Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (ม.1) เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น + ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์

(ม.1) เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น + ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์

Published by orawichada.k, 2022-12-05 07:48:50

Description: (ม.1) เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น + ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์

Search

Read the Text Version

SOC KRU AM [email protected] / ห้องพักครู กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น อรวิชดา กาวิล

เนื้อหาที่เรียน เศรษฐศาสตร์ หน่วยที่ 1 ทำความรู้จักเศรษฐศาสตร์ หน่วยที่ 2 อุปสงค์และอุปทาน หน่วยที่ 3 สถาบันการเงิน หน่วยที่ 4 มองดูเศรษฐกิจไทยของเรา หน่วยที่ 5 ชีวิตเป็นสุขด้วยเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยที่ 6 เราบริโภคด้วยความพอเพียง SOC KRU AM

เนื้อหาที่เรียน หน่วยที่ 1 ทำความรู้จักเศรษฐศาสตร์ ความหมายความสำคัญ และประโยชน์ ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ขอบข่ายและเป้าหมายของวิชา เศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ SOC KRU AM

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาถึงการจัดสรร ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อตอบ สนองความต้องการอันไม่มีที่สิ้นสุดของ มนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพให้เกิด ประโยชน์สูงสุด SOC KRU AM

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ ระดับบุคคลและครัวเรือน ช่วยให้สมาชิกในครัว เรือนวางแผนใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม เช่น นักเรียนวางแผนการใช้เงินค่าขนม แม่บ้านจัดทำ บัญชีครัวเรือน เป็นต้น SOC KRU AM

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ ระดับผู้ผลิต ช่วยให้ผู้ผลิต ใช้แรงงาน วัตถุดิบ ได้อย่างคุ้มค่า ช่วยลดต้นทุน การผลิต และเพิ่มผลกำไรจากสินค้า SOC KRU AM

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ ระดับประเทศ ช่วยให้รัฐบาล จัดสรรทรัพยากรต่างๆได้เพียงพอ ต่อประชาชน และช่วยแก้ปัญหา ทางเศรษฐกิจ เช่น การว่างงาน ความยากจน ค่าครองชีพสูง เป็นต้น SOC KRU AM

ประโยชน์ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ในฐานะผู้บริโภค ช่วยให้ผู้ บริโภคจัดสรรรายได้ที่มีอยู่ อย่างจำกัดไปซื้อสินค้าต่าง ๆ ได้ อย่างมีเหตุผล และ สามารถวางแผนการบริโภค การออมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ SOC KRU AM

SOC KRU AM ประโยชน์ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ในฐานะผู้ผลิตหรือผู้ ประกอบการ ช่วยให้ผู้ผลิต สามารถตัดสินใจว่าจะ ดำเนินธุรกิจใด ใช้ เทคโนโลยีใด ผลิตสินค้า จำนวนเท่าใด ราคาเท่าใด เพื่อให้ลดต้นทุนและเกิด กำไรสูงสุด

ประโยชน์ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ ในฐานะรัฐบาล ช่วยให้รัฐบาลเข้าใจ สาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจของ ประเทศ แล้วหาแนวทางแก้ไขโดยใช้ นโยบายต่าง ๆ เช่น การจัดเก็บภาษี การลงทุนในสาธารณูปโภค การ บริหาร หนี้สาธารณะ เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ประชาชน SOC KRU AM

ขอบข่ายและเป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ ส่วนย่อยระดับบุคคล ศึกษาพฤติกรรมของผู้ผลิต ศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค ศึกษาตลาดสินค้า ศึกษาการกำหนดราคาสินค้าและบริการ SOC KRU AM

ขอบข่ายและเป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจทั้งระบบในระดับส่วนรวมของประเทศ ศึกษารายได้ประชาชาติ ศึกษาปริมาณเงิน ศึกษาการออมและการลงทุน ศึกษาการจ้างงาน ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ ศึกษาภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด ศึกษาภาวะการว่างงาน SOC KRU AM

ขอบข่ายและเป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) มุ่งทำความเข้าใจในพฤติกรรมทางด้านเศรษฐกิจของมนุษย์ ทำความเข้าใจปัญหาและผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชนที่เป็นผลกระทบจากเศรษฐกิจ นำความรู้ไปใช้ในการออกนโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาล เพื่อแก้ปัญหา ทางเศรษฐกิจ SOC KRU AM

ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ คือ ทรัพยากรการผลิต (Production Resources) ซึ่งหมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่นำ มาใช้ผลิตสินค้าหรือบริการ ทั้งที่เกิด ขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้าง ขึ้น ทรัพยากรที่ถูกนำมาใช้ใน กระบวนการผลิตนี้มีชื่อเรียกอีกอย่าง หนึ่งว่า ปัจจัยการผลิต (Factors of Production) SOC KRU AM

ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ ที่ดิน พื้นดินที่ใช้ในการเพาะปลูกหรือ ประกอบกิจการต่าง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่บนผิว ดินและในดิน สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ เหนือพื้นดิน ผลตอบแทนจากที่ดิน คือ ค่าเช่า SOC KRU AM

ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ แรงงาน คือ ทรัพยากรมนุษย์ เป็นผู้ใช้กำลังกาย กำลังความคิด ผลิตสินค้าและ บริการ ผลตอบแทนของแรงงาน คือ ค่าจ้าง ค่าแรง เงินเดือน SOC KRU AM

ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ ทุน เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อ ใช้ผลิตสินค้าและบริการ ทุนมีหลายลักษณะ เช่น เครื่องจักร โรงงาน เป็นต้น เงินตราไม่ถือว่าเป็นทุน แต่ เงินเป็นเครื่องมือสำหรับซื้อ ปัจจัยการผลิต ผลตอบแทนจากการลงทุน คือ ดอกเบี้ย SOC KRU AM

ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์ ผู้รวบรวมปัจจัยการผลิต คือ ที่ดิน แรงงาน และทุน มาผลิตสินค้าและบริการ ผู้ประกอบการอาจเป็นหน่วยงาน บริษัท ห้างร้าน หรือ เอกชนเพียงคนเดียวก็ได้ เป็นผู้ที่ต้องยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการผลิต การบริหารจัดการในกระบวนการผลิต ผลตอบแทนของผู้ประกอบการ คือ กำไร หรือ ขาดทุน ผู้ประกอบการ SOC KRU AM


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook