Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2

การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2

Published by orawichada.k, 2021-09-24 07:11:01

Description: การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมในกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ความรุนแรงกับความไม่รู้ ปรับเปลี่ยนตนเองโดยอยู่บนทางสายกลาง ต้องรู้เท่าทันสถานการณ์อย่างมีสติสัมปชัญญะบนพื้นฐาน ทางสายกลาง หรือ มัชฌิมาปฏิปทา เกิดขึ้นเพราะความไม่รู้หรือเข้าใจผิด ชางพุทธที่ดีจึงต้อง ไม่ปฏิเสธการเปลี่ยนแปลง แต่ต้องรู้อยู่เสมอว่าทุกสิ่งในวันหนึ่งจะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่จมปลักกับสิ่งเดิมที่ไม่พัฒนา หมั่นแสวงหาความรู้เพื่อป้องกันมิให้เกิดความรุนแรง โดย ไม่ได้สอนให้สันโดษอย่างเดียว ไม่ได้สอนให้มักน้อยแต่สอนให้ยินดีในสิ่งที่ตนได้รับอย่างชอบธรรม ปฏิบัติตามหลัก วุฑฒิธรรม 4 สอนให้เปลี่ยนแปลงบนฐานความรู้และความดีงาม สอนให้ทำความดี ไม่เอาเปรียบ ไม่คดโกง ไม่ทุจริต พัฒนาเปลี่ยนแปลงตนเองอยู่เสมออย่างเข้าใจและรู้เท่าทัน 1.สัปปุริสสังเสวะ : การคบหาสัตบุรุษหรือคนดี 2.สัทธัมมัสสวนะ : การฟังสัทธรรม หรือ เอาใจใส่ การปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมในโลกยุคโลกาภิวัฒน์ตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา คือ อริยทรัพย์ หมายถึง สิ่งมีค่าอันประเสริฐ เป็นสิ่งที่อยู่ ศึกษาความรู้จริง ภายในจิตใจของผู้คน มี 7 ประการ 3.โยนิโสมนสิการ : การคิดหาเหตุผลโดยถูกวิธี 4.ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ : การปฏิบัติธรรมสมควรแก่ 1.ศรัทธา : ความเชื่ออย่างมีเหตุผล ธรรม 2.ศีล : การรักษาวัตรปฏิบัติ ทั้งทางกาย วาจาและใจของตนให้เรียบร้อยและมีความสํารวม 3.หิริ : ความละอายต่อบาปและกรรมชั่ว พรหมวิหาร 4 กับสันติสุข 4.โอตตัปปะ : ความเกรงกลัวต่อบาปและกรรมชั่ว 5.พาหุสัจจะ : ความเป็นผู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก ใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษาจนมีความรู้มาก คือ ธรรมประจำใจอันประเสริฐ เป็นหลักธรรมช่วยให้คนเราอยู่ 6.จาคะ : การบริจาค การให้ทาน ความเสียสละเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือผู้อื่น ร่วมกันอย่างสงบสุข มีความรักและเอื้ออาทรต่อกัน ประกอบด้วย 7.ปัญญา : ความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ลึกซึ้งในเหตุผล เข้าใจความดี ความชั่ว เข้าใจความถูกและผิด ไม่เอาใจเข้าหาอวิชชา การปฏิบัติตนเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข การอยู่ร่วมกันโดยปราศจากความรุนแรง มี ความเห็นต่างกันได้ แต่ไม่คิดทำร้ายกันทั้งทาง กาย วาจา ใจ สถานที่ใดที่ไม่มีความยุติธรรมมัก มีความรุนแรงเกิดขึ้น ความเห็นที่ต่างกันว่า ยุติธรรมหรือไม่ ทำให้เกิดความลำเอียง เป็นที่มา ของความไม่ยุติธรรม หรือ อคติ 4

อธิปไตย 3 กับสันติสุข กุศลวิตก 3 กับสันติสุข ผู้มีอำนาจในการตัดสินใจจะทำอะไรลงไปนั้น อาจยึดถือหลักอธิปไตย 3 หมายถึง ความเป็นใหญ่ที่ไม่สร้างผลกระทบต่อผู้คนส่วนใหญ่ การนึกถึงในทางที่ดีงาม บนหลักการของเหตุผล รอบคอบ ไม่นำพาไปในทางเสื่อมเสีย ผู้ที่นึกใน หรือยึดหลักธรรมความถูกต้องเป็นใหญ่ สิ่งที่ดีงามในสิ่งที่ดีงามจะช่วยให้สังคมลดความรุนแรงลงได้ อัตตาธิปไตย : ถือตัวเองเป็นใหญ่ เนกขัมมวิตก คือ ความคิดในทางออกจากกาม เพราะเห็นว่ากามคุณเป็นเหตุแห่งความทุกข์ พยายามยกระดับจิตใจให้อยู่เหนืออำนาจของกามคุณ โลกาธิปไตย : ถือคคนส่วนมากเป็นใหญ่ อพยาบาทวิตก คือ ความคิดในทางสร้างสรรค์ ไม่พยาบาท เกิดความรักความสามัคคี ความ เมตตา ไม่คิดร้ายต่อผู้อื่น รู้จักการให้อภัย ธรรมาธิปไตย : ถือความถูกต้องเป็นใหญ่ อวิหิงสาวิตก คือ ความคิดที่ไม่เบียดเบียน ไม่สร้างความลำบากจากการกระทำและคำพูดของ ตนเองต่อผู้อื่น สาราณียธรรม 6 กับสันติสุข สิ่งที่เป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน มีจุดหมายเพื่อต้องการสอนให้คนสมัครสมานสามัคคีกัน 1. เมตตากายกรรม ประกอบด้วยเมตตา คือ การกระทำทางกายที่ประกอบด้วยเมตตา 2. เมตตาวจีกรรม ประกอบด้วยเมตตา คือ การมีวาจาที่ดี สุภาพเรียบร้อย 3. เมตตามโนกรรม ความคิดที่ประกอบด้วยเมตตาทั้งต่อหน้าและลับหลัง 4. สาธารณโภคิตา การรู้จักแบ่งสิ่งของให้กันและกันตามโอกาสอันควร 5. สีลสามัญญตา ความรักใคร่สามัคคี รักษาศีลอย่างเคร่งครัดเหมาะสม 6. ทิฏฐิสามัญญตา การมีความเห็นร่วมกัน ไม่เห็นแก่ตัว สังคหวัตถุ 4 กับสันติสุข วิธีปฏิบัติเพื่อยึดเหนี่ยวน้ำใจคนอื่นหรือวิธีผูกใจคน

ขอขอบคุณ แหล่งข้อมูล ธวัช ทันโตภาส, ขวัญนภา สุขคร และสมมต สมบูรณ์. (2560). สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพาณิชย์. บุรินทรวรวิทย์ พ่วนอุ๋ย. (-). พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช บางขุนเทียน. วิทย์ วิศทเวทย์ และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. (มปป.). พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อักษร เจริญทัศน์. กราฟฟิก เว็บไซต์ : https://www.matichon.co.th/lifestyle/news_1344121 เว็บไซต์ : https://www.slideshare.net/primpatcha/ss-9718493 Facebook fanpage : ความเป็นครู Facebook fanpage : ครูพิมพ์สายย่อ Facebook fanpage : คนสอบครู - Teachers Land Facebook fanpage : เพจ กัลยาณธรรมนำชีวิต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook