Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิศาสตร์ ม.2 : ทวีปแอฟริกา

ภูมิศาสตร์ ม.2 : ทวีปแอฟริกา

Published by orawichada.k, 2021-08-20 08:18:48

Description: ทวีปแอฟริกา

Search

Read the Text Version

ภูมิศาสตร์ ม.2 Geography ทวีปแอฟรกิ า นางสาวอรวิชดา กาวลิ นกั ศกึ ษาปฏิบตั งิ านวชิ าชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม ช่อื -สกุล…………………………………………… ชนั้ ……………… เลขท่…ี …………

ทวีปแอฟรกิ า SOC KRU AM ช่อื -นามสกลุ ………………………………………………… ช้นั ……………… เลขท่…ี ………… ลกั ษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ หากพดู ถงึ แอฟริกา เพ่ือนๆ และสังคมของทวปี แอฟรกิ า นึกถึงอะไรกนั บางคะ? scan เพื่อศึกษาขอ มูล ทวีปแอฟริกาเคยถกู เรียกวา กาฬทวปี (Dark ทวปี แอฟรกิ าในเวบ็ ไซต Continent) เพราะคนยุโรปยังไมคอยรูจ ักและ The world fact book เนอ่ื งจากสภาพแวดลอ มทางธรรมชาติเปน อปุ สรรค ตอ การสํารวจดินแดนภายในทวีป ในยคุ ทีม่ ีการ แสวงหาอาณานิคม ทวปี แอฟรกิ าเปน ดินแดนทีอ่ ยู กงึ่ กลางของเสนทางติดตอ ระหวางทวีปเอเชียกบั ยุโรป และทวีปยุโรปกับออสเตรเลีย ชาวยโุ รปท่ีให ความสนใจแตทวีปเอเชีย เพราะเขาใจวาทวปี เอเชีย เพียงแหง เดยี วเทา นั้น ทอี่ ดุ มดว ยทรัพยากรและเปน ตลาดการคา ใหญ จงึ เปลี่ยนความคิดนี้ไปภายหลัง และหนั มาใหค วามสนใจตอ ทวปี แอฟริกามากขึ้น เพราะพบวาทวปี แอฟริกาเปน แหลงผลติ พชื ผลเมอื ง รอนและมแี รธาตุมากมาย เปนทวปี ที่มปี ระชากร อาศยั อยูเ ปน จาํ นวนมาก แอฟรกิ าจึงกลายเปน ตลาดการคา ท่สี าํ คญั ของโลกแหง หนึ่ง

ทตี่ ้งั ขนาด และอาณาเขต scan เพื่อดูแผนท่รี ฐั กิจของ ทวปี แอฟรกิ า ทวีปแอฟรกิ าตัง้ อยรู ะหวางละตจิ ดู 37 องศา 21 ลปิ ดาเหนอื กบั 34 องศา 52 ลปิ ดาใต และระหวา งลองจิจดู 51 องศา 26 ลปิ ดาตะวนั ออก กับ 17 องศา 32 ลปิ ดาตะวันตก มเี สน ศนู ยส ูตรลากผา นกลางทวปี ทาํ ใหคร่งึ หนึ่ง ของแอฟริกาอยทู างซีกโลกเหนอื และอกี ซีกหนง่ึ อยซู กี โลกใต ขนาดของทวีปแอฟรกิ ามขี นาดใหญเปน อันดับ 2 รองจากทวปี เอเชยี มี พ้นื ท่ี 30,278,706 ตารางกโิ ลเมตร ใหญกวาทวปี ยโุ รป 3 เทา

ลกั ษณะทั่วไป ทวปี แอฟริกา ปจจบุ นั เปน ทส่ี นใจ ของนกั ลงทุนจํานวน มาก แอฟรกิ ามีทรัพยากรมีคาหลายชนดิ มีจาํ นวนประชากรประมาณ 1,284 ลา นคน ในชวงกลาง พ.ศ. 2561 แบง ออกเปน 5 ภูมภิ าค มปี ระเทศท้งั หมด 54 ประเทศ ดงั น้ี สาระนารู • เอธิโอเปย แปลวา ดินแดนแหงใบหนาทีถ่ ูกแผดเผา (land of • คองโก (Congo) ชือ่ เรียกอยางเปน ทางการวา burnt faces) เปน ช่ือท่ีชาวกรีกและโรมนั เรยี กดนิ แดนท่ีมชี าวผิว สาธารณรฐั ประชาธิปไตย คองโก เคยเปลยี่ น ดาํ ทางตอนใตข องอาณาจักรตน นอกจากนเ้ี ปนถิ่นกาํ เนดิ ของเมล็ด ชือเปน “ซาอีร” (Zaire) ใน ค.ศ.1971 และ กาแฟทีคนพบโดยบังเอญิ โดยชายเลย้ี งแกะ ทเี่ มืองคัฟฟา (Kaffa) เปลียนกลับมา ใชช่ือเดิม ใน ค.ศ. 1997 เลยเรยี กกันวา “คอฟฟ” (Coffee) และถกู นาํ ไปใชแพรหลาย เปนทีนิยมท่ัวโลก • สาธารณรัฐคองโก (Republic of the Congo) เคยเปนสวนหนงึ ของ อาณานิคม ฝรัง่ เศส โดยใชชือวา “เฟรนชอ ิเควทอเรียล แอฟริกา” เมื่อ ค.ศ. 1910

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ แผนทีแ่ สดงลักษณะ ภมู ิประเทศของ ทวีปแอฟรกิ า เนอ้ื ที่สว นใหญ 2 ใน 3 เปน ที่ราบสงู พบทีร่ าบ ภูเขาคิลิมานจาโร ในแทนซาเนีย เปน ภูเขาท่สี ูงท่สี ุดในทวีป นอยมากและเปนท่รี าบขนาดเล็ก มกั พบทางบริเวณ ชายขอบของทวีป • เขตท่ีราบสูงและภเู ขาสงู ทางตะวันออก เปน เขตท่ีมคี วามสงู มากที่สดุ ในทวปี สว นใหญเปนท่ีราบสงู ไดแ ก ทรี่ าบสูงเอธิโอเปย และทรี่ าบสงู แอฟริกาตะวนั 1.เขตทร่ี าบสงู และภเู ขาสงู มี 3 บรเิ วณ ไดแก ออก มีภูเขาไฟท้งั ทม่ี ีพลงั และที่ดับสนิท มียอดเขาสูงเกนิ 3,000 เมตรหลาย ยอด มีทะเลสาบหลายแหง เชน ทะเลสาบวกิ ตอเรีย ทะเลสาบแทนกนั นยี า • เขตทีร่ าบสูงและภูเขาสูงทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลสาบมาลาวี ในโมรอ็ กโก แอลจเี รีย และตนู เี ซยี มีแนวเทอื กเขา แอตลาส (มียอดเขาตบู คาลเปนยอดสงู สุด) ใน #ทะเลสาบที่ใหญท สี่ ดุ ในแอฟริกา ทะเลสาบ โมรอ็ กโก นอกนั้นยังประกอบดวยทวิ เขาแอนติลาส วกิ ตอเรยี เปนทะเลสาบทใ่ี หญท่สี ุดในทวีปแอฟรกิ า เปน แนวขนานทางใต และแนวทิวเขาเทลล- แอ และใหญเ ปนอันดับสองของโลกรองจากทะเลาบสุพี ตลาส เปนแนวขนานดานนอกฝง โมร็อกโด เรยี ในอเมริกาเหนือ เปนตน กําเนดิ ของแมน า้ํ ไนล แอลจเี รยี และตนู ีเซีย สว นใตสดุ เปนทวิ เขาสะฮารนั แอตลาส

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ • เขตทร่ี าบสูงและภเู ขาสงู ทางใต ประกอบดวยทร่ี าบสงู หิน 2. เขตทร่ี าบสูงทางตะวนั ตก เปน ที่ราบกวางใหญ มอี าณาเจต แกรนิตจากทางตะวนั ตกถึงตะวันออก ระหวา งแมนาํ้ วาลกับแมน้าํ ต้งั แตท ะเลทรายซาฮาราถึงอา วกินี เปน เขตหนิ เกา ทีพ่ นื้ ผวิ ลมิ โปโป เรยี กวา เดอะแรนด (The Rand) หรือวติ วอเตอรแรนด ปกคลมุ ดวยหนิ กรวด ปนู ทราย และดินตะกอน ทางตอนใตม ี (Witwatersrand) เปน แหลง ทองคําทส่ี าํ คญั ของโลก สวนบรเิ วณ ทีร่ าบสงู หลายแหง เชน ท่รี าบสงู กนิ ี ทรี่ าบสงู จอส ที่ราบสูง ทส่ี งู ที่สดุ ทางตะวันออก คอื เทอื กเขาดราเคนสเบริ ก เปน ตน แคเมอรนู มที วิ เขาสาํ คญั เชน ทวิ เขาอาฮักการ ตอนใตของ กาํ เนดิ ของแมน าํ้ หลายสาย ทางตอนใตมีลักษณะเปน แอง รปู จาน แอลจีเรีย ทิวเขาทิเบสตใี นชาด สว นทางตะวันตกเปน ทะเลทราย ไดแก ทะเลทรายคาลาฮารี และ ทะเลทรายนามบิ Scan เพ่ืออา น ปญ หาเศรษฐกิจ และสงั คมใน ทวีปแอฟรกิ า 3. เขตท่ีราบลุมแมน า้ํ • ที่ราบลมุ แมน ้าํ ไนล: เปนแมน ํา้ ที่ยาวท่ีสดุ ในทวีปแอฟริกา และยาวทส่ี ุดในโลก พน้ื ทีล่ ุมนา้ํ ไนลสวนใหญอยใู นซูดานและ อียิปต • ท่ีราบลุมแมน ้าํ ไนเจอร: แถบชายฝงแมนาํ้ ในประเทศมาลี ไนเจอร และไนจีเรยี เปน ลกั ษณะท่รี าบลุมกวาง บางตอนเปน ท่ีราบตํ่า มีน้ําขัง ชน้ื แฉะ ไมเหมาะกับการเพาะปลกู • ทีร่ าบลมุ แมน้ําแซมบซี :ี ไดแก ดนิ แดนของประเทศบอตสวานา ซมิ บับเว และโมซมั บกิ • ทร่ี าบลมุ แมน ้าํ คองโก: อยูท างตอนกลางของทวปี ในดนิ แดน ของสาธารณรัฐคองโกและคองโก มีพืน้ ทก่ี วางขวางรองจากทรี่ าบ ลุม แมน ้ําแอมะซอนในทวีปอเมรกิ าใต

แหลง นา้ํ ในทวปี แอฟริกา แมน า้ํ แซมบีซี แอฟรกิ ามีแมน ้ํา 1. แมนํ้า หลายสาย ใชใ น 1.แมนํ้าไนล: เกดิ จากที่สงู ดานตะวันออกของทวปี ไหลผา น การอปุ โภค ยกู ันดา ซูดาน และอยี ปิ ต ลงสทู ะเลเมดิเตอรเ รเนยี น บริโภค คมนาคม ขนสง และผลติ 2.แมนาํ้ คองโก: เกิดจากทสี่ ูงทางตะวนั ตกเฉยี งใตข องทวีป ไหล ผา นแซมเบยี คองโก เซน็ ทรลั แอฟริกา สาธารณรัฐคองโก และ กระแสไฟฟา แองโกลา ลงสูม หาสมทุ รแอตแลนตกิ แมน้ําไนล 3. แมน้าํ ไนเจอร: เกิดจากท่สี งู ทางตะวันตกของทวปี ไหลผานกนิ ี มาลี ไนเจอร และไนจีเรีย ลงสอู าวกินีและมหาสมุทร แมน ้าํ ออเรนจ แอตแลนติก กอใหเกิดนํา้ ทว มบอย จงึ มกี ารสรา งอางเก็บน้าํ เพ่ือแกป ญหาดงั กลา ว 4.แมน้ําแซมบซี :ี เปน แมน า้ํ ทางตะวนั ออกเฉียงใต เกิดจากเขต ภูเขาตะวันออกเฉยี งใต ไหลผานประเทศนามเิ บยี แองโกลา บอตสวานา แซมเบีย ซมิ บับเว และโมซัมบกิ ลงสมู หาสมทุ ร อินเดีย แมนา้ํ ไนเจอร 5. แมน ํ้าออเรนจ: อยูท างตอนใตข องทวีป เกดิ จากเทอื กเขาเคนสเบริ ก ไหลผา นเซาทแอฟรกิ า ลงสูมหาสมุทรแอตแลนติก 6. แมน้าํ ลมิ โปโป: อยทู างตอนใตข องทวีป ไหลผานบอตสวานา ซัมบับเว และโมซัมบิก ลงสูม หาสมทุ รอินเดยี 2. ทะเลสาบนํ้าจืด ทะเลสาบมาลาวใี นประเทศมาลาวี โมซมั บิก และแทนซาเนีย แอฟริกามีทะเลสาบนา้ํ จดื ท่สี าํ คัญไดแ ก ทะเลสาบวคิ ตอเรียใน แทนซาเนยี และยกู นั ดา มขี นาดใหญเปนอนั ดบั สองรองจากทะเลสาบ ซุพเี รยี รใ นอเมรกิ าเหนอื ทะเลสาบแทนกันยกิ าในคองโกและ แทนซาเนยี และทะเลสาบมาลาวใี นประเทศมาลาวี โมซมั บิก และ แทนซาเนีย

พ้ืนท่ี 3 ใน 4 ของ แอฟริกาอยใู นเขต รอน สวน 1 ใน 4 อยใู นเขตอบอุน ภมู อิ ากาศ ปจ จัยท่มี ีอทิ ธิพลตอ สภาพภูมิอากาศ 1.ที่ต้ัง: เน้อื ท่ตี ั้งอยูใ นเขตรอ นเปน สว นใหญ 2.ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ: 2 ใน 3 ของทวปี เปน ทร่ี าบสูง เปนทวีปที่มีรูปรางไมเวาแหวงมาก จงึ มอี าวและคาบสมทุ รนอย 3.กระแสนํ้า: ทางตอนเหนือบรเิ วณชายฝง ตะวันตกเฉยี งเหนอื ในเขตชายฝง ของ โมรอ็ กโกและดนิ แดนเวสเทิรน สะฮารามี กระแสนํา้ เยน็ คะเนรไี หลผาน สวนชายฝง ตะวันตกเฉยี งใตของเซาทแอฟริกาและนาม-ิ เบียมีกระแสนํา้ เยน็ เบงเกวลาไหลผาน ทําใหดนิ แดนในตะวันตกเฉยี งเหนือและตะวันตกเฉยี งใตมอี ากาศแหง แลง ฝนตกนอ ย สว นชายฝง ทางตอนใตของโมซมั บิกและ ตะวนั ออกเฉยี งใตของเซาทแ อฟรกิ า มีกระแสนํา้ อุนโมซัมบกิ ไหลผาน ทําใหอ ากาศอบอนุ และมีความชื้นสงู 4. ทิศทางลม: • ลมคาตะวันออกเฉยี งเหนือ นําความรอ น ความแหง แลงจากทะเลทรายในคาบสมทุ ร อาหรบั มาสตู อนเหนอื ของทวปี แอฟรกิ า • ลมคา ตะวนั ออกเฉยี งใต: นําความชมุ ชืน้ จาก มหาสมุทรอินเดยี เขา มาทาํ ใหบริเวณชายฝง ตะวันออกเฉียงใตมฝี นตกชกุ ***ลมคา คอื ลมประจาํ ปท ่พี ัดจากทศิ ตะวันออกไปทิศตะวนั ตก เปนลมที่พัดอยูท ่วั ไปในบริเวณเสนศูนยส ูตรของโลก

ปจจยั ทม่ี ี อทิ ธพิ ลตอ สภาพภมู ิ อากาศของ ทวปี แอฟริกา Question? สภาพอากาศมีผลตอ ลักษณะพืชพรรณ ธรรมชาติ อยางไรบา ง? เขตภมู อิ ากาศและลกั ษณะพืชพรรณธรรมชาติ 1 แถบศนู ยส ตู ร ลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาติ: ตนไมม ี ลาํ ตน สูงใหญ มีใบเขียวชะอุมตลอดป มี พชื ชัน้ ลาง เชน บอน เฟรน หวาย

เขตภมู ิอากาศและลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาติ 2 แบบอบอนุ ชนื้ 3 แบบที่สงู 4 แบบเมดเิ ตอรเรเนียน ลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาติ: เปน ปาไม ลกั ษณะพืชพรรณธรรมชาต:ิ มไี มเขตรอน ลกั ษณะพืชพรรณธรรมชาต:ิ เปนพชื ใบกวา ง พบท้ังไมผ ลัดใบและไมผลัดใบ บริเวณเชิงเขาและท่ีราบสูง บริเวณท่ีอยสู งู ใบแข็ง มสี เี ขยี วมนั รวมถึงไมพ มุ และไม ไมพุม บางแหงมที งุ หญา พชื พรรณ ข้นึ ไปมไี มสกลุ สนและตน ไมจะนอ ยลงจนถงึ หนามที่ทนสภาพก่ึงแลงไดดี เชน คอรก ธรรมชาตไิ ดแ ก เมเปล สน และบชี เสนขอบหิมะ มหี ิมะปกคลมุ ตลอดป โอก มะกอก สม 5 แบบสะวันนา ลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาต:ิ เปนทุงหญาเขตรอน มีตนไมแบบพุม ประปราย เปน ปา โปรงสลบั กบั ทุง หญา สงู พชื ท่พี บ เชน ปาลม อะเคเซีย เบาบับ

เขตภูมอิ ากาศและลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ 6 แบบทะเลทราย 7 แบบกึ่งทะเลทราย ลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาติ: พืชทะเลทราย พบกระบองเพชร ลกั ษณะพชื พรรณธรรมชาต:ิ เปน ทุง หญาส้ันๆ มี ไมพ ุม และไมห นาม ตนไมขึ้นนอย มักเปนพืชใบมันเลก็ หรือพชื หนาม NOTE …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………

ดนิ ในแอฟริกาไม ทรพั ยากรธรรมชาติ คอยอุดมสมบรู ณ เพราะมกี ารชะลา ง ดนิ บรเิ วณท่ีดินอดุ มสมบรู ณสวนใหญอยใู นแถบลุม นํ้าตา งๆ ซง่ึ สามารถ พังทลายสงู ใชเ พาะปลูกพืชได โดยดนิ ในแตล ะภมู ิภาคมีลักษณะตา งๆ ดังน้ี ดนิ ในภมู ภิ าคแอฟริกาเหนอื : ในเขตเมดเิ ตอรเรเนยี น ดินมีฮวิ มัสผสมอยนู อ ยเพราะมพี ืช พรรณธรรมชาตมิ นี อย กระบวนการทางเคมเี ช่อื งชา หนาดินบาง แตม ีระบบชลประทานท่ี ดี ปลกู ผลไมชนดิ ตา งๆ ได เชน องุน ในอยี ปิ ต สม สวนดนิ เขตแหงแลง ทส่ี ลายตัวจาก หินดินดาน ชั้นดนิ ไมช ัดเจน ไมเหมาะกบั การปลกู พชื ดนิ ในภมู ภิ าคแอฟริกาตะวันตก: ดนิ ในเขตแหงแลงตอนเหนอื ของภมู ิภาค สลายตวั จากหินดนิ ดาน ชนั้ ดินไมชัดเจน ไมเ หมาะกบั การปลกู พชื แตทางตอนกลางถงึ ใตข องภมู ภิ าค พบดนิ ในกลุมดนิ ดาํ ท่มี ีฮวิ มสั อยูสงู มาก ใชใ นการปลูกพืชไดดี เชน ขา วโพด ขาว เจา ปาลมนํา้ มัน รวมถึงเปนทงุ หญาเล้ียงสัตว เชน เขตดินดําในทรี่ าบอกั กราในประเทศกานาและบริเวณตอนกลางของลุม แมนํา้ ไนเจอร ดนิ ในภมู ิภาคแอฟริกากลาง: ทางตอนบนอยูในเขตรอนชืน้ แถบศนู ยส ูตร ดินสวนใหญ เปน ดินในเขตปาดบิ ชื้นหรือเขตปาฝนเขตรอน เปน ดินแดงเขตทรอปก และดินศลิ าแลง ไมเหมาะแกการปลูกพชื สว นดนิ ทางตอนใตของภูมิภาคเปนดนิ เขตท่ีสูง ในเขตสะวนั นา ทุงหญาเตบิ โตไดด ี จึงเปน ทงุ หญาสาํ หรับเลี้ยงสัตวท ่ีสาํ คญั ดนิ ในภมู ภิ าคแอฟรกิ าใต: ใตส ดุ ของภูมภิ าคเปนดนิ แบบเดยี วกับดินในเขตเมดเิ ตอรเ รเนียน ใชเ พาะปลูกผลไมตางๆ ในเซาทแ อฟรกิ ามีเขตดินภเู ขาไฟใชป ลูกขา วโพด ยาสูบ และผลไม ตา งๆ เปน แฟลง ทงุ หญาเลยี้ งสัตว สว นทางตอนกลางและทางตะวันตกเปนเขตดนิ ทรายและ ดนิ ในเขตแหง แลง ทีม่ ฮี ิวมัสอยนู อยมากและมกั มีเกลือสะสมในดิน ดนิ ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันออก: ตอนเหนือของภมู ิภาคเปน ดินในเขตแหงแลง ดนิ ตอนกลางถึงตอนใตเ ปน ดินในเขตทส่ี ูงและ ที่ราบสงู ทีม่ คี วามอดุ มสมบรู ณน อ ย มอี นุภาคดินเหนยี วมาก เมือ่ หดตวั จะแตกระแหงงา ย มที งุ หญา ตามธรรมชาติ เจรญิ เติบโตได ดี ใชสาํ หรบั เลย้ี งสตั ว สวนดนิ ท่อี ดุ มสมบรู ณอยูบ รเิ วณรมิ ชายฝง ของแมน ้าํ ไวตไนล (ตน กําเนิดแมน ้ําไนล) และดินแดนใน ซมิ บบั เวและแซมเบยี เปน ดินกลุมดินดาํ มีฮวิ มสั มาก ปลกู พืชไดด ี

สตั วปา ทวีปแอฟรกิ า มีความหลากหลายของสัตวปามาก แต Scan เพ่อื ดูการลาสัตวแ บบ ปจจบุ นั จาํ นวนสตั วปาลดลงเนือ่ งจากการลาสตั วข องชนพ้ืนเมอื ง ถูกกฎหมายในแอฟริกา และนักทอ งเทย่ี ว เขตไมพ มุ และทงุ หญาของทุกภมู ิภาคเปนทีอ่ ยู อาศยั ของสตั วเ ลยี้ งลูกดว ยนมหลายชนดิ เขน ควายแอฟรกิ า การตนู แอนเิ มชน่ั เรือ่ ง มาดากัสการ ละมงั่ ยีราฟ ฮปิ โปโปเตมสั แรด ชางแอฟริกา สิงโต เสอื สุนขั ตวั ลเี มอร ปา แมวปา ไฮยีนา พงั พอน สนุ ขั จิ้งจอก และยงั มีลิงมากกวา 45 ชนิด เชน ชิมแปนซี กอรลิ ลา (ลิงท่ขี นาดใหญท ่ีสุดในโลก) สว น เกาะมาดากัสการ ทางแอฟริกาตะวนั ออก เปนท่ีอยูอ าศยั ของตวั ลเี มอร และตวั ตนุ หรือหนผู แี อฟริกา ตอนใตของทะเลทรายสะฮารามนี กอาศยั อยูมากกวา 1,500 ชนดิ นกที่สาํ คญั ไดแก นกกระจอกเทศ นกกระสายักษ นก อินทรี เหย่ียว นกเคา แมว นกกระจอกเทศ นกกระสายักษ

สตั วป า ในแหลง นํ้าจดื ท้ังแมน้ําและทะเลสาบ พบปลาหลาก หลายชนิด เชน ปลาหมอสีตา งๆ ปลาลังและปลาเพริ ชในแมน้ํา ไนล ตามแนวชายฝงทะเลทางตะวันออกของภูมภิ าคแอฟรกิ า ตะวันออกเปน แหลง แนวปะการัง แหลง ปลาชกุ ชุม คือ บริเวณ ท่ีกระแสนํา้ เยน็ เบงเกวลาและบรเิ วณท่กี ระแสนํา้ เย็นคะเนรี ไหลผาน มปี ลาท่สี าํ คญั เชน ปลาทูนา ปลาซารด นี นานนํ้าทาง ตอนใตในเขตเมดิเตอรเ รเนยี นของประเทศเซาทแอฟริกา มี สัตวเ ลี้ยงนมดวยนม เชน โลมา พะยนู วาฬ พะยนู ใชชวี ิตสวนใหญอยูไมห างจากบริเวณทม่ี ี แหลงหญาทะเลหนาแนนและกวางใหญเ พียงพอ พะยนู จงึ เปน ดัชนีบง ชี้ความอดุ มสมบรู ณของระบบ นเิ วศหญาทะเลไดเ ปน อยางดี ในแหลง นาํ้ เกือบทกุ ภูมิภาค มีสัตวเล้ือยคลานอยเู ปนจํานวนมาก เชน จระเข เตา งู สว นบนเกาะมาดากสั การใ น แอฟริกาตะวันออกเปนทอี่ ยอู าศัยของก้ิงกาอิกวั นา และงเู หลอื ม ทางตะวันเฉยี งเหนอื เปน แหลง ท่อี ยขู องซาลาแมนเดอรและ กบตนไม สวนในแคเมอรนู ภมู ิภาคแอฟรกิ ากลาง มีกบหลากหลายชนิด นอกจากน้ี ในแอฟริกายงั มแี มลงชนิดตางๆ เชน ผีเส้อื มด แมงมุม แมงปอง ยุง และแมลงมพี ษิ โดยเฉพาะในเขตทรอ ปกภมู ิภาคแอฟริกาตะวันตกและแอฟรกิ ากลาง ซึ่งเปน เขตปา ฝนเขตรอน จระเขแมน ้าํ ไนล เตาซคู าตา มถี ิ่นกาํ เนดิ ทปี่ ระเทศเซเนกลั ซูดาน เอธิโอเปย

แหลงแรในทวีปแอฟริกา แผนทีแ่ สดงแหลงแรใ น ทวปี แอฟรกิ า แรใ นทวปี แอฟริกา มหี ลากหลายชนิด แรทเ่ี ปนสินคา สงออกสําคัญ ไดแ ก • ถานหิน: พบมากในประเทศเซาทแ อฟรกิ า ซ่งึ เปนแหลงถานหนิ ท่ีสาํ คญั ทสี่ ุด นอกจากนี้ยงั พบในซิมบับเว แซมเบยี และโซมาเลยี • ทองแดง: พบมากในประเทศคองโก นอกจากน้ยี ังพบในแซมเบยี และเซาทแอฟรกิ า • เหล็ก: พบมากในท่รี าบสงู มาลาวี ประเทศมาลาวี นอกจากนี้ยังพบในซัมบบั เว เซาทแอฟริกา ไลบีเรีย กนิ ี มอริเตเนีย ตนู เิ ซีย และ โมร็อกโก • ทองคาํ : พบมากในประเทศเซาทแ อฟรกิ า นอกจากนย้ี งั พบในประเทศซมั บับเว กานา และคองโก • เพชร: พบมากในประเทศเซาทแ อฟรกิ า นอกจากนยี้ ังพบในประเทศคองโก นามเิ บีย ไลบีเรีย บอตสวานา โกตดอววั ร แองโกลา แอฟริกากลาง และกานา

แหลง พลังงานในทวีปแอฟริกา การขุดเจาะนาํ้ มนั ในประเทศไนจีเรยี การขุดเจาะน้าํ มนั ในประเทศลิเบยี แผนทแ่ี สดงแหลง พลังงานทสี่ าํ คญั ในทวปี แอฟรกิ า พลังงานในภมู ภิ าคแอฟริกาเหนือ มแี หลง นา้ํ มนั กาซธรรมชาตมิ ากในเขตทะเล ทรายสะฮารา ผลิตไดม ากในแอลจีเรีย ลิเบีย และอียิปต มกี ารผลิตกระแสไฟฟา จากพลงั งาน น้าํ โดยมเี ขือ่ นสาํ คญั คือ เขือ่ นอสั วานบนแมน าํ้ ไนล ประเทศอียปิ ต ผลติ พลงั งานแสงอาทิตยใน โมรอ็ กโก และแอลจเี รยี การใชพลังงานลมผลิต กระแสไฟฟา ในโมร็อกโกและอยี ปิ ต ผลติ พลงั งานนิวเคลยี รในอียปิ ต โมร็อกโก และ แอลจีเรยี พลังงานในภูมภิ าคแอฟริกาใต มแี หลงถานหนิ มากในประเทศเซาทแ อฟริกา และนามิเบีย โดยเซาทแ อฟริกาผลติ พลงั งานได มากท่ีสุดและผลติ ไดห ลายชนดิ ทง้ั พลงั งานจาก ถานหิน น้ํา ลม แสงอาทติ ย และนิวเคลยี ร เข่ือนอสั วาน ในประเทศอียปิ ต

เขอ่ื นอะโกซอมโบ เข่อื นอะโกซอมโบ ในประเทศกานา ในประเทศกานา ใชส าํ หรบั ผลิต กระแสไฟฟา พลงั งานในภูมิภาคแอฟริกาตะวนั ตก พลังงานในภมู ภิ าคแอฟริกาตะวนั ออก ใชพลังงานนํ้าผลิตกระแสไฟฟา ไดม าก ในประเทศ สวนใหญผลิตพลงั งานไดน อ ย สวนใหญเปน ไนจเี รยี ผลติ น้าํ มันและกาซธรรมชาติไดม ากทส่ี ดุ ในภูมิภาค พลังงานน้ํา มีเขอื่ นผลติ กระแสไฟฟาทีส่ าํ คญั จากพลัง แหลงถา นหนิ มาก นอกจากน้ี ยังมกี ารผลิตพลังงาน น้าํ คอื เขอื่ นคารบี า บนแมนา้ํ แซมบีซี ทพี่ รมแดน นิวเคลยี รม ากในประเทศเซเนกัลและกานา ระหวา งประเทศแซมเบยี และซิมบับเว สว นในเคนยา ผลติ ไดท ั้งพลงั งานนวิ เคลยี ร พลังงานลม และพลังงาน พลังงานในภมู ิภาคแอฟริกากลาง ความรอนใตพภิ พ มีแหลงถานหนิ ท่ีสําคญั ในแทนซาเนยี และซมิ บบั เว พลงั งานท่สี าํ คญั คอื นา้ํ มนั กา ซธรรมชาติ และพลงั งานนํา้ โดย น้ํามนั และกา ซธรรมชาตพิ บมากในประเทศกาบองและแองโกลา มี แหลง ถา นหนิ ในสาธารณรัฐคองโก ประเทศในภมู ภิ าคนี้ผลติ กระแส ไฟฟาจากพลังงานหมุนเวยี นไดนอยกวา 5 กโิ ลวตั ตตอ ช่ัวโมง ซึง่ นอ ยมากกวาภูมิภาคอืน่ ๆ ลักษณะทางประชากร สังคม และวัฒนธรรม ประเทศไนจีเรยี คอื ประเศในทวีปแอฟรกิ าทม่ี ีจาํ นวนประชากรมากท่ีสดุ ประมาณ 195.9 ลานคน (พ.ศ. 2561) แอฟริกาเปนทวปี ทม่ี ีอัตราการเกดิ สงู อตั ราการตาย คอื มกี ารเพม่ิ ข้ึนของประชากรสูง ทําใหป ระชากรในวัยแรงงาน ตอ งรับภาระเลี้ยงดูประชากรวัยพึ่งพิง ท้งั วัยเด็กและวัยชราเปน จํานวนมาก โดยเฉพาะในไนจเี รยี คองโก เอธโิ อเปย อียปิ ต และยกู ันดา สงผลใหประชากร ตองแสวงหาทดี่ ินทํากินมากขึ้น เนอ่ื งจากประเทศเหลาน้ี เปนประเทศขนาด เล็ก มีทรพั ยากรธรรมชาติไมมากนกั มีความกา วหนาทางเทคโนโลยคี อนขา งตา่ํ และขาดศักยภาพในการผลติ สนิ คาอุตสาหกรรม

ประชากร เชอ้ื ชาติ และกลมุ ประชากร แบงออกเปน 2 กลมุ คือ กลุม กลุมประชากร ทวปี แอฟรกิ า: กลมุ นิกรอยด นกิ รอยด กับ กลมุ คอเคซอยด เปนชนกลมุ ใหญข องทวีปแอฟรกิ า มีผวิ ดํา ผมสดี าํ หยกิ ตดิ หนังศีรษะ ริม ฝป ากหนา กะโหลกศีรษะยาว เปนเผา พันธุพ้นื เมอื งด้งั เดมิ ของทวปี แอฟรกิ า มหี ลายหลมุ แตละกลุมมลี ักษณะตางกนั โดยแยกยอ ยออกเปน 3 กลุม ดงั นี้ ชาวชนเผาซูลู • กลมุ บันตู: เปนชนเผาทใ่ี หญท่ีสดุ ในทวปี ชาวซูดานนิโกร แอฟริกา มีรปู รางสงู ใหญ อาศัยอยบู ริเวณ แอฟรกิ าตะวันออก แอฟรกิ าตะวนั ตก แอฟริกากลาง และแอฟรกิ าใต กลมุ บนั ตแู บงออก เปน หลายเผา เชน เผา คิคูยู เผาวาตูซี เผา มาไซ เผาซูลู • กลุมซดู านนิโกร: มีรูปรางสงู ใหญ อาศัยอยู บริเวณแอฟรกิ าตะวันตก ชายฝง อา วกนิ ี ชาวบชุ เมน • กลุมปก มี บุชเมน และฮอตเทนทอต: อาศัยอยู เปนกลุมเลก็ ๆ เชน ปก มีอาศยั อยบู รเิ วณลุมนํา้ คองโก บุชเมน และฮอตเทนทอตอาศยั อยบู รเิ วณ กลมุ ประชากร ทวีปแอฟรกิ า: ทะเลทรายคาลาฮารี กลมุ คอเคซอยด ชนผวิ ขาวดงั้ เดมิ ชนผวิ ขาวจากยุโรป Scan เพอ่ื อา นความขดั แยงทาง ชาติพันธุใ นแอฟรกิ า ชนผวิ ขาวดั้งเดิม ไดแ ก ชาวอาหรบั เปน ชาวผิวขาวทอ่ี พยพเขา มา และชาวเบอรเ บอร รูปรางสงู ผมหยิก สว นใหญตง้ั ถิ่นฐานอยทู างตอนเหนือ เปน ลอน รมิ ฝป ากบาง จมกู โดง สว น และตอนใตของทวีป ใหญอาศยั อยทู างตอนเหนอื ของทวีป บรเิ วณชายฝง ทะเลเมดเิ ตอรเรเนียน เชน อยี ปิ ต โมรอ็ กโก

Scan เพอื่ เขา สู เวบ็ ไซต the people ภาษา แผน ี่ทแสดงก ุลมภาษาทางการ ่ีท ใ ชในท ีวปแอฟ ิรกา (ค.ศ. 2011) ทวีปแอฟรกิ ามีภาษาพดู เกอื บ 1,000 ภาษา แบง ศาสนา เปน 4 กลุม คือ กลุม ภาษาเซมติ ิก กลมุ ภาษาซดู าน กลุม ภาษาบันตู และกลุม ภาษาเฮาซา โดยแตละภูมภิ าค ประชากรสว นใหญย งั คงมีความเชอื่ ดัง้ เดมิ ท่ีสบื ทอดในชนเผา ศาสนาที่ มกี ารใชภ าษาทต่ี า งกัน ดังนี้ นับถอื กันมาก คือ ศาสนาครสิ ต รองลงมาคอื อิสลาม พราหมณ-ฮนิ ดู ยู • แอฟรกิ าเหนือ: สวนใหญใ ชกลมุ ภาษาเซมิตกิ ไดแ ก ดาห ภาษาอาหรับ มีการใชภาษาของชาวยุโรป อดีตเจา อาณานิคม เชน ภาษาอังกฤษ ฝร่งั เศส และดตั ซ • แอฟริกาตะวันตก: สวนใหญเปน กลมุ ภาษาเฮาซา เปน ภาษาทางการคาของประชากรในพืน้ ที่ นอกจากนม้ี กี าร ใชภ าษาซดู าน ในเขตซาเฮล ทางตอนใตข องทะเลทราย สะฮารา • แอฟริกากลาง: สวนใหญใ ชภาษากลมุ บันตู • แอฟรกิ าตะวนั ออก: สวนใหญใชภ าษากลุมบนั ตู เชน ภาษาซูลู สวาฮลิ ี และมีการใชก ลมุ ภาษาซูดานในหลาย ประเทศ • แอฟรกิ าใต: สวนใหญใชภาษากลมุ บนั ตู และกลมุ ภาษาเซมติ กิ ของชาวยโุ รป

การกระจายของประชากร แผนที่การ กระจายและ • ความหนาแนน ของประชากร ความแนน ของ ประชากร จากแผนที่ จะเห็นวา การกระจายของประชากรในทวีปแอฟริกาพจิ ารณาไดจากบริเวณทีม่ ีนํา้ ในผวิ ดนิ มคี วามช้ืนในอากาศ คอื บรเิ วณลุมแมนาํ้ สายสาํ คัญสายใหญๆ บริเวณชายฝง ทะเลทร่ี บั ลมมรสมุ บรเิ วณรอบทะเลสาบท่ีมนี ้ําตลอดป

ลกั ษณะทางกายภาพท่สี งผลตอ การกระจายของประชากร 1.บรเิ วณปากนํ้าของลมุ น้ําสําคญั มีประชากรหนาแนน เมอื งเศรษฐกจิ การคา เนือ่ งจากความอุดมสมบรู ณข องแหลงน้ํา มีดินเหมาะ ในเมอื งกินชาซา ประเทศคองโก แกการเพาะปลกู ไดแ ก แมน ้ําไนล แมนํา้ ไนเจอร และ แมน้ําคองโก 2. บริเวณชายฝงเขตอบอนุ ประชากรหนาแนน เพราะ อากาศอบอนุ แบบเมดเิ ตอรเรเนยี น ไมร อนจดั และไดร บั ความช้นื จากทะเล จึงเหมาะแกการเพาะปลูกพชื ไดแ ก ชายฝง ตะวันตกเฉียงเหนอื ของทวปี บรเิ วณประเทศ โมร็อกโก แอลจเี รยี ตนู ิเซยี และบริเวณคาบสมุทรภาค ใตข องทวีปบริเวณเขตแอฟรกิ าใต 3.บรเิ วณท่ีราบสงู ภาคตะวันออก รอบทะเลสาบ วคิ ตอเรียและทะเลสาบแทนกันยีกา อากาศไมร อนจัด มที งุ หญาเหมาะแกการเลย้ี งสตั ว ไดแ ก บรเิ วณ เอธิโอเปย เมอื งลากอส ประเทศไนจเี รยี Scan เพอ่ื ดพู รี ะมิด 4. บริเวณเมืองยา นเศรษฐกิจและเมืองทา ประชากรหนาแนน ประชากรทวีปแอฟรกิ าใน เพราะอพยพยา ยถืน่ ฐานเขา มาทาํ งานในเขตเศรษฐกจิ เชน เมอื งเศรษฐกิจการคา กรุงกนิ ชาซา ประเทศคองโก เมืองทา เวบ็ ไซต ชายฝงอาวกนิ ี เมืองลากอส ประเทศไนจีเรีย Populationpyramid 5. บริเวณเขตแหง แลง ประชากรเบาบางเนือ่ งจากเปน บริเวณ ทีท่ รุ กนั ดาร อากาศรอนจัด มพี ายทุ ะเลทราย ขาดแคลนนํ้า และเปนอุปสรรคตอ การดาํ รงชวี ิต ไดแ ก บรเิ วณทะเลทรายสะ ฮารา ทะเลทรายคาลาฮารี ทะเลทรายนามิบ 6. บรเิ วณเขตปาดิบช้ืน เชน บริเวณลมุ แมน้าํ คองโก ประชากรอาศยั อยูเ บาบาง เน่ืองจาก ฝนชกุ ตลอดป พน้ื ท่ชี ื้น แฉะ เต็มไปดว ยโรคภยั ไขเจบ็ เชน มาลาเรยี เหงาหลบั

การกระจายของประชากร การยา ยถนิ่ ฐานมี สาเหตจุ ากปญหา • การยายถ่นิ เศรษฐกิจ ทวีปแอฟรกิ ามกี ารยายถนิ่ ฐานในอัตราท่ีสูงมากกวา อตั ราการยายเขา โดยประเทศจบิ ูตีมี การเมอื ง และ อัตราการยายเขา สทุ ธิ 6 ตอ ประชากร 1,000 คน เปน อตั ราที่ยายเขา มากทสี่ ุด และประเทศ เอรเิ ทรียมีอตั รายา ยออกสูงทีส่ ดุ คอื ยายออก 14 ตอ ประชากร 1,000 คน สงคราม เศรษฐกิจ การเพาะปลกู สว นใหญใชวธิ ีเพาะปลูกแบบดง้ั เดมิ ใชแรงคนและแรง สตั วเปนหลกั ไดผ ลผลติ นอยไมเพียงพอตอความตองการใน ทวปี จงึ จําเปนตอ งนําเขา จากพ้ืนทอี่ ่ืนของโลก ปจจุบัน ประชากรของหลายประเทศไดนาํ เครอ่ื งจกั รเขามาชวยใน การเพาะปลูกมากขนึ้ ชวนอา นสาระนารู Scan โลด!!! แผนทแี่ สดงตาํ แหนงเขตเกษตรกรรมท่ีสําคัญ ของทวปี แอฟรกิ า

กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของแตละภูมิภาค ภมู ิภาคแอฟรกิ าเหนอื ภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก ภมู ิภาคแอฟรกิ าตะวันออก • การเพาะปลูก: บรเิ วณชายฝง ทะเล • การเพาะปลกู : พชื เศรษฐกิจหลกั ที่ • การเพาะปลูก: ตอนใตข องภมู ภิ าค เมดิเตอรเ รเนียนไดรบั อทิ ธพิ ล สาํ คัญ ไดแก ฝาย โกโก กาแฟ อยูในเขตอากาศรอนช้ืน ถึงเพาะปลูก ความชื้นจากทะเล ทาํ ใหเพาะปลกู ได ยางพารา ขาวโพด ขาวฟา ง และ พืชไดต ลอดป พืชสําคัญไดแ ก กาแฟ เชน ซูดานมพี ืชเศรษฐกจิ สําคญั คือ ปาลม น้าํ มนั ชา ผลไมส กุลสม มะมว งหิมพานต เมล็ดทานตะวนั ขาวฟาง งา ตูนเิ ซยี มี ฝา ย และยาสบู มะกอก สม ธญั พืช อินทผลมั ใน • การเลีย้ งสัตว: สตั วเ ศรษฐกิจ อยี ปิ ตมีขาวสาลี ปาน ฝา ย ขาวโพด ไดแ ก โคเนอื้ และโคนมพนั ธตุ าง • การเล้ียงสตั ว: พน้ื ที่สวนใหญเปน สว นในลเิ บียมขี าวสาลี องุน ผลไม ประเทศ มกี ารเลีย้ งแพะและแกะ ทุง หญา เหมาะแกการเล้ยี งสัตว สตั ว ตระกลู สม แบบเรร อ น สาํ คัญไดแก โคเนือ้ แพะ แกะ เล้ยี ง แบบเรรอน • การเล้ยี งสัตว: สว นใหญเล้ยี งแบบ • การทาํ ประมง: มใี นประเทศทม่ี ี ปลอยใหส ัตวหากนิ ในทุงหญา ตาม อาณาเขตตดิ กบั มหาสมทุ ร • การทาํ ประมง: แหลง ประมงท่ี ธรรมชาติ สัตวท น่ี ยิ มเล้ยี ง ไดแ ก แอตแลนติก เชน มอริเตเนีย เซเนกัล สาํ คัญอยบู รเิ วณติดมหาสมุทรอินเดีย แพะ โคเนอื้ แกะ ไนจเี รยี ไลบีเรยี โกตดวิ ัวร ปลาที่ เชน โซมาเลีย เคนยา แทนซาเนีย สําคญั ไดแ ก ปลาทนู า ซารดนี แม็ก โมซัมบกิ คอโมโรส มอริเชยี ส • การทําประมง: แหลงประมงท่ี คอเรล สําคญั อยบู รเิ วณทะเล เมดิเตอรเรเนยี น ประเทศท่ีทําประมง ไดม ากคือ โมรอ็ กโก

ภมู ภิ าคแอฟริกากลาง • การเพาะปลูก: แหลง เพาะปลกู สาํ คญั อยบู ริเวณ ชายฝง ตะวนั ตกบรเิ วณอา วกนิ ี พชื สาํ คัญ ไดแ ก กาแฟ โกโก กลว ยหอม ปาลม นํา้ มนั ฝาย และมีการทาํ ปาไม ในเขตลมุ แมน ํ้าคองโก • การเล้ียงสัตว: กระจายทั่วภูมิภาค เลี้ยงแบบเรรอน สตั วส ําคัญ ไดแก โค แพะ แกะ ไก • การทําประมง: อยูบ รเิ วณชายฝง อา วกินี ประเทศท่ีมี ชายฝง ตดิ ทะเลทกุ ประเทศ มกี ารทําประมงนาํ้ เคม็ เชน ประเทศแคมเมอรนู อิเควทอเรยี ลกินี สาธารณรฐั คองโก คองโก แองโกลา เซาตเู มและปรนิ ซปิ  ความรเู พม่ิ เตมิ • ตกั๊ แตนทะเลทรายเปนตก๊ั แตนท่ีอพยพเปน กลมุ ใหญ เพิม่ ภมู ิภาคแอฟริกาใต จาํ นวนไดอ ยางรวดเร็ว สามารถกินพืชไดห ลายชนดิ เชน ขาว ขา วโพด ขา วฟา ง ขา วบารเ ลย ออย หญา เล้ียงสัตว ฝา ย ไมผล • การเพาะปลูก: ประเทศขนาดเลก็ มีการทําเกษตรกรรมเพ่ือ พชื ผัก และวัชพืช โดยกินไดทุกสวนของพืช และสามารถกิน ยงั ชีพ เชน ประเทศเลโซโท เอสวาตนิ ี สว นในประเทศเซาท อาหารไดตลอดอายุไข ในแอฟริกาประสบปญหาต้กั แตนเขา แอฟริกามีท้งั การเกษตรแบบยงั ชพี และการเกษตรเชิงพาณิชย ทาํ ลายไรการเกษตรอยา งหนกั แตในประเทศไทยนน้ั โอกาสท่ี เนอื่ งจากดินมคี ณุ ภาพสูง ระบบชลประทานดี โดยผลติ ขา วโพดได ตก๊ั แตนจะแพรระบาดเขามาถงึ ประเทศไทยมนี อยมาก มากท่สี ดุ (ใชบ ริโภคและเลีย้ งสัตว) พืชเศรษฐกิจสําคญั ไดแ ก ขา ว เนือ่ งจากสภาพภมู อิ ากาศท่ีรอนชนื้ ของประเทศไทยไมเ หมาะ สาลี ออ ย เมล็ดทานตะวัน สม และองนุ สมกับการดํารงชีวติ และการตง้ั รกรากเพ่ือขยายพนั ธขุ องแมลง ชนดิ น้ี ซึง่ ชอบสภาพอากาศแหง แลงแบบทะเลทราย รวมท้งั • การทาํ ประมง: ประเทศท่ีทาํ ประมงไดมากทีส่ ุดคือ ประเทศนามเิ บยี กระแสลมตะวนั ออกจะพัดพาต๊กั แตนใหบินไปทิศตะวนั ตก และเซาทแ อฟรกิ า มากกวาทจ่ี ะมาถงึ ไทย • การเลีย้ งสัตว: สัตวเ ศรษฐกจิ ทส่ี าํ คญั ไดแ ก โคเน้ือ โคนม แพะ แกะ และไก ในประเทศเซาทแ อฟรกิ ามีการเลีย้ งสัตวร ูปแบบฟารม ขนาดใหญ มีระบบการจดั การท่ดี ี เจา ของพน้ื ทีส่ ว นใหญเปน ชนผวิ ขาว สวนการเลี้ยงสัตวข องชาวพนื้ เมืองจะเลยี้ งแบบเรร อนไปตาม แหลง อาหาร

อตุ สาหกรรมและการทอ งเทีย่ ว ภูมิภาคแอฟรกิ าเหนอื เศรษฐกิจดี เพราะเปนแหลง ทรพั ยากร พวกนํ้ามนั แกส ธรรมชาติ แรต า งๆ เชน ฟอสเฟต เหลก็ ทองคํา มอี ตุ สาหกรรมปโ ตรเลียมและแกสธรรมชาติในแอลจเี รีย ตูนเิ ซีย ลิเบีย อยี ิปต และซดู าน อุตสาหกรรมเหมอื งแรในฟอสเฟตในตนู ิเซยี โมร็อกโก และ อียปิ ต อุตสาหกรรมส่ิงทอในลิเบยี ตนู ิเซยี และอียิปต สถานที่ทองเท่ยี วสําคัญ เชน เมือง คาซาบลังกา ในโมรอ็ กโก พรี ะมิดแหง กีซา มหาวหิ ารอาบูซมิ เบล ในอียิปต ภมู ิภาคแอฟริกาตะวนั ตก ภมู ิภาคแอฟรกิ าตะวันออก อุตสาหกรรมแรแ ละพลังงานมีความสําคัญ เชน อตุ สาหกรรม น้าํ มนั ในไนจเี รีย มอริเตเนยี กานา กนิ -ี บสิ เซา อตุ สาหกรรมแร อตุ สาหกรรมเก่ยี วกับการแปรรปู ฟอสเฟตในเซเนกลั มาลี โตโก สถานทีท่ องเท่ียว เชน ทะเลสาบสี ผลผลิตทางการเกษตรและ ชมพเู ร็ตบา ประเทศเซเนกัล พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ ประเทศ อตุ สาหกรรมเกย่ี วกับเหมอื งแร เชน กานา รเิ ชทแหงมอรเิ ตเนยี หรือดวงตาแหงซาฮารา ประเทศ เหมอื งแรท อง เพชร และเหลก็ ใน มอริเตเนีย แทนซาเนยี อุตสาหกรรมถลุงและ แปรรูปทองแดง ในแซมเบยี เคนยา สถานทีท่ อ งเท่ียว เชน อทุ ยานแหง ชาติมาไซมารา ประเทศเคนยา ซิมบับเว และยูกนั ดา อตุ สาหกรรม อุทยานแหง ชาติทะเลสาบมาลาวี นํ้าตกวิกตอเรีย ประเทศแซมเบีย ปโ ตรเลยี ม ในโมซัมบิก เซาทซ ูดาน อุทยานแหง ชาติเซเรงกิติ ประเทศแทนซาเนีย และเคนยา ทะเลสาบเร็ตบา น้าํ ตกวิกตอเรีย ประเทศแซมเบยี มหาวิหารอาบซู มิ เบล ประเทศอียิปต

แผนท่แี สดงแหลง อตุ สาหกรรมท่ีสําคญั การยา ยถน่ิ ฐานมี สาเหตุจากปญ หา เศรษฐกิจ การเมอื ง และ สงคราม ภูมภิ าคแอฟริกากลาง ภมู ิภาคแอฟริกาใต มกี ารทาํ อตุ สาหกรรมหลากหลาย เชน อุตสาหกรรมปโ ตรเลยี ม อตุ สาหกรรมเหมืองแรมมี าก เชน เหมืองแรเ พชรและทองในประเทศ ในสาธารณรัฐคองโก คองโก กาบอง อเิ ควทอเรียลกนิ ี และ บอตสวานา เซาทแ อฟรกิ า และนามเิ บยี อตุ สาหกรรมเหลก็ และถานหนิ ใน แคเมอรนู อุตสาหกรรมเหมอื งเพชรและทอง ในสาธารณรัฐคองโก เซาทแ อฟรกิ า นอกจากน้ี ยงั มีอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและ และเซาทแอฟรกิ า อุตสาหกรรมส่ิงทอ สถานที่ทองเทย่ี ว เชน อทุ ยานแหงชาติโชเบ ประเทศ บอตสวานา อุทยานแหง ชาตนิ ามิบ-น็อกลัฟต ประเทศนามิเบยี อทุ ยาน สถานที่ทองเทย่ี ว เชน น้าํ ตกคารันดลู า ประเทศแองโกลา แหง ชาติครเู กอร ประเทศเซาทแอฟรกิ า อุทยานแหง ชาตโิ ลเป อุทยานแหง ชาติโลอังโก ประเทศกาบอง นํา้ ตกคารันลดู า ประเทศแองโกลา อุทยานแหง ชาตนิ ามบิ -นอกลฟั ต ประเทศนามเิ บีย

