Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฟอร์มแผนการสอนพลังงาน 06

แบบฟอร์มแผนการสอนพลังงาน 06

Published by จุตติ ประนมศรี, 2022-06-04 12:55:10

Description: แบบฟอร์มแผนการสอนพลังงาน 06

Search

Read the Text Version

191 แผนการจัดการเรียนรมู้ ุง่ เนน้ สมรรถนะ ชอื่ วชิ า พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม รหัสวิชา 20001-1002 ทฤษฎี 2 คาบ หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) -สาขาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ 1/5 -สาขาการบญั ชี 1/6 -สาขาการตลาด 1/7 -สาขาการโรงแรม 1/8 -สาขาการโรงแรม 1/9 -สาขาเทคนิคคอมพิวเตอร์ 2/5 หน่วยท่ี 6 การป้องกันและการแกไ้ ขปญั หาพลังงานและสง่ิ แวดลอ้ ม จัดทำโดย นายจุตติ ประนมศรี

192 หนว่ ยการเรียนร้แู ละสมรรถนะประจำหน่วย ชือ่ หน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 1 ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ความรู้เบือ้ งตน้ เกี่ยวกับ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ 1.พลงั งาน 1.มที กั ษะในเรอื่ งของ 1.ขยนั และสงิ่ แวดลอ้ ม 2.ประหยัด 2.ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน 3.ซ่อื สัตย์ 3.สิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 4.มวี นิ ยั 4.ความสัมพันธร์ ะหวา่ งพลงั งาน สง่ิ แวดล้อม 5.สภุ าพ ทรัพยากรธรรมชาติและ 2.มที กั ษะในกจิ กรรม 6.สะอาด สง่ิ แวดลอ้ ม กลุ่ม 7.สามัคคี 5.ความสัมพนั ธร์ ะหว่างพลังงาน 3.สามรถนำเสนองานใน 8.มนี ้ำใจ กับระบบนเิ วศ กล่มุ ได้อยา่ งดี 6.วิกฤตการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ 4.มอี งค์ความร้ใู นเรอ่ื งท่ี ส่ิงแวดลอ้ ม เรียน 7.ผลกระทบทเ่ี กิดจากปญั หา สิ่งแวดลอ้ ม 8.แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนา พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม หนว่ ยที่ 2 1. พลังงานสิน้ เปลือง 1.มีทักษะในเรื่องของ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ แหลง่ กำเนิดพลังงาน 2. พลงั งานทดแทน พลังงานสนิ้ เปลอื งและ 2. ซื่อสตั ย์สุจรติ พลังงานทดแทน 3. มีวินัย 2.มที กั ษะในกจิ กรรมกลุ่ม 4. ใฝ่เรยี นรู้ 3.สามรถนำเสนองานใน 5. อยู่อยา่ งพอเพียง กลมุ่ ได้อยา่ งดี 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 4.มีองค์ความรใู้ นเรื่องที่ 7. รักความเป็นไทย พลังงานสนิ้ เปลืองและ 8. มีจิตสาธารณะ พลงั งานทดแทน

193 หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจำหน่วย(ตอ่ ) ช่ือหน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 3 ความสัมพันธข์ องพลงั งาน ความรู้ ทกั ษะ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มกับการดำรงชีวติ 1.พลงั งานแปรรูป 1.มที กั ษะในเร่ืองของ 1.ขยนั 2.ประหยดั หน่วยที่ 4 2.บทบาทของมนุษยใ์ นระบบ พลังงานแปรรปู 3.ซอื่ สัตย์ ผลกระทบการใช้พลงั งาน 4.มีวินยั ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม 2.มีทักษะในกจิ กรรมกลุ่ม 5. อย่อู ยา่ งพอเพียง ส่ิงแวดล้อม 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 3.การใช้พลงั งานใน 3.สามรถนำเสนองานใน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ ชีวิตประจำวัน กลมุ่ ได้อยา่ งดี 4.หน่วยวดั พลังงาน 4.มีองค์ความรู้ในเรื่อง 5.พลังงานไฟฟา้ พลังงานที่ขาด พลังงานแปรรปู ท่ีใชใ้ น ไม่ได้ในยุคโลกาภวิ ฒั น์ ยานพาหนะและประกอบ 6.พลังงานเช้ือเพลงิ ทีใ่ ช้สำหรับ อาหาร ยานพาหนะ 5.มีความรู้เรื่องมนุษย์กับ 7.พลงั งานในการประกอบอาหาร การใชป้ ระโยชนจ์ าก 8.มนษุ ย์กับการใชป้ ระโยชนจ์ าก พลังงาน พลงั งาน 1.ระดับปัญหาสง่ิ แวดล้อม 1.มที กั ษะในเร่ืองของปัญหา 1.ขยัน 2.ผลกระทบต่อสภาพภมู ปิ ระเทศ สิ่งแวดลอ้ ม 2.ประหยัด และทรัพยากรดิน 2.มีทักษะในกจิ กรรมกลุ่ม 3.ซอ่ื สตั ย์ 3.ผลกระทบต่ออากาศและเสียง 3.สามรถนำเสนองานใน 4.มวี ินยั 4.ผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำ กลุ่มได้อย่างดี 5. อย่อู ยา่ งพอเพียง 5.ผลกระทบต่อการเกิดภาวะโลก 4.มอี งค์ความรูใ้ นเร่ือง 6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน ร้อน ผลกระทบต่ออากาศและ 7. รกั ความเป็นไทย 6.ผลกระทบต่อการลดลงของชนั้ เสียง5.มีความรเู้ รื่องมนุษย์ 8. มจี ติ สาธารณะ โอโซน (O3) ในชนั้ บรรยากาศ กับผลกระทบตอ่ การลดลง 7.ผลกระทบต่อการสูญเสยี ความ ของช้นั โอโซน (O3) ในชน้ั หลากหลายทางชวี ภาพ บรรยากาศ 8.ผลกระทบต่อการเกดิ มลทัศน์

194 หนว่ ยการเรยี นร้แู ละสมรรถนะประจำหนว่ ย(ต่อ) ชอ่ื หน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 5 หลักและวิธีการการอนรุ ักษ์ ความรู้ ทกั ษะ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ 1.ขยัน และสิ่งแวดลอ้ ม 1. ความหมายของการอนุรักษ์ 1.มีทักษะในเรื่องของการ 2.ประหยดั 3.ซอ่ื สตั ย์ หน่วยท่ี 6 2. สถานการณก์ ารใชพ้ ลงั งาน อนุรักษ์พลังงาน 4.มีวินยั การปอ้ งกนั และการแก้ไข 5. อยอู่ ย่างพอเพียง ปัญหาพลงั งานและ 3. จิตสำนึกในการอนุรกั ษ์ 2.มที กั ษะในกิจกรรมกลุ่ม 6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน สิง่ แวดล้อม 7. รักความเปน็ ไทย พลงั งาน 3.สามรถนำเสนองานใน 8. มีจติ สาธารณะ 4. วิธกี ารเบอ้ื งตน้ ในการอนรุ ักษ์ กลุม่ ได้อยา่ งดี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอ่ื สัตย์สุจริต พลังงาน 4.มีองค์ความรูใ้ นเร่ือง 3. มวี ินัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. การปรบั ปรงุ อาคารเพ่ือการ วิธกี ารเบ้ืองต้นในการ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน อนรุ กั ษ์พลังงาน อนรุ กั ษ์พลังงาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ 6. การอนรุ ักษ์พลงั งานดา้ นต่าง ๆ 5.มีความร้เู รื่องมนุษย์กับ 7. การใชแ้ หล่งพลังงานอยา่ งมี แนวทางการจดั การ ประสิทธิภาพ ส่งิ แวดล้อมแบบยัง่ ยืน 8. หลกั การการจดั การ 6.มีทักษะตามวตั ถุประสงค์ ส่งิ แวดลอ้ ม และวธิ ีการอนรุ ักษ์ 9. แนวทางการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ มแบบยัง่ ยืน ส่ิงแวดลอ้ ม 10. ความร่วมมอื ในการจัดการ สิ่งแวดลอ้ ม 11. วตั ถุประสงค์และวิธีการ อนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ ม 1. ปัญหาพลงั งานและ 1.มีทกั ษะในเร่ืองของการ สิ่งแวดล้อม ปัญหาพลงั งานและ 2. การวิเคราะหร์ ะบบสิ่งแวดล้อม ส่ิงแวดลอ้ ม 3. การป้องกันและวธิ แี ก้ไขปัญหา 2.มีทกั ษะในกิจกรรมกลุ่ม พลงั งานสง่ิ แวดลอ้ ม 3.สามรถนำเสนองานใน 4.การประเมินผลกระทบ กลุม่ ได้อย่างดี ส่ิงแวดลอ้ ม 4.มอี งค์ความรูใ้ นเรื่องการ ปอ้ งกนั และวิธีแก้ไขปัญหา พลังงานสิง่ แวดลอ้ ม 5.มีความร้เู รื่องการ ประเมนิ ผลกระทบ สงิ่ แวดลอ้ ม

195 หนว่ ยการเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจำหนว่ ย(ต่อ) ช่อื หน่วย สมรรถนะ หน่วยท่ี 7 ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ กฎหมายและนโยบาย พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ท่มี าของกฎหมายอนรุ กั ษ์ 1.มที กั ษะในเรื่องของ 1.ขยนั และสิง่ แวดลอ้ ม 2.ประหยัด พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ กฎหมายอนุรักษ์พลังงาน 3.ซ่อื สตั ย์ 4.มวี ินัย สิง่ แวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติและ 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 2. กฎหมายการอนรุ ักษ์พลังงาน ส่ิงแวดลอ้ ม 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 3. กฎหมายสิ่งแวดล้อม 2.มีทักษะในกิจกรรมกลมุ่ 9.สุภาพ 10.สะอาด 4. กฎหมายสงวนและค้มุ ครอง 3.สามรถนำเสนองานใน 11.สามคั คี 12.มีนำ้ ใจ สตั วป์ ่า กลุ่มได้อยา่ งดี 5. กฎหมายสิ่งแวดล้อมอนื่ ๆ 4.มีองค์ความรู้ในเร่ือง 6. ผลบงั คบั ทางกฎหมายของ ปัญหาการใช้กฎหมาย พระราชบัญญตั ิ พลังงาน 7. ปญั หาการใชก้ ฎหมายพลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ทรพั ยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ ม 5.มีความรูเ้ รื่องมนุษยก์ บั 8. นโยบายและแผนเกีย่ วกับ แนวทางการจัดการ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมแบบยง่ั ยืน สง่ิ แวดลอ้ ม 6.นโยบายและแผนเกี่ยวกับ พลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม

196 การสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

197 การสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom การสอบออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

198 แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 6 ชอ่ื หนว่ ย การป้องกนั และการแก้ไขปญั หาพลังงานและ สอนคร้งั ที่ 14-15 ชว่ั โมงรวม 4 ส่ิงแวดลอ้ ม ชอ่ื เร่ือง การปอ้ งกนั และการแก้ไขปัญหาพลังงาน จำนวนชั่วโมง 2 1.สาระสำคัญ 1. ปญั หาพลังงานและสงิ่ แวดลอ้ ม 2. การวเิ คราะหร์ ะบบส่งิ แวดล้อม 3. การปอ้ งกันและวิธแี ก้ไขปัญหาพลังงานสิ่งแวดล้อม 4.การประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม 2.สมรรถนะประจำหน่วย เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นไดศ้ กึ ษาแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มเบื้องตน้ เพอ่ื นำไปใช้ใน ชีวติ ประจำวัน 3.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ เมอ่ื เรยี นจบหน่วยการเรียนนี้ ผเู้ รยี นสามารถ 1. อธิบายปัญหาพลังงานและสิง่ แวดล้อมได้ถูกตอ้ ง 2. วเิ คราะห์ระบบส่ิงแวดล้อมไดถ้ ูกตอ้ ง 3. เลือกเทคนิควิธกี ารป้องกันและแก้ไขปัญหาพลงั งานและส่งิ แวดลอ้ มได้ 4. อธบิ ายความหมายของการประเมนิ ผลกระทบส่งิ แวดล้อม (EIA) ได้ 5. อธิบายขัน้ ตอนหลักการทำการประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดล้อม 3.2 ด้านทกั ษะ 1.มที กั ษะในเรื่องของการปญั หาพลังงานและสิง่ แวดล้อม 2.มที ักษะในกิจกรรมกล่มุ 3.สามรถนำเสนองานในกลุ่มได้อยา่ งดี 4.มีองค์ความรู้ในเร่ืองการป้องกันและวิธแี ก้ไขปญั หาพลังงานสิ่งแวดล้อม 5.มคี วามรเู้ รื่องการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม 3.3 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง

199 6. มงุ่ มั่นในการทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 3.4 หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านสังคม -รู้จกั แบง่ หนา้ ท่ีรบั ผิดชอบในการทำงาน -แลกเปลยี่ นเรยี นรู้จากเพือ่ นครู ดา้ นสงิ่ แวดล้อม -มีความร้ใู นการเลอื กใชว้ สั ดุอปุ กรณใ์ นทอ้ งตลาดมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม -มคี วามรเู้ ก่ยี วกับการรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม ดา้ นวัฒนธรรม -มคี วามรู้ความเข้าใจในภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ มาใช้ในการเรียนรู้ และ ผลติ ช้ินงาน 4.ความรู้พนื้ ฐานท่คี วรมีก่อนเรียน -ความรดู้ ้านพลงั งานสิน้ เปลือง -ความร้ดู ้านการทำกิจกรรมกลมุ่ -ความรดู้ า้ นการนำเสนองาน 5.เนือ้ หาสาระการเรียนรู้ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในรูปของพลังงานมักมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทั้งทางตรง และทางอ้อม การแก้ไขปัญหาผลกระทบเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะด้านในหน่วยการเรียนรู้นี้จะกล่าวถึงเทคนิคการ แกไ้ ขปญั หาพลงั งานและส่ิงแวดล้อมโดยทว่ั ไป รวมท้ังการปอ้ งกนั การเกดิ ปัญหาพลังงานและส่ิงแวดล้อมจากโครงการ ท่ีจะเกิดขึ้น โดยการทำรายงานการประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม (EIA) กอ่ นดำเนินโครงการ

200 แผนการจดั การเรยี นรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 6 สอนคร้ังที่ 14-15 ชอ่ื หน่วย การปอ้ งกนั และการแก้ไขปัญหาพลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม ชั่วโมงรวม 4 ชอื่ เรื่อง การป้องกนั และการแกไ้ ขปญั หาพลงั งาน จำนวนชั่วโมง 2 6.กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ สนใจปัญหา จงู ใจผ้เู รยี น (motivation) 1. ตรวจเรยี กรายช่อื การแตง่ กาย 2. แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นร้วู ชิ าพลงั งาน ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม/การวัดผลและเกณฑ์การประเมนิ ผล/โดย เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นซักถาม 3. บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี นหนว่ ยท่ี 1 ความร้เู บื้องต้นเกยี่ วกบั พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ให้ทำแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 1 (10 นาท)ี 5. สนทนา ซกั ถามจากภาพข่าวเกย่ี วกับสงิ่ แวดลอ้ มและเหตุการณ์ปจั จุบนั จากสอื่ ตา่ ง ๆ ใหผ้ เู้ รยี นแสดงความ คดิ เห็น ข้ันศกึ ษาข้อมลู (information) 1. อธบิ ายความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมและพลงั งาน ซักถามใหผ้ ู้เรียนยกตัวอยา่ ง ประกอบคำอธบิ าย 2. อธิบายความร้เู บื้องตน้ เก่ียวกับพลังงานและสิง่ แวดลอ้ มกับระบบนิเวศ และสาระการเรยี นรู้ตามหนว่ ย การเรยี น โดยใช้ Power Point ประกอบ พรอ้ มการซักถาม 3. ให้ทำกิจกรรมใบงานท่ี 1 โดยผูส้ อนจะตรวจสอบและสรุปในชวั่ โมงถัดไป 4. ใหผ้ ้เู รยี นซกั ถามข้อสงสัยหรือนำไปส่กู ารสรุป ข้ันนำข้อมลู มาทดลองใช้ (application) 1. ใหร้ ว่ มกันสรปุ สาระสำคญั โดยการซักถาม 2. ให้ทำแบบทดสอบหลังเรยี น ขั้นสำเรจ็ ผล (progress) 1.สรปุ เกณฑ์การประเมินผล 2.ถ้าผเู้ รยี นไมผ่ ่านควรมีการซ่อมเสรมิ

201 แผนการจดั การเรียนรมู้ งุ่ เน้นสมรรถนะ หน่วยท่ี 6 สอนครั้งท่ี 14-15 ชอ่ื หน่วย การปอ้ งกันและการแก้ไขปัญหาพลังงานและสง่ิ แวดลอ้ ม ชว่ั โมงรวม 4 ช่อื เรอื่ ง การปอ้ งกันและการแก้ไขปัญหาพลังงาน จำนวนชว่ั โมง 2 7.ส่ือการเรียนร/ู้ แหล่งการเรียนรู้ สอ่ื สิง่ พมิ พ์ - หนังสอื เรียนวชิ าพลังงาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ของสำนักพมิ พศ์ นู ยส์ ่งเสริมวชิ าการ (2562) - ข่าวสารเกย่ี วกับทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และพลังงาน ทเี่ ปน็ ขา่ วในส่ือตา่ ง ๆในเหตกุ ารณ์ ปัจจบุ นั ส่อื โสตทัศน์ Power Point 8.เอกสารประกอบการจดั การเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน ใบมอบหมายงาน ฯลฯ) - ใบเนื้อหาเรื่อง ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกบั พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 9.การบรู ณาการ/ความสัมพนั ธ์กับวชิ าอ่นื - บรู ณาการกบั วิชาพลังงานและสิง่ แวดล้อม 10.การวัดและประเมินผล 1. การวดั ผล 1.1 จากแบบทดสอบหลังเรียน 1.2 จากกจิ กรรมกลุม่ ตามใบงาน 1.3 จากการสงั เกตพฤติกรรม 1.4 จากการนำเสนองานกลุ่ม 1.5 จากแบบทดสอบออนไลน์ 2. เครือ่ งมือวดั และประเมิน 2.1 ใบงาน 2.2 แบบทดสอบออนไลน์ 2.3 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม 3. เกณฑก์ ารประเมินผล 3.1 จากแบบประเมนิ พฤติกรรมรายบคุ คลและกลุ่ม 3.2 จากคะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น 3.3 แบบประเมนิ คุณธรรมและจริยธรรม

202 แผนการจัดการเรยี นรมู้ ุ่งเนน้ สมรรถนะ หน่วยที่ 6 ชือ่ หน่วย การปอ้ งกนั และการแกไ้ ขปญั หาพลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม สอนคร้งั ที่ 14-15 ชอื่ เรื่อง การปอ้ งกนั และการแก้ไขปญั หาพลังงาน ชั่วโมงรวม 4 จำนวนชัว่ โมง 2 1.บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 11.1 ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ จำนวนเนื้อหา มีความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกบั จำนวนเวลา เพราะเหตใุ ด............................................................... การเรยี งลำดบั เน้ือหา มคี วามเหมาะสม ไม่เหมาะสมกบั ความเข้าใจของผ้เู รียน เพราะเหตุใด................................................ การนำเข้าสู่บทเรยี น มคี วามเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกบั เน้ือหาแต่ละหัวข้อ เพราะเหตุใด...................................................... วิธกี ารสอน มคี วามเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกับเน้อื หาแต่ละหัวขอ้ เพราะเหตุใด..................................................... ส่อื การสอน มีความเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกบั เนอ้ื หาแต่ละหวั ข้อ เพราะเหตุใด...................................................... งานที่กำหนดใหท้ ำ มคี วามเหมาะสม ไมเ่ หมาะสมกบั เนอ้ื หา/เวลา/วัตถุประสงค์ เพราะเหตุใด........................................... การนำเสนอ มีความเหมาะสม ไม่เหมาะสมกับเนอ้ื หา/เวลา/วตั ถปุ ระสงค์ เพราะเหตุใด........................................... การประเมินผล มีความเหมาะสม ไม่เหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์หนว่ ย เพราะเหตุใด....................................................... อื่น ๆ ............................................................................................................................. .........................................

203 เน้ือหาหน่วยที่ 6 การป้องกันและการแกไ้ ขปญั หาพลังงานและ สิ่งแวดลอ้ ม การป้องกันและการแกป้ ัญหาพลังงานที่เก่ยี วข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ มชี วี ิต พลงั งานท่ีจะนำมาใช้อาํ นวย ปญั หาดา้ นพลังงานทเ่ี กดิ ข้นึ ในปจั จบุ ัน ได้แก่ การขาดแคลน ความสะดวก ด้านตา่ ง ๆ ของมนุษย์ในสังคม และผลกระทบจากกา การป้องกันและการแก้ปัญหาพลงั งาน ไดแ้ ก่ 1.1 การปอ้ งกนั ผลกระทบที่เกดิ จากการนําทรัพยากรธรรมชาตมิ าผลติ เป็นพลงั งาน การป้องกนั และการแกป้ ญั หาทีเ่ กดิ ข้นึ จึงมอี ยู่ 2 แนวทาง ได้แก่ 1.1.1 การจัดหาพลังงาน รัฐบาลกำหนดนโยบายโดยการจดั หาพลงั งานใหเ้ พียงพอกับ ความต้องการ มีคณุ ภาพ และระดับราคาทีเ่ หมาะสม ในขณะเดยี วกันควรถงึ อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประหยดั ตลอดจน สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารแขง่ ขันในกจิ การพลังงานเพ่ือนาํ ไปสู่ การจัดหา การจาํ หนา่ ย และการใช้พลงั งานอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ลดภาระการลงทุนของภาครฐั บาล นอกจากนีแ้ นวทางการพฒั นาพลังงานของประเทศตอ้ ง คำนึงถึงปัญหาดา้ นสง่ิ แวดล้อม เนื่องจาก กระบวนการการผลติ ในระบบอตุ สาหกรรมและการใช้ในภาค ครวั เรือนมกั จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดลอ้ มด้วยเช่นกนั การจดั หาพลงั งาน ได้แก่ 1) การชื่อแกส๊ ธรรมชาตจิ ากประเทศมาเลเซยี ด้วยความรว่ มมือในการพฒั นาพ้ืนท่ี ร่วมกนั จึงได้ จัดต้งั องคก์ ารร่วมไทย-มาเลเซีย (Malaysia-Thailand Joint Development Area: MTJA) เพ่อื สํารวจและ แสวงหาประโยชนจ์ ากทรัพยากรปิโตรเลยี ม โดยมบี รษิ ทั ปิโตรเลียมแหง่ ประเทศไทย หรือ ปตท. และ บริษัทเปโตรนาสของมาเลเซยี ไดล้ งนามกันใน พ.ศ. 2540 เพอ่ื ซ้ือแกส๊ ธรรมชาติใน อตั ราส่วน 50:50 เพือ่ นาํ ไปใช้ประโยชนใ์ นประเทศของตนเองและศึกษาความเป็นไปได้ในการวางท่อ สง่ แกส๊ ใน 5 จงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ของไทยและรฐั ทางเหนอื ของมาเลเซยี โดยได้เรม่ิ ซ้ือก๊าซธรรมชาติ ไดใ้ นพ.ศ. 2541 เปน็ ต้นมาและมี การก่อสรา้ งโรงแยกแกส๊ ธรรมชาติขน้ึ ท่ีจงั หวัดสงขลา ใน พ.ศ. 2554 มีการนาํ เขา้ แกส๊ ธรรมชาติรวมทงั้ ส้นิ 9,744 พันล้านลิตร เทียบเทา่ น้ำมันดิบ เปน็ สัดสว่ นประมาณ ร้อยละ 15.1 ของการนาํ เข้าพลงั งานเชงิ พาณชิ ย์ ทง้ั หมด นอกจากน้ียังมกี ารนําเข้าแก๊ส ธรรมชาติ เหลวหรอื LPG ปรมิ าณ 863 พันลา้ นลติ รเทยี บเทา่ น้ำมนั ดบิ คิดเป็นมลู ค่า 15,993 ลา้ นบาท เปน็ ตน้ ภาพท่ี 6.1 การใช้ไฟฟา้ สำหรับทอี่ ยู่อาศัย

204 2) การซอื้ พลงั งานไฟฟา้ จากประเทศลาวและเมียนมา ประเทศไทยซื้อหลังงานไฟฟ้า จาก ประเทศลาวมปี ระมาณ 3,000 เมกะวัตต์ เป็นพลังงานน้ำและถ่านหินตงั้ แต่ พ.ศ. 2559 เปน็ ต้นมา ไดแ้ ก่ โครงการนาํ เป็น หนิ ปนู หว้ ยเกาะ ลกิ ไนตห์ งสา น้ำดื่ม 2-3 และน้ำเห็น 2 เปน็ ตน้ สว่ นการศึยพลงั งานไฟฟา้ จากประเทศเมียนมาประมาณ 1,500 เมกะวัตต์ เป็นพลงั งานนา้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ไดแ้ ก่ โครงการนำ้ ก๊อก ทุกปี และตาสาง เปน็ ตน้ โดย พ.ศ. 2554 มีการนําเข้าพลังงานไฟฟา้ รวมทงั้ สน้ิ 910 พันลา้ นลิตรเทยี บเทา่ น้ำมันดิบ เพม่ิ ขึ้นจากปกี ่อน รอ้ ยละ 46.5 คดิ เปน็ สดั สว่ นร้อยละ 14 ของการนําเข้า พลังงาน เชิงพาณชิ ยท์ งั้ หมดหรือคดิ เปน็ มูลค่าทั้งส้นิ 13,095 ล้านบาท ภาพที่ 6.2 การใช้พลังงานในปรมิ าณมากทำให้ตอ้ งซ้ือไฟฟ้าจากประเทศลาวและเมยี นมา 3) การนาํ เขา้ น้ำมันดบิ จากตา่ งประเทศ ใน พ.ศ. 2554 ประเทศไทยมกี ารนําเขา้ น้ำมนั ดบิ รวมทั้ง สิน้ 39,637 พนั ล้านลิตรเทียบเท่น้ำมนั ดิบ ลดลงจาก พ.ศ. 2553 ประมาณร้อยละ 2.7 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 61.6 ของการนําเข้าพลังงานเชิงพาณชิ ย์ท้ังหมดหรือคดิ เปน็ มูลคา่ การนาํ เข้า ท้งั สิน้ 976,789 ล้านบาท 1.1.2 การส่งเสรมิ การใชพ้ ลังงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ศนู ย์เผยแพรค่ วามรดู้ ้านการใช้ พลงั งานอย่างมปี ระสิทธิภาพ สำนกั งานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้ดำเนนิ การ เผยแพร่ การใชพ้ ลังงานอยา่ งมีประสิทธิภาพตงั้ แต่ พ.ศ. 2544 เปน็ ต้นมา โดยให้ความรแู้ ละสรา้ ง ความตระหนักใหก้ ับ กล่มุ เปา้ หมายและประชาชนท่ัวไปในดา้ นการประหยัดพลงั งานและสง่ เสรมิ การรกั ษา สิง่ แวดล้อม ทำใหเ้ กิด การตื่นตัวและตระหนกั ถึงคุณคา่ ของพลังงาน 1.2 การป้องกันและการแก้ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มจากการใชพ้ ลงั งาน การปอ้ งกันและการแกป้ ัญหาส่ิงแวดลอ้ มท่ีเกิดจากการผลติ และการใช้พลงั งานในประเทศไทย ได้มีการจดั ทำ นโยบายและยุทธศาสตร์ของประเทศประจำปี พ.ศ. 2557-2558 โดยเนน้ การสร้าง ความสามารถเชงิ การ แข่งขัน การสรา้ งโอกาสเสมอภาคและความเท่าเทียมกันและการสร้างการเตบิ โต บนคณุ ภาพชีวิตท่เี ป็นมติ ร กบั สิ่งแวดลอ้ ม มีรายละเอยี ดดงั น้ี 1.2.1 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสนา จะเนน้ การ ปอ้ งกนั และการแก้ปัญหาสงิ่ แวดล้อม โดยการลดการใช้พลงั งานในภาคอตุ สาหกรรม ภาคการขนสง่ และภาค

205 ครวั เรอื น นบั ตนใหม้ ีการใช้พลงั งานทดแทนใหม้ ากขึน้ 2) การใชพ้ ลงั งานสะอาดเพิม่ ข้ึน 3) การปรับกระบวนการผลิต โดยนําไปสกู่ ระบวนการผลิตคาร์บอนต่ำ 4) การอนุรักษ์ ฟ้ืนฟทู รพั ยากรธรรมชาติ และปลูกป่า เพื่อเปน็ แหล่งดดู ซับคารบ์ อน 5) การรับมอื และการปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นสภาพภมู ิอากาศ 6) การสร้างความรว่ มมอื ทดี่ ีในภมู ิภาคอาเซยี น โดยการสนับสนนุ การเจริญเติบโต ทางเศรษฐกจิ ท่มี ีจรยิ ธรรมและไมส่ ง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เชน่ การพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ โดยจัดทำแผน แม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ สรา้ งเสริมและสนับสนนุ การเพิ่มศกั ยภาพเมือง ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มให้ยั่งยืน เพอ่ื เชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน 7) การบริหารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการบรหิ ารจดั การน้ำ เช่น กอ่ สร้างระบบ การป้องกันนำ้ ท่วมพ้นื ท่ีชุมชน ฟืน้ ฟบู ูรณะแหลง่ นำ้ เพอ่ื ป้องกันและแกไ้ ขปญั หาภยั แลง้ อทุ กภัย และ เพ่ือการเกษตร เป็น ตน้ 8) การจัดทำนโยบายการคลังเพอ่ื ส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ นํามาตรการทางดา้ นการคลงั มาใช้ ในการ จัดการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อมและจดั ซ้ือจดั จ้างสนิ ค้าและบรกิ ารทเ่ี ป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม เปน็ ตน้ 9) การแบง่ เขตภาคการเกษตร เช่น จดั ทำแผนทบั ซ้อนดา้ นการผลติ ขนสง่ และ การแปรรปู การ ประเมินผลความเหมาะสมของดนิ และน้ำ และการจัดการแผนทกี่ ารใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน เป็นต้น 1.2.2 การป้องกันและแกป้ ัญหาสภาพภูมิอากาศทเ่ี ปลี่ยนแปลง มีวิธีจัดการและแก้ไข ดังน้ี 1) การควบคุมการปล่อย เปน็ ความพยายามที่จะลดสง่ิ ทก่ี ระตุ้นทำให้เกดิ การเปลย่ี นแปลง สภาพภูมิอากาศ เช่น การลดการปลอ่ ยสารพิษประเภทต่าง ๆ เขา้ สรู่ ะบบนเิ วศและ ชน้ั บรรยากาศ เปน็ ตน้ 2) การปรับเปลี่ยน เป็นการปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมและสง่ิ ท่ีอยรู่ อบ ๆ ตวั ให้เข้ากับ สภาพ ภมู ิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนสร้างภมู ิคุ้มกนั และปรับโครงสรา้ งพ้นื ฐานเพ่ือป้องกัน ผลกระทบจาก การเปลีย่ นแปลง เช่น การสรา้ งฉนวนเพื่อป้องกันความร้อนใหก้ ับท่ีอยู่อาศยั เป็นต้น 3) การแกป้ ัญหาโดยอิงกับกลไกตลาด เพ่ือปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมของผทู้ ที่ ำให้ สภาพภมู ิอากาศ เกดิ การเปลย่ี นแปลง จงึ ตอ้ งคิดราคาหรอื ลงโทษผูท้ ่ีทำใหเ้ กิดปญั หาขนึ้ เชน่ การใช้ มาตรการทางภาษี การ คิดภาษกี บั ธุรกจิ เป็นตน้ 4) การแก้ปัญหาทเี่ นน้ พัฒนาเทคโนโลยแี ละความร่วมมอื ระหว่าง ๑ะเทศ โดยเฉพาะการ พัฒนาแหล่งพลังงานท่ี แมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ มและพลังงานที่สามารถนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ไดเ้ ชน่ การวิจยั และ พฒั นาเทคโนโลยี ที่ลดปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ และการสร้างธรุ กิจพลงั งานท่ีสะอาด เปน็ ตน้

206 ภาพที่ 6.3 การรณรงค์เพอื่ พรานแพะ แวดลอ้ ม 1.2.3 การปอ้ งกันและการแก้ปญั หา ภาวะโลกร้อน ควรมกี ารป้องกนั และลดการปลอ่ ย แก๊ส คาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการใชพ้ ลังงานทัง้ ทางตรงและทางออ้ มในชีวิตประจำวนั ภาพท่ี 6.4 การแกป้ ญั หาภาวะโลกรอ้ น การป้องกนั และการแกป้ ัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 2. การปอ้ งกันและการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ปญั หาการใช้พลงั งานท่ีสง่ ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม เป็นปัญหาทมี่ นษุ ย์ เป็น ผู้กระทำต่อแหลง่ ธรรมชาตทิ ้ังทางตรงและทางอ้อม แนวทางการป้องกนั และการแก้ปญั หา มดี งั น้ี 2.1 การป้องกันและการแกป้ ัญหาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มทีเ่ กิดข้ึนสร้างความเสียหายและส่งผลกระทบต่อความเป็นอยขู่ อง มนุษยแ์ ละส่งิ มชี วี ิต แนวทางการป้องกนั และการแกป้ ญั หาสิง่ แวดล้อม ไดแ้ ก่ 2.1.1 การป้องกัน เป็นการคมุ้ ครองทรัพยากรธรรมชาติเพือ่ ให้มีอัตราการนําทรพั ยากรมาใช้

207 อยู่ในระดบั ท่ีสามารถเกดิ ขึน้ มาทดแทนได้อย่างเหมาะสม เพอ่ื ให้มที รัพยากรหมนุ เวียนสำหรบั ใช้งานได้ อย่างยง่ั ยนื ต่อไป 2.1.2 ฟ้นื ฟูสภาวะทรัพยากรการแก้ไขและฟน้ื ฟ เปน็ การดำเนินการแกไ้ ข ปรับปรงุ และฟ้นื ฟู สภาวะทรัน สงิ่ แวดลอ้ มให้กลับมาอยู่ในสภาพทด่ี ีขน้ึ เพื่อใหส้ ง่ิ แวดลอ้ มมีเวลาในการฟ้นื ตวั กลับมาใช้ใหม่ ได้ เช่น การฟ้นื ฟพ้ืนท่ีปา่ ชายเลน การฟนื้ ฟูป่าไม้ เปน็ ตน้ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มให้กลับมาอยู่ในสภาพ ท่ีดิน สภาพเดมิ และสามารถนํากลับมาใชใ้ หม่ได้ เช่น การพินพพน\" มาะสมเพ่ือให้เกิดประโยชนต์ อ่ 2.1.3 การอนุรักษ์ เปน็ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตอ่ มนษุ ยม์ ากทส่ี ุดและหลีกเล่ียงการทำให้ เกดิ ผลเสยี ตอ่ สงิ่ แวดล 2.2 หลักพน้ื ฐานในการปอ้ งกนั และการแกป้ ัญหาสิ่งแวดลอ้ ม มดี ังน้ี 2.2.1 การปอ้ งกันและการแก้ปัญหามลพษิ ทางดิน ไดแ้ ก 1) การบำรงุ รกั ษาดินให้มีความสมบรู ณอ์ ยู่เสมอ 2) ไมต่ ดั ไม้ทำลายปา่ หรือทำไรเ่ ลื่อนลอย 3) ลดการใชส้ ารเคมีกําจดั ศตั รูพืช 4) แยกขยะเพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การจัดเกบ็ และนําไปกําจัดใหถ้ กู วิธี 2.2.2 การป้องกนั และการแก้ปัญหาการกดั เซาะชายฝั่งทะเล ได้แก่ 1) การฟื้นฟปู า่ ชายเลน ปา่ ชายหาดปะการงั และหญา้ ทะเลใหเ้ กดิ ความสมบรู ณ์ 2) การปลูกพชื การเสริมทรายชายหาด ไส้กรอกทราย และการปักแนวไม้ไผก่ ันคลนื่ 3) การสรา้ งการสร้างกาํ แพงป้องกันคล่ืน คนั ดกั ทราย เข่ือนกนั คลน่ื เข่ือนกนั ทราย และคลืน่ เป็นตน้ 4) การใชม้ าตรการควบคมุ ทางกฎหมายและการมีสว่ นรว่ มของทุก ๆ ภาคสว่ น ได้แก่ รฐั บาล เอกชน ประชาชน 2.2.3 การปอ้ งกนั และการแก้ปัญหามลพิษทางน้ำ ไดแ้ ก่ 1) การรณรงคใ์ ห้ประชาชนใช้นำ้ อย่างประหยดั 2) การบําบัดนำ้ เสยี กอ่ นท้ิงจากโรงงานอุตสาหกรรมและบา้ นเรือน 3) การใช้กฎหมาย มาตรการ และข้อบงั คบั ท่ีเข้มงวดในการควบคุม 4) การกําจัดขยะมลู ฝอยและส่งิ ปฏิกูลอยา่ งถูกวธิ ี 5) ลดการทิง้ นำ้ ใช้แลว้ ลงสู่แม่น้ำและลำคลองสาธารณะ โดยไมผ่ า่ นการบําบดั 6) การสร้างความเข้าใจเก่ียวกบั ปัญหามลพิษทางน้ำแก่ประชาชน 7) การตรวจสอบคณุ ภาพนำ้ จากแหลง่ ทร่ี ะบายน้ำเสียลงสแู่ มน่ ำ้ 2.2.4 การป้องกันและการแก้ปญั หามลพิษทางอากาศและเสียง ไดแ้ ก่ 1) มลพิษทางอากาศและเสียงจากยานพาหนะ (1) การกำหนดมาตรฐานของยานพาหนะ (2) การตรวจสภาพยานพาหนะประจำปี (3) การตรวจสอบ ตรวจจบั รถหรือแหลง่ ท่ีมีมลพิจะกนิ ลลับรถหรือแหล่งทม่ี ีมลพิษเกิน

208 มาตรฐาน (4) การสงเสรมิ การใชเ้ ชอื้ เพลิงยานพาหนะทมี่ ปี ระดกั ชา้ (5) การจัดการมลพิษทางเสียงอย่าง (6) การรณรงคป์ ระชาสัมพนั ธ์ให้ความรูแ้ กป่ ระชาชน 2) มลพิษทางอากาศจากโรงงานอตุ สาหกรรม (1) การกำหนดมาตรฐานมลพษิ ทางอากาศจากอุตสาหกรรม (2) กำกับดูแลและตรวจสอบมลพษิ จากแหลง่ ท้าเนดิ (3) การจดั การและป้องกนั มลพษิ สำหรับโรงงานอตุ สาหกรรมขนาดกลาง (4) การรณรงคป์ ระชาสัมพันธใ์ ห้ความรูแ้ กป่ ระชาชน 3) การจัดการมลพิษจากแหล่งกำเนดิ ประเภทอน่ื (1) การควบคุมฝุน่ ละอองจากกิจกรรมการก่อสร้าง (2) การควบคุมมลพษิ ทางอากาศจากเตาเผามลู ฝอยและเตาเผาศพ 4) มาตรการอืน่ ๆ (1) การติดตามตรวจสอบสถานการณค์ ุณภาพอากาศและเสียง (2) การกําหนดคา่ มาตรฐานและคู่เฝ้าระวงั (3) การจัดการด้านผังเมือง (4) การดำเนนิ กจิ กรรมลดภาวะโลกรอ้ น (5) การเพิ่มพน้ื ท่สี ีเขียว ดว้ ยการปลกู ตน้ ไมแ้ ละดูแลรกั ษาต้นไม้ในเขตเมือง ต่าง ๆ เพอื่ การดูด ซับมลพิษทางอากาศท่ีเกิดขน้ึ 2.2.5 การปอ้ งกันและการแก้ปัญหาทรพั ยากรแร่ ได้แก่ 1) การใหค้ วามรู้เพื่อวางแผน ป้องกนั และแก้ไขปัญหาเรอื่ งทรัพยากรแรไ่ ด้อยา่ ง มีประสิทธิภาพ 2) การพัฒนาเครอื่ งมอื และกลไกเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการ 3) การเพิ่มประสิทธภิ าพในการติดตาม ตรวจสอบ และเฝ้าระวัง 2.2.6 การปอ้ งกันและการแกป้ ัญหาขยะมลู ฝอย ไดแ้ ก่ 1) การสรา้ งจติ สํานกึ และตระหนักถงึ ปญั หาสิง่ แวดล้อมของบุคคล 2) การใหค้ วามรว่ มมอื ชว่ ยเหลือของชุมชน และการสนบั สนนุ ภาครฐั อย่างเหมาะสม 3) ภาคเอกชนตอ้ งให้ความรว่ มมือกับภาครฐั ด้านการปอ้ งกันและแก้ปัญหา 4) การปฏิบตั ติ ามนโยบาย ข้อกฎหมาย และระเบียบปฏบิ ัตทิ ีเ่ กีย่ วข้องกบั มลภาวะ อยา่ งถูกต้อง 5) การลดปรมิ าณขยะ โดยนาํ ขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชนต์ า่ งๆ เช่น นํามาหมนุ เวยี น ใชใ้ หม่ ผลติ อาหารสัตว์ วตั ถสุ ำหรับก่อสร้าง ปรับปรุงพื้นท่ี ถมทะเล และทำป๋ยุ หมัก เป็นต้น

209 การสอนออนไลน์ การสอบออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

210 สอ่ื การสอนประจำหนว่ ย

211 สื่อการสอน

212 สื่อการสอน

213 แบบทดสอบประจำหนว่ ย

214 แบบทดสอบบทที่ 6 เร่อื งการแก้ปัญหาพลงั งานและส่งิ แวดล้อม 1.หนา้ ที่ของกรมพฒั นาพลังงานทดแทนและการอนุรกั ษ์พลังงานคือข้อใด ก.สงั่ เพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบการทำสมั ปทาน ข.ร่างกฎหมายสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลังงานฉบับปจั จุบนั ค.รอ้ งเรียนกลา่ วโทษผ้กู ระทำผิดทลี่ ะเมิดหรือฝา่ ฝืนกฎหมาย ง.ออกคำสั่งเป็นหนงั สือลงโทษผลู้ ะเมดิ กฎหมายอนุรักษ์พลังงาน 2.กฎหมายอนุรกั ษพ์ ลังงานฉบบั ปัจจบุ ันมีชือ่ เตม็ ว่าอย่างไร ก.พระราชบญั ญัติการส่งเสรมิ การอนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ข.พระราชบญั ญัตกิ ารสง่ เสรมิ การอนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. 2538 ค.พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2542 ง.พระราชบัญญตั ิการส่งเสริมการอนุรักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2545 3.ทกุ ข้อคือวตั ถุประสงค์ของกฎหมายสง่ เสรมิ การอนุรักษ์พลังงาน ยกเวน้ ขอ้ ใด ก.สง่ เสรมิ และสนับสนุนใหก้ ารอนรุ ักษ์พลงั งานเปน็ รปู ธรรม ข.ควบคมุ อาคารบา้ นเรือนทัว่ ประเทศให้ใชพ้ ลงั งานอยา่ งประหยดั ค.ส่งเสริมสนบั สนุนการผลิตเครือ่ งจักรอปุ กรณ์ท่ีมีประสทิ ธิภาพประหยดั พลังงาน ง.กำกบั ดแู ล ส่งเสริม และสนับสนุนอาคารควบคมุ และโรงงานควบคมุ ให้มีการอนุรกั ษ์ พลงั งานดว้ ยการ ผลติ 4.กองทนุ เพื่อสง่ เสรมิ การอนุรักษพ์ ลงั งาน ถกู จัดตัง้ ข้ึนเพ่ือวตั ถปุ ระสงคใ์ ด ก.ใช้จา่ ยในการแกไ้ ขปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม ข.เพ่อื ใหโ้ รงงานผลิตเครื่องจักรประหยัดพลงั งานกู้ยมื ค.สง่ เสริมสนับสนนุ การผลิตเครอื่ งจักรอปุ กรณท์ ี่มีประสิทธิภาพประหยัดพลังงาน ง.แสดงให้เหน็ วา่ มีการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้การอนรุ กั ษ์พลงั งานเปน็ รปู ธรรม 5.หนา้ ที่ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแหง่ ชาติคอื ข้อใด ก.กำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม ข.กำกบั และบรหิ ารเงินกองทุนสง่ิ แวดลอ้ ม ค.เสนอนโยบายและแผนการส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมแหง่ ชาติ ง.ถูกทกุ ขอ้ 6.ข้อใดคือกลมุ่ เป้าหมายหลกั ของการออกกฎหมายอนรุ กั ษ์พลงั งาน ก.โรงงานควบคุม ข.อาคารควบคุม ค.ผู้ผลิตจำหนา่ ยเครือ่ งจกั รอุปกรณท์ ่ีมปี ระสิทธภิ าพสูงและวสั ดุในการอนรุ กั ษ์พลังงาน ง.ถูกทกุ ข้อ

215 7.คณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแห่งชาตมิ ีหน้าท่รี ายงานสถานการณ์คุณภาพส่ิงแวดล้อมของประเทศตอ่ คณะรฐั มนตรี กค่ี รง้ั ต่อปี ก.1 ครั้ง ข.2 ครั้ง ค.3 คร้ัง ง.4 ครงั้ 8.ขอ้ ใดไม่จัดเป็นกิจกรรมการอนุรกั ษ์พลงั งานในอาคาร ก.การใช้วัสดธุ รรมชาติในการสรา้ งอาคาร ข.การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่เข้ามาในอาคาร ค.การใช้วัสดกุ อ่ สรา้ งอาคารท่ีจะช่วยอนรุ กั ษ์พลังงาน ง.รักษาอุณหภมู ภิ ายในอาคารทอี่ ยู่ระดบั ทีเ่ หมาะสม 9.ทกุ ข้อคือสิทธหิ นา้ ท่ีของประชาชนและการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอ่ องค์กรเอกชนท่ีบัญญัติไว้ใน พระราชบญั ญัติ สง่ เสรมิ และรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ ยกเว้นข้อใด ก.การไดร้ ับค่าชดเชยเสยี หายหรอื คา่ ทดแทนจากรฐั ในกรณีทเ่ี กิดจากภยั ธรรมชาติ ข.การรบั ทราบข้อมลู และขา่ วสารของทางราชการเก่ียวกับการสง่ เสรมิ และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม แห่งชาตทิ ุกเรื่องยกเว้นเร่ืองท่ีเปน็ ความลบั ค.การร้องเรียนกล่าวโทษผ้กู ระทำผดิ ท่ีละเมิดหรือฝ่าฝืนกฎหมายเกยี่ วกบั การควบคุมมลพิษหรือการ อนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติต่อพนักงานเจ้าหนา้ ที่ ง.การปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม หรอื กฎหมายอ่นื ท่ีเกี่ยวข้องกับ การสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มโดยเคร่งครดั 10.ขอ้ ใดไม่เปน็ กิจกรรมทถ่ี ือว่าเปน็ การอนุรกั ษ์พลงั งานในโรงงาน ก.การป้องกันการสูญเสยี พลังงาน ข.การปรับปรงุ ประสิทธภิ าพการเผาไหม้เชื้อเพลิง ค.หยุดเดนิ เคร่ืองจักรในโรงงานขณะพักกลางวัน ง.การนำพลงั งานท่ีเหลอื จากการใช้แลว้ กลับมาใช้ใหม่