําคัญกับการใหคําชมเชยรวมกับกระบวนการสมอง จิตใจ และการเรียนรู เพ่ือสราง อิทธิพลตอการมีกรอบความคิดของนกั ศึกษา ใหนักศึกษาไดรับความรวู า สมองสามารถพัฒนาไดถือเปน แนวทางทจ่ี ะ ทําใหนักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองใหประสบความสําเร็จได อยางไรก็ตาม แมวาการมีกรอบความคิดเติบโตจะชวย ใหสามารถพัฒนาศักยภาพของแตล ะบุคคลได แตการพัฒนาศักยภาพจากการมีกรอบความคิดเติบโตยังมีขอจาํ กัดอยู เนื่องจากจะพัฒนาไดตามศักยภาพสงู สดุ ของแตละบุคคล (Dweck, 2012) และนําไปสูความสาํ เร็จในปฏิบตั ิการสอน ในสถานศึกษาไดเ ปน อยางดีตอ ไป ปญญา เชี่ยวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 199
วารสารศรีปทุมปริทศั น ฉบบั มนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร ปท่ี 20 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 2.2 คะแนนกรอบความคิดเติบโตของกลุมทดลองในระยะหลังการทดลองสูงกวาระยะกอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี .05 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานท่ี 3 ทั้งนี้แสดงใหเห็นวาการเขารวมการพัฒนารูปแบบ การนิเทศการสอนตามแนวทางกรอบความคิดเติบโตท่ีออกแบบในครั้งน้ีมีผลสืบเน่ืองทําใหนักศึกษาสามารถเกิด การพัฒนากรอบความคิดได ดวยการสรางการเรียนรูใหนักศึกษาเกิดกรอบความคิดแบบเติบโต ซึ่งเปนกลยุทธใน การเรียนรูท่ีสามารถปรับเปล่ียนแกไข หรือปรับปรุงเพ่ือใหเกิดภาวะความสําเร็จได และการนําหลักการสมอง จิตใจ และเรียนรู (Caine et al., 2009) มาเช่ือมเขาการความคิดของครู โดยแอนเดอสัน (Andersen, 2006) นั้น สามารถ ทําใหผูเรียนเกิดแรงบันดาลใจ เกิดแรงผลักความสามารถในการทาทายอุปสรรคที่ตองเผชิญ และความพยายามที่จะ รับรูหรือตอสูในปญหาตางๆ และสามารถพัฒนาจากแบบจํากัดที่มีท้ังในเด็กที่มีความฉลาดและไมฉลาดใหเปนแบบ เติบโตได (Dweck, 2012) สอดคลองกับ (Blackwell, Trzesniewski, and Dweck, 2007) ที่ไดศึกษาความสัมพันธ ระหวางความเช่อื เก่ียวกับความฉลาดและผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี นในรายวิชาคณิตศาสตร โดยใหนักเรยี น แรกเขาช้ันประถมศึกษา ทําแบบทดสอบเพ่ือประเมินความเชื่อเกี่ยวกับความฉลาด แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมท่ี 1 เช่ือวาความฉลาดสามารถเปลี่ยนแปลงได ซ่ึงเปนกรอบความคิดเติบโต และกลุมที่ 2 เชื่อวา ความฉลาดไมสามารถเปลี่ยนแปลงได ซ่ึงเปนกรอบความคิดจํากัด จากน้ันติดตามผลการเรียนวิชาน้ีของนักเรียนทั้ง สองกลุม เปนระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา พบวา นักเรียนในกลุมท่ี 1 มีผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร สูงกวากลุมที่มี กรอบความคิดจํากดั แสดงใหเหน็ วานกั เรียนทีม่ ีกรอบความคิดเติบโต มแี นวโนม ท่ีจะประสบความสําเรจ็ ทางการเรียน มากกวานักเรียนที่มีกรอบความคิดจํากัด (Dweck, 2007) นอกจากนี้ หลังจากท่ีไดเรียนรูและเขาใจวาความฉลาด เปลย่ี นแปลงได การเรยี นรูจากขอ ผิดพลาดและการใชค วามพยายามจะชวยพัฒนาความสามารถของตนได หลังจากการเขารวมการทดลองใชร ูปแบบฯ แลว นักศึกษากลมุ ทดลองไดเกดิ พฤติกรรมการเปล่ียนแปลงที่มี การพัฒนาทางความคิดสูงข้ึน และพฤติกรรมที่แสดงถึงความพยายามที่มากขึ้น ไมทอถอยตอสิ่งท่ียาก เห็นไดชัดใน การทําขอสอบเก็บคะแนน ที่ถึงแมจะลมเหลวคะแนนท่ีไดออกมาไมดีนัก แตนักศึกษามีกําลังใจที่ดีไมทอแท และใช เวลาในการทบทวนบทเรียนมากขึ้นเพ่ือที่จะไดส ูกับการสอบคร้ังตอไป จึงอาจกลาวไดวา รูปแบบฯ มีผลตอจิตใจและ การเรียนรู ซ่ึงตรงกับทฤษฏีกรอบความคิดวาเปนความเชื่อของมนุษยที่มีตอลักษณะและคุณลักษณะของตนเอง (Dweck, 2012) เม่ือบุคคลเผชญิ สถานการณต า ง ๆ จะมกี ารตีความของเหตกุ ารณ และมกี ารแสดงออกเพอื่ ตอบสนอง ตอเหตุการณน้ันๆ โดยอาศัยรูปแบบของกรอบความคิดท่ีตนมีความเช่ืออยูเดิม ทําใหแตละคนมีแรงจูงใจและ คุณลักษณะอ่ืนๆ เชน การมีเปาหมายที่ชัดเจนแตกตางกัน เปนผลใหมีการพัฒนาศักยภาพไดไมเทากัน (Blackwell, Trzesniewski and Dweck, 2007) ดังนั้นการท่จี ะประสบความสําเรจ็ ทีม่ ีระดับท่มี ากนอยจงึ แตกตา งกันออกไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลวิจยั ไปใช 1.1 ผูนิเทศควรศึกษาคูมือการใชใหเขาใจเพ่ือใหการดําเนินการนิเทศดําเนินการอยางเปนระบบและ สามารถดําเนินการนิเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.2 การนิเทศใหความรูเก่ียวกับการนิเทศการสอน ควรดําเนินการหลังเสร็จสิ้นกระบวนการเรียน การสอนหรือชวงปดภาคเรียน เพ่ือใหครูพบปญหาการเรียนการสอนไดชัดเจนขึ้น และทําใหครูมีเวลาเต็มที่ใน การออกแบบวางแผนสรา งนวัตกรรมและเคร่อื งมอื เก็บรวบรวมขอ มูล 1.3 การนิเทศเพื่อพัฒนาครูสามารถดาํ เนินการไดในภาคเรยี นที่ 1 และภาคเรียนท่ี 2 ปญ ญา เชี่ยวชาญ เบิกบาน คุณธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 200
วารสารศรปี ทมุ ปรทิ ัศน ฉบบั มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร ปท่ี 20 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 2. ขอ เสนอแนะในการวจิ ัยครั้งตอ ไป ในการพัฒนากรอบความคิดเติบโต สวนสําคัญสวนหน่ึงคือ การทํางานของสมองสวนหนา สําหรับ การวิจัยในครั้งตอไป ควรนํารูปแบบการนิเทศการสอนตามแนวทางกรอบความคิดเติบโตไปศึกษาตอในดานผล การทํางานของสมอง เพ่ือตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงการทํางานของสมองกบั ผลการศกึ ษาท่ไี ด เพ่อื นาํ ไปใชตอยอดได กบั ประชากรกลุมอนื่ ๆอยา งแพรหลาย ดังนั้น จึงควรมีการศกึ ษาติดตามผลเปน ระยะๆ ภายหลงั ส้ินสดุ การทดลองเพ่ือ ดูการพัฒนาการของกรอบความคิด ในระยะยาวตอ ไป เอกสารอางองิ Anderson, E. (2006). Growing great employees: Turning ordinary people into extraordinary Performers. City USA: Galloard. Blackwell, L. A., Trzesniewski, K. H., and Dweck, C. S. (2007). Theories of intelligence and achievement across the junior high school transition: A longitudinal study and an intervention. Child Development, 78(1), 246-263. Caine, R. N., Caine, G., Carol, M., and Karl, K. (2009). Brain/mind learning Principles in action: Developing executive function brain of human. 2nd ed. CA: Corwin Press. Davis, K. and Newstrom, J.W. (1989). Human Behavior at Work: Organization Behavior. 8th ed. New York: McGraw–Hill. Dweck, C. S. (2007). Theories of intelligence and achievement across the junior high school transition: A longitudinal study and an intervention. Child Development, 78(1), 246–263. Dweck, C. S. (2012). Mindset: How you can fulfill your potential. New York: Constable and Robinson. Fernandez, C. and Yoshida, M. (2004). Lesson study: A Japanese approach to improving mathematic teaching and learning. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associate Kaplan, B.H., Cassel T.C. and Gore, S. (1977). Social Support and Health. Medical Care, 15(5), 47-58. Muller, C. M., and Dweck, C. S. (1998). Praise for intelligence can undermine children’s motivation and performance. Journal of Personality and Social Psychology, 75(1), 33-52. O'Rourke, E., Haimovitz, K., Ballweber, C., Dweck, C. S., and Popović, Z. (2014). Brain points: A growth mindset incentive structure boosts persistence in an educational game. The Proceedings of the SIGCHI Conference on Human Factors in Computing Systems, 1-10. http://dx.doi.org/10.1145/2556288.2557157 Polit, D. F. and Hungler, B. P. (1999). Nursing Research: Principles and Methods. 6th ed. Philadelphia: Lippincott. ปญญา เช่ียวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 201
วารสารศรีปทมุ ปรทิ ัศน ฉบับมนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 20 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 Romphoree, N. (2009) Factors Affecting Learning Behavior of Nursing Instructors of private Nursing. institution in Bangkok Metropolitan. Thesis of the Degree of Master of Arts Program in Cummunity Psychology. Bangkok: Silpakorn University. (in Thai) Thawirat, P. (2000). Research Methods in Behavioral and Social Science. 7th ed. Bangkok: Bureau of Educational and Psychological Testing, Srinakharinwirot University. (in Thai) Chomchuen, R. (2015) The straightness of the idea model. National Journal of Mental Health, 23(3), 12-24. (in Thai) Khammanee, T. (2014). Teaching technique: knowledge for effective learning process. 18th ed. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai) ปญญา เช่ียวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 202
วารสารศรปี ทุมปริทศั น ฉบบั มนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร ปท ี่ 20 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 คาํ แนะนําในการเตรียมและการสง ตนฉบับ วารสารศรีปทุมปริทศั น ฉบบั มนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร กองบรรณาธิการ วารสารศรีปทุมปริทัศน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีความยินดีที่จะรับบทความจากทุกทาน เพ่ือตีพิมพและเผยแพรในวารสาร เพื่อความสะดวกในการพิจารณา จึงขอแนะแนวทางการเตรียมตนฉบับและสง ตน ฉบับ ดังนี้ ประเภทของบทความ 1. บทความวิจัย (Research Article) หมายถึง งานเขียนที่นําเสนอผลการวิจัยอยางเปนระบบ กลาวถึง ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค ขอบเขตการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย ผลการวิจัย สรุป อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ 2. บทความวิชาการ (Academic Article) หมายถึง งานเขยี นซง่ึ เปนเรื่องทนี่ าสนใจ เปนความรูใหมหรือ แนวคิดใหม กลา วถงึ ความเปน มา วัตถุประสงค มกี ารใชแ นวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั จากแหลง ขอมูลท่ีหลากหลาย ประกอบการวิเคราะห วิพากษ วจิ ารณ และใหข อ เสนอแนะ 3. บทความปริทัศน (Review Article) หมายถึง งานวิชาการท่ีประเมินสถานะลาสุดทางวิชาการ เฉพาะทางที่มีการศึกษาคนควา มีการวิเคราะห และสังเคราะหองคความรู ท้ังทางกวางและทางลึกอยางทันสมัย โดยใหขอ วพิ ากษทชี่ ้ีใหเหน็ แนวโนม ที่ควรศึกษาและพฒั นาตอไป 4. บทวิจารณหนังสือ (Book Review) หมายถึง บทความท่ีวิพากษวิจารณเนื้อหาสาระ คุณคา และ คณุ ูปการ ของหนงั สือ บทความ หรอื ผลงานสิ่งประดิษฐ โดยใชห ลักวชิ าและดุลพินจิ ที่เหมาะสม องคป ระกอบของบทความ 1. บทความวจิ ยั (Research Article) บทความวิจัย ประกอบดวยชื่อเรื่อง บทคัดยอ และเน้ือหาของบทความ โดยมีขอมูลเรียงตามลําดับ ไดแก ช่ือเรื่อง ช่ือผูเขียน สังกัด (ภาควิชา คณะ สถาบัน) และอีเมล ของผูเขียนสําหรับติดตอ ในสวนบทคัดยอตองระบุถึง แบบแผนขอการวิจัย วัตถุประสงค ประชากรและตัวอยาง เครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และผลการวิจัย ความยาวไมเกิน 250 คํา ในกรณีท่ีตนฉบับเปนภาษาไทย ใหเขียนบทคัดยอทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ ระบุคําสําคัญของเร่ือง (Keywords) จํานวนไมเกิน 5 คํา ในสวนเน้ือหาของบทความ ใหเร่ิมตนจาก ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค กรอบแนวคิดในการวิจัย (ถามี) สมมติฐานการวิจัย (ถามี) วิธีดําเนินการวจิ ัย ผลการวจิ ัย อภิปรายผล ขอเสนอแนะ และกิตตกิ รรมประกาศ (ถา ม)ี 2. บทความวชิ าการ (Academic Article) บทความวิชาการ ประกอบดวย ช่ือเรื่อง บทคัดยอ และเน้ือหาของบทความ โดยเรียงตามลําดับ ไดแก ชื่อเร่ือง ชื่อผูเขียน สังกัด (ภาควิชา คณะ สถาบัน) และอีเมลของผนู ิพนธ สําหรับติดตอ ในสวนบทคัดยอ ตองระบถุ งึ วัตถุประสงค สาระสําคัญ สรุป และขอเสนอแนะ โดยเนื้อหาในบทคัดยอความยาวไมเกิน 250 คํา ในกรณีท่ีตนฉบับ ปญญา เช่ียวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 203
วารสารศรีปทมุ ปรทิ ศั น ฉบับมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร ปที่ 20 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 เปน ภาษาไทย ใหเ ขียนบทคดั ยอ ทง้ั ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ ระบคุ าํ สาํ คญั ของเรือ่ ง (Keywords) จํานวนไมเกิน 5 คํา ในสวนเนื้อหาของบทความ ใหเริ่มตนจากบทนํา ท่ีแสดงเหตุผลหรือที่มาของประเด็นที่ตองการอธิบายหรือ วิเคราะห ในสวนของเน้ือหาสาระ จะเปนการอธิบายหรือวเิ คราะหประเด็นตามหลกั วชิ าการ โดยมีการสํารวจเอกสาร หรอื งานวิจัยเพ่อื สนบั สนุนจนสามารถสรปุ ผลการวิเคราะหในประเดน็ นนั้ ได อาจเปนการนําความรจู ากแหลงตา งๆ มา ประมวลรอยเรียงเพื่อวิเคราะหอยางเปนระบบ โดยผูเขียนสามารถแสดงทัศนะทางวิชาการของตนเองไวอยางชดั เจน ดว ย สวนสุดทา ยจะเปนสวนสรปุ และขอเสนอแนะ มีการเขียนเอกสารอา งองิ ที่ครบถวนสมบูรณ 3. บทความปริทัศน (Review Article) บทความปริทัศน ประกอบดวย ช่ือเร่ือง ชื่อผูเขียน สังกัด (ภาควิชา คณะ สถาบัน) และอีเมลของผูเขียน สําหรับติดตอ บทความปริทัศนเปนการนําเสนอภาพรวมของเร่ืองท่ีนาสนใจ ในสวนของเนื้อหาของบทความ ตองมี บทนํา เพื่อกลาวถึงความนา สนใจของเร่ืองท่ีนาํ เสนอกอนเขาสูเนือ้ หาในแตล ะประเด็น และตองมีบทสรุปเร่ืองทีเ่ สนอ พรอมขอเสนอแนะจากผูเขียนเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวสําหรับใหผูอานไดพิจารณาประเด็นที่นาสนใจตอไปผูเขียนควร ตรวจสอบเนื้อหาท่เี กยี่ วของกับบทความทีน่ าํ เสนออยา งละเอยี ด โดยเฉพาะอยางยง่ิ เนอื้ หาทใ่ี หมทสี่ ุด ขอ มูลทีน่ าํ เสนอ จะตองไมจําเพาะเจาะจงเฉพาะผูอานท่ีอยูในสาขาของบทความเทาน้ัน แตตองนําเสนอขอมูลท่ีซ่ึงผูอานในสาขาอ่ืน สามารถเขา ใจได 4. บทวิจารณห นงั สือ (Book Review) บทวิจารณหนังสือ ประกอบดวย ช่ือเร่ือง ชื่อผูเขียน สังกัด (ภาควิชา คณะ สถาบัน) และอีเมลของผูเขียน สําหรับติดตอ ช่ือเรื่องของบทวิจารณหนังสือควรเรียกรองความสนใจของผูอานและส่ือความหมายไดชัดเจน เชน ต้ังช่ือตามชื่อหนังสือท่ีตองการวิจารณ ตั้งช่ือตามจุดมุงหมายของเร่ือง ต้ังช่ือดวยการใหประเด็น ชวนคิด ชวนสงสัย เปนตน ในสวนบทนํา เปนการเขียนนําเกี่ยวกับหนังสือท่ีจะวิจารณ ในสวนเน้ือหา เปนสวนแสดงความคิดเห็นและ รายละเอียด ในการวิจารณ โดยนําเสนอจุดเดน และจุดบกพรองของเรื่องอยางมีหลักเกณฑและมีเหตุผล และสวน สุดทายเปนบทสรุป เปนการเขียนสรุปความคิดทั้งหมดที่วิจารณและใหแงคิด หรือขอสังเกตที่เปนประโยชนตอผูอา น นอกจากนี้บทสรุปยังชวยใหผูอานไดทบทวน ประเด็นสําคัญของเรื่องและความคิดสําคัญของผูวิจารณ แมวาผูอาน อาจจะไมไดอานบทวิจารณทั้งบท แตไดอานบทสรุปก็สามารถทราบเรื่องของหนังสือที่นํามาวิจารณ รวมทั้ง ความคดิ เหน็ ของผูวจิ ารณทมี่ ีตอหนังสือเรื่องนน้ั ได การเตรยี มตน ฉบับ 1. ขนาดของบทความ: ควรจัดพิมพบทความดวย Microsoft Word บนกระดาษขนาด A4 หนาเดียว ประมาณ 26 บรรทัด ตอ 1 หนา แบบแนวตั้ง (Portrait) รูปแบบตัวอักษร (Font) ใหใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดของตัวอักษร (Font size) เทา กบั 16 และใสเ ลขหนา ตง้ั แตต น จนจบบทความท่ดี า นบนขวาของกระดาษ (ยกเวน หนาแรก) ความยาวของบทความไมควรเกิน 15 หนา สําหรับการตั้งคาหนากระดาษ (Page setup) และสวนระยะ ขอบ (Margins) กําหนดดังน้ี ดานบน (Top) 2.54 ซม. ดา นลา ง (Bottom) 2.54 ซม. ดา นซา ย (Left) 2.54 ซม. ดา นขวา (Right) 2.54 ซม. หวั กระดาษ (Header) 1.25 ซม. ทา ยกระดาษ (Footer) 1.25 ซม. ปญ ญา เชี่ยวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 204
วารสารศรีปทมุ ปริทัศน ฉบับมนษุ ยศาสตรแ ละสังคมศาสตร ปท ่ี 20 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 2. ชื่อเรื่อง ชื่อผูเขียน และสังกัด (Title, Author’s name, Author’s affiliation): ช่ือเรื่องภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษจัดกึ่งกลาง ใหใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดของตัวอักษร 18 ตัวหนา สวนช่ือ-นามสกุลผูเขียน และสังกัด ใหเขียนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ ชื่อผูเขียนใหใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดของ ตัวอักษร 16 ตัวหนา และไมตองระบุคํานําหนาชื่อ เชน นาย นาง นางสาว ดร. ผศ. รศ. ศ. เปนตน สวนสังกัดใหใช ตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดของตัวอักษร 16 ตัวหนา ใหระบุสาขาวิชา ภาควิชา คณะ สถาบัน หรือหนวยงาน ท่ีสังกัด พรอมอีเมลในการติดตอ ท้ังนี้ กรณีมีผูเขียนมากกวา 1 คน ใหระบุดวยวาใคร คือ ผูประสานงานหลัก (Corresponding Author) 3. บทคัดยอ (Abstract): หัวขอบทคัดยอใหใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดของตัวอักษร 18 ตัวหนา และชิดซาย สวนเน้ือความในบทคัดยอและคําสําคัญใหใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดของตัวอักษร 16 ตัวธรรมดา หากเปนบทความภาษาไทยใหเขียนบทคัดยอทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หากเปนบทความ ภาษาอังกฤษ ใหเขียนบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษ (หรืออาจมีบทคัดยอภาษาไทยดวยหรือไมก็ได) ทั้งน้ี บทคัดยอ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมกันไมควรเกิน 1 หนากระดาษ A4 ใหจัดพิมพเปน 1 คอลัมน มีความยาวประมาณ 250 คํา จะตองพิมพคําสําคัญในบทคัดยอภาษาไทย และพิมพ Keywords ในบทคัดยอภาษาอังกฤษของบทความ เร่ืองน้ันดวย จํานวนไมเ กนิ 5 คํา 4. เนื้อหา (Content): หัวขอใหใชตัวอักษร TH Sarabun PSK ขนาดของตัวอักษร 18 ตัวหนาและชิดซา ย สว นเนื้อความในแตละหัวขอใหใ ชตวั อักษร TH Sarabun PSK ขนาดของตวั อกั ษร 16 ตัวธรรมดา 5. รูปภาพและตารางประกอบ: ควรมีภาพที่ชัดเจน ถาเปนรูปถายควรมีภาพถายจริงแนบมาดวย หากเปน ภาพท่ีคัดลอกมาจากแหลงอ่ืนควรเขียนแหลงอางอิงนัน้ ดวยตามหลักวชิ าการ กรณีรูปภาพใหใชคําวา “ภาพที่” กรณี ตารางใหใ ชค าํ วา “ตารางท”่ี 6. เอกสารอา งองิ (References): การเขยี นอา งอิงใหใ ชร ะบบ APA โดยมเี งอื่ นไขดังน้ี 6.1 เอกสารทนี่ าํ มาอางอิงตอ งมไี มเ กนิ 20 รายการ และไมค วรมอี ายเุ กนิ 10 ป ยกเวน แนวคิดหรือทฤษฎี ท่เี กดิ มากอน 10 ปแ ละในปจจบุ ันยงั มผี นู ํามาใช อนุโลมใหนาํ มาใชอ า งองิ ได 6.2 ใหจ ัดพิมพเ ปน 1 คอลัมน และเรียงตามลําดับตัวอกั ษร 6.3 การอางอิงในเนื้อหา ใชระบบนามป [นามสกุล, ป หรือ นามสกุล (ป)] และอางอิงโดยใชนามสกุล ภาษาอังกฤษเทาน้ัน เชน Yurarach (2017) หรือ (Yurarach, 2017) เปนตน ทงั้ น้ี หากมีผูเขยี น 2 คน ใหใ สน ามสกลุ ทั้งสองคน เชน Yurarach and Yoothanom (2017) หรือ (Yurarach and Yoothanom, 2017) หากมีผูแตง มากกวา 2 คน ใหใสนามสกลุ ของผูแ ตง คนแรก และตามดวย “et al.” เชน Yurarach et al. (2017) หรือ (Yurarach et al., 2017) เปน ตน 6.4 เอกสารอางอิงฉบบั ภาษาไทยตอ งแปลเปน ภาษาองั กฤษทง้ั หมด โดยมีแนวทางดงั นี้ (1) ตองแปลเอกสารอางอิงภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษทุกรายการ โดยยังคงเอกสารอางอิง ภาษาไทยเดิมไวด วย เขียนจัดเรียงคูกัน โดยใหเอกสารอางอิงภาษาอังกฤษท่ีแปลขึ้นกอนและตามดว ยเอกสารอางอิง ภาษาไทย และเติมคาํ วา “(in Thai)” ตอทายเอกสารอา งองิ ภาษาอังกฤษทแี่ ปลจากภาษาไทย ปญ ญา เช่ียวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 205
วารสารศรีปทุมปรทิ ัศน ฉบับมนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร ปท ี่ 20 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 (2) การเรียงลําดับเอกสารอางอิง กรณีเอกสารอางอิงท่ีแปลจากภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษให เรยี งลาํ ดับตามตวั อกั ษรภาษาอังกฤษ และรายการเอกสารอางองิ ทุกรายการ หากมีผเู ขยี นไมเ กิน 6 คน ใหใ สชอื่ ใหครบ ทุกคน แตห ากมีมากกวา 6 คน ใหใสช ือ่ ทั้ง 6 คน หลงั จากคนที่ 6 ใหต ามดวย “และคณะ” หรอื “et al.” ตวั อยางการแปลเอกสารอา งอิงภาษาไทยเปน ภาษาอังกฤษ ตวั อยา งที่ 1 หนงั สือ ชื่อผแู ตง. (ปพ ิมพ) . ช่ือหนังสอื . พมิ พค รงั้ ที่ (ถา มี).สถานท่พี ิมพ (เมือง): สํานักพิมพห รือโรงพิมพ. Chantavanich, S. (2014). Qualitative Research Methods. 22nd ed. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai) สภุ างค จนั ทวานิช. (2557). วธิ กี ารวจิ ยั เชิงคุณภาพ. พิมพค รงั้ ท่ี 22. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั . ตวั อยางท่ี 2 วารสาร ชอ่ื ผแู ตง . (ปพ ิมพ) . ชอ่ื บทความ. ชอื่ วารสาร, ปที่ (ฉบบั ท่ี), หนาแรก-หนาสดุ ทาย. Siriprakob, P. (2010). Autonomous Public Organization and Its Autonomy: A Preliminary Finding. Sripatum Review of Humanities and Social Sciences, 10(2), 63-77. (in Thai) ปกรณ ศิรปิ ระกอบ. (2553). องคก ารมหาชนกับความเปน อสิ ระ: ขอ คน พบเบอ้ื งตน . วารสารศรปี ทุม ปรทิ ศั น ฉบบั มนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร, 10(2), 63-77. ตวั อยางที่ 3 เว็บไซต ช่ือผแู ตง. (ปพิมพ) . ชื่อเร่อื ง. [ออนไลน] . คน เมื่อ วนั เดอื น ป, จาก: URL. Wikipedia free encyclopedia. (2018). Globalization. [Online]. Retrieved May 23, 2018, from: http://th.wikipedia.org/wiki/Globalization. (in Thai) วิกพิ เี ดยี สารานกุ รมเสรี. (2561). โลกาภิวฒั น [ออนไลน] . คน เมอ่ื 23 พฤษภาคม 2561, จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/Globalization. ตัวอยา งที่ 4 รายงานสืบเน่ืองการประชมุ วิชาการ ชอ่ื ผูแตง . (ปพิมพ) . ชื่อบทความ. รายงานสืบเนื่องการประชมุ วชิ าการ (ช่อื เอกสาร), วนั เดอื น ป สถานที่ จดั , หนาแรก-หนาสุดทา ย. Sorntanong, M. (2018). Guidelines for Tourism Management by Identity and Community in the Cultural Tourism of Elephant’s Village Pa-Nied Luang at Pranakorn Sri Ayutthaya Province. The Proceedings of the 13th National and International Sripatum University Conference (SPUCON2018), 20 December 2018 at Sripatum University (Bangkhen Campus), 2112-2122. (in Thai) ปญญา เช่ียวชาญ เบิกบาน คุณธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 206
วารสารศรปี ทุมปรทิ ัศน ฉบบั มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร ปท ่ี 20 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 มานะศลิ ป ศรทนงค. (2561). “แนวทางการจัดการการทองเท่ียวตามอตั ลกั ษณแ ละวถิ ีชุมชนในเขตพ้นื ที่ แหลง ทองเทยี่ วเชิงวฒั นธรรมในหมบู า นชา งเพนียดหลวง จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา.” รายงาน สบื เน่อื งการประชุมวชิ าการระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม คร้ังที่ 13 ประจาํ ป 2561, วันท่ี 20 ธนั วาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2112-2122. ตวั อยา งที่ 5 วทิ ยานิพนธ/สารนพิ นธ ชอ่ื ผแู ตง . (ปพิมพ) . ชือ่ วทิ ยานิพนธ. ระดับปรญิ ญาของวทิ ยานพิ นธ, ชื่อมหาวิทยาลัย. Boonlom, P. (2017). A Survey of the Attitudes of Local Residents toward Phase 1 of the Proposed Special Economic Zone Development Plan for Klong Yai District, Trat Province. Independent Study of the Degree of Master of Public Administration Program in Local Government. Chanthaburi: Rambhai Barni Rajabhat University. (in Thai) ปกรณ บญุ ลอม. (2560). การขานรบั นโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษของประชาชน อําเภอ คลองใหญ จังหวัดตราด. ภาคนพิ นธป รญิ ญามหาบัณฑติ สาขาวชิ าการปกครองทองถนิ่ . มหาวิทยาลยั ราชภัฏรําไพพรรณ.ี 7. บทความทกุ เรื่องที่สงใหกองบรรณาธิการพิจารณา ตองไมไดรับการเผยแพรที่ใดมากอน หรืออยูระหวาง การพจิ ารณาเผยแพรข องวารสารอ่นื ๆ 8. การสงตนฉบับบทความ (Submission) 8.1 สงตน ฉบับบทความ (Manuscript) ที่จัดเตรียมตามคาํ แนะนําในการเตรียมตน ฉบับและตามรปู แบบ การอางอิงที่วารสารกําหนด (นามสกุล .docx และ .pdf) และสงผานระบบ ThaiJo โดยใหผูเขียนเขาไปลงทะเบียน และทําตามขนั้ ตอนของระบบ โดยสามารถเขา ไปดําเนนิ การไดท ี่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/spurhs 8.2 กรณีท่ีบทความไมผานการพิจารณาเบื้องตนจากกองบรรณาธิการ ผูเขียนไมจําเปนตองจาย คาดําเนินการใดๆ แตกรณีที่กองบรรณาธิการพิจารณาเบ้ืองตนแลวเห็นวา ควรสงผูทรงคุณวุฒิ (Peer reviewers) จํานวน 2 ทาน ตรวจสอบและประเมินคุณภาพของบทความ ผูเขียนจะตองจายคาดําเนินการ (Operation fee) ในอตั รา 4,000 บาท ตอ 1 บทความ โดยใชวธิ กี ารโอนเงินเขาบญั ชีธนาคารและสง สลิปเงนิ โอนมาท่ีกองบรรณาธกิ าร วารสารศรีปทุมปริทัศน ฉบับมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ผานชองทางอีเมล [email protected] หรือทาง ไปรษณีย (1) ชอื่ บัญชธี นาคาร ธนาคารกรงุ เทพ สาขามหาวิทยาลยั ศรปี ทุม ชอ่ื บัญชี มหาวิทยาลัยศรปี ทุม ประเภทบัญชี ออมทรพั ย เลขทบี่ ัญชี 006-8-07686-8 ปญญา เช่ียวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 207
วารสารศรปี ทุมปริทัศน ฉบับมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร ปท ่ี 20 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563 Sripatum Review of Humanities and Social Sciences Vol. 20 No. 2 July – December 2020 (2) กองบรรณาธิการ วารสารศรปี ทมุ ปรทิ ัศน ฉบับมนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร ที่อยู ศนู ยส ง เสริมและพฒั นางานวิจยั มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม เลขท่ี 2410/2 ถนนพหลโยธนิ แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพั ท 0-2579-1111 ตอ 1331, 1252, 1155 โทรสาร ตอ 2187 นโยบายและเงื่อนไขในการพจิ ารณาบทความ (Editorial Policy) 1. บทความที่สงมาเพื่อพิจารณาตีพิมพตองเปนผลงานที่อยูในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งตามวัตถุประสงคของ วารสาร ไดแก (1) บริหารธรุ กจิ (2) ศิลปศาสตร (3) นิเทศศาสตร (4) นติ ิศาสตร (5) รัฐศาสตร และ (6) ศึกษาศาสตร 2. บทความที่สงมาตองไมเคยไดรับการตีพิมพเผยแพรที่วารสารใดมากอนและตองไมอยูระหวางการเสนอ เพื่อพจิ ารณาตพี มิ พในวารสารฉบบั อื่น 3. บทความท่ีสงมาจะไดรับการประเมินคุณภาพเบ้ืองตนจากกองบรรณาธิการกอน โดยจะพิจารณาถึง ความเหมาะสมและสอดคลอ งกับวตั ถุประสงคของวารสาร โดยการพิจารณาแยกเปน 2 กรณี คอื 3.1 ในกรณีท่ีบทความไมผานการพิจารณาเบื้องตนจากกองบรรณาธิการ บรรณาธิการจะแจงปฏิเสธ การรับตีพิมพบทความ (Reject) พรอมเหตุผล ขอเสนอแนะ หรือขอสังเกตสั้น ๆ ใหผูสงบทความไดรับทราบ ท้ังนี้ ผเู ขยี นไมจําเปน ตองจา ยคา ดําเนินการใด ๆ 3.2 ในกรณีที่บทความผานการพิจารณาเบ้ืองตน จากกองบรรณาธิการ ผูเขียนจะตอ งจายคาดําเนินการ (Operation fee) ในอัตรา 4,000 บาท ตอ 1 บทความ และบรรณาธิการจะสงบทความใหผูทรงคุณวุฒิ (Peer reviewers) ในสาขาท่ีเกี่ยวของจํานวน 2 ทาน เพื่อตรวจสอบคุณภาพของบทความกอนลงตีพิมพ โดยผูประเมินไมทราบช่ือผูแตงและผูแตงไมทราบชื่อผูประเมินบทความ (Double-blind peer review) ท้ังนี้ การจา ยเงินคาดาํ เนนิ การ ใหจายผานระบบการโอนเขา บญั ชธี นาคารเทานัน้ 4. เมื่อผูทรงคุณวุฒิไดพิจารณากลั่นกรองบทความเรียบรอยแลว กองบรรณาธิการจะพิจารณาวาบทความ นนั้ ๆ ควรไดล งตพี มิ พ (Accept) หรอื ควรจะสงคนื ใหผูเ ขียนแกไขเพื่อพจิ ารณาอีกครง้ั หนงึ่ (Major/Minor Revision) หรอื ควรแจง ปฏิเสธการลงตีพมิ พ (Reject) 5. กองบรรณาธกิ ารขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตดั สนิ การตพี มิ พบทความในวารสาร และจะไมคนื เงิน ไมวาในกรณีใดๆ ปญญา เช่ียวชาญ เบิกบาน คณุ ธรรม Intellectual, Professional, Cheerfulness, Morality 208
วารสารศรีีปทุมุ ปริิทัศั น์์ ฉบับั มนุุษยศาสตร์์และสัังคมศาสตร์์ SRIPATUM REVIEW OF HUMANITIES AND SOCIAL SCIENCES ปีีที่่� 20 ฉบัับที่�่ 2 กรกฎาคม - ธันั วาคม 2563 บทความวิิจััย 07 การศึึกษาเกี่ย่� วกับั การบริหิ ารกิิจการสื่อ่� สารในงานวิิชาการต่่างประเทศ : ศิิริิวรรณ อนัันต์์โท 21 แนวทางการกำำ�หนดตารางการทำ�ำ งานของเจ้้าหน้้าที่ค�่ วบคุุมจราจรทางอากาศ ศููนย์ค์ วบคุมุ จราจรทางอากาศเส้้นทางบินิ กรุงุ เทพ : อนัันตญา เหลืืองอมรสิริ ิิ, อภิิรดา นามแสง, วราภรณ์์ เต็ม็ แก้้ว 3 3 กลยุทุ ธ์์การบริิหารงานวิชิ าการสถานศึึกษาเอกชนที่่ส� อนคนตาบอดในประเทศไทย : ไชยา หงษ์์ณีี, วานิชิ ประเสริิฐพร 44 การพััฒนาตัวั บ่่งชี้ก� ารบริิหารคุณุ ภาพโดยรวมสู่�ความเป็็นเลิศิ ของธุรุ กิจิ ที่�่ได้้การรัับรองมาตรฐาน ISO9001: 2015 ในประเทศไทย : มงคล เอกพัันธ์,์ อภิิรดีี คำำ�ไล้้ 6 0 Guidelines for Professional Competency Development of Thai Accountants in the Digital Economy Era : Porntip Shoommuangpak 7 4 Empirical Evidence of Demographic Characteristics Toward Destination Brand Equity of Hua Hin, Thailand : Revita Saisud, Chawalee Na Thalang 91 แนวทางการเสริมิ สร้า้ งการรัับรู้้�ภาพลักั ษณ์ก์ ารท่่องเที่�ย่ วเมืืองรองของไทย : กรณีีศึกึ ษา จัังหวััดสิิงห์บ์ ุุรีี : กวิินธิิดา ลอยมา, กนกกานต์์ แก้ว้ นุุช 105 The Evaluation of the Outcome and Impact of the Study on the Effectiveness of Trafifc Law Enforcement : Srisombat Chokprajakchat, Wanaporn Techagaisiyavanit, Nittaya Sumretphol, Tongyai Iyavalakul 1 1ด8 ้ ปัจั้วจยัยักทาี่ร่ม� ีบีผริลิกตา่่อรสรัููปงั แคบมบขกอางรดบัำณั�ำ เนฑินิิชติ ีีอวิาิตสขาอสงมัเจัคเรนอมเรหชัา่่วน� ิทิวยายาลในััยสัธังรครมมชศนาบสทตไรท์์ย ภาคเหนืือและภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ : กรณีีศึึกษาพื้้�นที่ก่� ารเรีียนรู้้� : กนกวรา พวงประยงค์์ 133 กลยุุทธ์ท์ างการทหารในการเสริิมสร้า้ งศัักยภาพภาวะผู้้�นำ�ำ แห่่งกองทััพบก พงษ์เ์ พ็็ง : ชััยพล สุวุ ัฒั นฤกษ์์, บุุญไทย แก้้วขัันตีี, จงดีี พฤกษารัักษ์์, ธีีรพงศ์์ 146 การพััฒนาแบบวัดั ความมุ่�งมั่น� และพลัังขัับเคลื่�อ่ นทางการเรีียนในนิสิ ิิต มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์ : ธนศัักดิ์์� จันั ทศิิลป์์, มนัสั นัันท์์ หัตั ถศัักดิ์์,� ปวีีณา อ่่อนใจเอื้้อ� 160 กลไกและช่อ่ งทางการตรวจสอบองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่น� ของเยาวชน จัังหวัดั เชีียงใหม่่ : จตุุพร เสถีียรคง 1 74 ก:ารนิจิรััดมกลารสศิึริ ึกิิภษััคานนัันอทก์,์ระจบุบุฬดา้รว้ ัตัยนแ์น์ ววัคฒัิดิ กนาะ,รเณรีีัยัฏนรูฐ้์้�ว์โิดิชิยิดใชา้้เกเลมิศิเป็พน็ งฐาศ์นร์ ุุจเิพืิก่อ่�รเสริิมสร้้างการเห็น็ คุณุ ค่า่ ในตนเองของวััยรุ่่�นที่อ่� อกกลางคันั 187 การพััฒนารููปแบบการนิิเทศการสอนตามแนวทางกรอบความคิิดเติบิ โตสำำ�หรัับนัักศึึกษาฝึกึ ประสบการณ์ว์ ิชิ าชีีพครูู เพื่�อ่ พััฒนาผลสััมฤทธิ์์ท� างเรีียนของนักั เรีียน : นีีรนาท จุลุ เนีียม ISSN 1513 - 7287 https://www.tci-thaijo.org/index.php/spurhs
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214