การคา เชน การซือ้ ขายเครือ่ งจักรกล ปจ จุบันมีการคาขาย อะไหล อุปกรณก ารขนสง สินคาอุตสาหกรรมเพิม่ ข้ึนระหวา งพนื้ ทชี่ ายฝง กับพน้ื ท่ใี นทวปี การคา ในทวปี มนี อย เนื่องจากอปุ สรรคตางๆ เชน การคมนาคมขนสง การสือ่ สาร การขาดแคลน สินคา ทางการเกษตรและสนิ คาอนื่ ๆ รวมไปถงึ ขอ จํากัดของการผลิตทางอตุ สาหกรรม สนิ คา ทีม่ กี าร คาขายสว นใหญ เชน อาหาร เคร่ืองด่มื ยาสูบ นํ้าตาล เน้อื สตั ว และมกี ารคาขายสินคาอตุ สาหกรรมใน บางประเทศ โดยในแตละภมู ิภาคมกี ารรวมกลุมทางเศรษฐกจิ เพื่อทําการคาขายในทวปี เชน ชมุ ชนเศรษฐกิจของรฐั แอฟรกิ าตะวันตก สหรฐั อาหรบั มาแกร็บ (uma: arab (ecowas: economic community of maghreb union) west African state) ประกอบดวยประเทศในภูมิภาคแอฟริกาเหนอื ไดแ ก แอลจีเรีย ลเิ บีย มอริเตเนีย โมร็อกโก และตูนเิ ซีย ประกอบดวยประเทศในภูมภิ าคแอฟริกาตะวันตก ไดแก เบนนิ บรู กินาฟาโช กาบเู วรดี โกตดิววั ร ชมุ ชนการพฒั นาแอฟรกิ าตอนใต (sadc: southern แกมเบีย กานา กินี กนิ บี ิสเซา ไลบีเรีย มาลี ไนเจอร เซเนกัล เซยี รราลีโอน และโตโก การคา ระหวางทวีปมีการพัฒนามากขนึ้ หลังส้ินสดุ african development communit) สงครามโลกครงั้ ที่ 2 และหลงั จากประเทศตางๆ ในทวีปได รบั เอกราช การสงออกขยายตัวมากขึน้ แตส นิ คา สงออก เชน ประกอบดวยประเทศในภูมิภาคแอฟริกาใต ผลติ ภณั ฑปโตรเลียม ยงั มีราคาตํ่า สงผลใหป ระเทศตางๆ ใน แอฟริกากลาง และแอฟรกิ าตะวันออก ไดแก แองโกลา แอฟรกิ าเสยี เปรยี บดุลการคา กับตา งประเทศ มีภาระหน้สี ิน บอตสวานา คองโก เลโซโท มาดากสั การ มาลาวี มอริเชียส กับตางประเทศจาํ นวนมาก อยางไรกต็ าม มีการทําขอตกลง โมซมั บกิ นามิเบีย เซเซลล เซาท- แอฟรกิ า เอสวาตนิ ี ทางการคา รวมกับประเทศในภมู ภิ าคยโุ รป คือ ขอตกลงโลเม แทนซาเนีย แซมเบีย และซมิ บับเว ชว ยขยายการคา และการลงทนุ ของประเทศจากทวีปยุโรป เขามายังแอฟริกามากข้ึน ปจจบุ ันมกี ารทําการคา กับญี่ปุน เมอื งไนโรบี ประเทศเคนยา และสหรัฐอเมรกิ ามากขน้ึ เมืองศนู ยก ลางเศรษฐกิจทส่ี ําคัญของประเทศ มีอตุ สาหกรรมอาหารและ เครือ่ งด่มื กาแฟแปรรปู อตุ สาหกรรมซเี มนต อตุ สาหกรรมนาํ้ ตาล

ภมู ิภาคแอฟริกาตะวนั ตก: คาขาย ผลติ ภัณฑป โ ตรเลยี มจากประเทศ ไนจีเรยี สินแรเหลก็ จากประเทศ มอรเิ ตเนยี และไลบีเรีย กาแฟจาก ประเทศโกตดวิ วั ร เพชรจากประ เทศเซียรราลโี อน ภมู ภิ าคแอฟรกิ าเหนอื : คา ขายผลติ ภัณฑปโ ตรเลยี มจากประเทศลิเบีย แอลจเี รยี และอียปิ ต ภมู ิภาคแอฟรกิ าตะวันออก: คาขายทองแดงจากประเทศแซมเบยี กาแฟจากประเทศบรุ ุนดี ยูกันดา รวนั ดา เอธิโอเปย มาดากัสการ และเคนยา นาํ้ ตาลจากประเทศมอริเชยี ส เพชรจากประเทศเซ็นทรัลแอฟรกิ า สาธารณรัฐคองโก และคองโก ภูมภิ าคแอฟรกิ ากลาง: คา ขายผลติ ภณั ฑปโ ตรเลียมจากประเทศกาบอง สาธารณรัฐคองโก แองโกลา และแคเมอรูน ทองแดง จากประเทศคองโก ฝา ยจากประเทศชาด ภมู ิภาคแอฟรกิ าใต: คาขายผลติ ภัณฑป โ ตรเลยี ม เหลก็ และเหล็กกลา เคร่ืองจักรกลจากประเทศเซาทแ อฟริกา การคมนาคมขนสง ทวปี แอฟริกายังมปี ญหาการคมนาคมขนสง มากกวาทวีปอืน่ ๆ เนอื่ งจากหลายประเทศขาดแคลนเงินทนุ ในการพฒั นาเสนทางคมนาคม ขนสงใหท ันสมยั ประกอบลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทีม่ สี ภาพแวดลอมตางๆ ท่ี เปน อปุ สรรค เชน มที ะเลทรายกวา งขวาง มพี ้ืนทล่ี ุม นาํ้ และปาดิบทก่ี วา ง ใหญ พ้ืนที่สวนใหญเปน ทส่ี ูงและภูเขา 1.การคมนาคมทางบก: มีการสรางถนนอยางหนาแนนใน รถไฟเอธิโอเปย-จิบูตีขบวนใหมลาสุดใน แผนท่ีแสดงถนนที่สาํ คญั ของ ทางตอนเหนือและตอนใตข องทวีป รวมทงั้ พื้นท่บี างสว น กรุงแอดดิสอาบาบา เมืองหลวงของ ทวปี แอฟรกิ า ทางตะวันตกและตะวันออกของทวปี เพ่อื ใชข นสงสินคา เอธิโอเปย (ภาพถายเมื่อวันท่ี 1 ต.ค.) และการเดินทาง สว นทางรถไฟในแอฟริกามนี อ ยมาก ไมม ี รถไฟสายยาวขา มทวีป สวนใหญเปน ทางรถไฟสายสั้นๆ ภายในเขตเมอื งหลวง เมืองใหญ และพ้ืนที่ตามแนวชายฝง ทะเลมหาสมุทร 2.การคมนาคมทางนา้ํ : การขนสง ทางทะเลมีความสาํ คญั และพฒั นามากขึน้ แลว มที า เรอื ขนาดใหญหลายแหง มี อปุ กรณท ่ีทนั สมัยจํานวนมาก

รถไฟความเร็วสูงสุดของทวปี แอฟรกิ า Scan เพ่อื อา นการสรา งรถไฟ ความเรว็ สงู ในประเทศอียปิ ต แผนที่แสดงทต่ี งั้ ของทาเรอื และทา อากาศยานท่ีสาํ คัญในทวปี แอฟริกา คลองสเุ อซ เปนคลองท่ีขุดข้นึ เพือ่ เชื่อม ทะเลแดงกับทะเลเมดิเตอรเรเนียน มรี ะยะ ทางยาว 160กิโลเมตร ตัง้ แตเ มอื งปอรต เสด ทฝ่ี งเมตเิ ตอรเรเนียน ถงึ เมอื งสุเอซ ทอี่ า วสุ เอซในทะเลแดง Scan เพือ่ อา นการแกปญหา คลองสุเอซ ถือเปนหน่งึ ในเสน ทางเดนิ เรอื ทางการคาที่ เรือยักษขวางคลองสเุ อซ คบั คง่ั ทส่ี ุดในโลก เพราะเปนเสน ทางลดั ในการเชื่อมโยง การขนสง สินคา ระหวา งเอเชียกับยโุ รป โดยมีการ ประมาณการณกันวาสินคา ทัง้ หมดของโลกถงึ 12% ถูก ขนสงผานคลองสุเอซ นอกจากนี้ คลองสเุ อซ ถือเปนเสน ทางสาํ คัญในการขนสงเช้อื เพลิง กา ซธรรมชาตเิ หลว น้าํ มนั ดิบ ถงึ ประมาณ 5-10% นอกจากนน้ั สินคาที่เหลือ เปน สินคา อุปโภค อาทิ เฟอรน เิ จอร เส้อื ผา ช้ินสว น รถยนต อตุ สาหกรรมการผลติ และอุปกรณออกกาํ ลงั กาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook