Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมาย ม.2

กฎหมาย ม.2

Published by orawichada.k, 2021-08-20 14:49:43

Description: กฎหมาย

Search

Read the Text Version

LAW M.2 กฎหมาย ชอ่ื -นามสกลุ ……………………………………………………………………… ชนั้ …………………… เลขท…ี่ ………………… นางสาวอรวิชดา กาวลิ นกั ศึกษาปฏบิ ตั ิงานวิชาชพี ครู

1. กฎหมาย กฎหมาย 1.1 ความหมายและความสําคญั ของกฎหมาย กฎหมาย คือ ขอ บังคบั ของรัฐทกี่ าํ หนดพฤตกิ รรมของประชาชน หากฝาฝน จะไดรับโทษตาม ท่กี าํ หนดไว กฎหมายเปนเครอ่ื งมือรักษาความสงบเรยี บรอ ยในสงั คม การฝาฝน กฎหมาย เปน สิ่งท่ไี มควรทาํ เว็บไซต iLaw ใหความรู เก่ียวกบั กฎหมาย 1.2 ประเภทของกฎหมาย 2. กระบวนการตรากฎหมาย กระบวนการตรากฎหมาย กฎหมายมหาชน: วา ดวยความสมั พนั ธร ะหวา งรฐั กบั ประชาชนของรฐั (รัฐเปน ฝาย ปกครองและมีอาํ นาจเหนอื ) เปนกฎหมายทบี่ ังคบั ใชเ พื่อกําหนดความประพฤตขิ อง ประชาชนทั้งหมด • รฐั ธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา พระ ธรรมนูญศาลยตุ ธิ รรม ดกู ฎหมายหามชุมนุม กับ way magazine กฎหมายเอกชน: วา ดวยความสมั พนั ธร ะหวางเอกชนกับเอกชน (ฐานะเทา เทียมกัน เสมอ Soc kru am กฎหมายพระราชบัญญัติ: กฎหมายท่ี K. ตราข้นึ ตามคาํ แนะนําและยินยอมชองรฐั สภา ภาค) เปน กฎหมายทีก่ าํ หนดสิทธทิ างแพง ทเี่ อกชนคนใดคนหนงึ่ จะใชอางกบั เอกชนคนอนื่ กฎหมายพระราชกาํ หนด: K. ตราตามคาํ แนะนาํ ของคณะรัฐมนตรี เชน พรก. ฉกุ เฉิน เชน กฎหมายครอบครัว ระหวา งสามีภรรยา บดิ ามารดากบั บุตร หรือกฎหมายทก่ี ําหนด กฎหมายพระราชกฤษฎีกา: K. ตราขึ้นโดยอาศยั อาํ นาจตามรัฐธรรมนูญ พรบ. หรือ พรก. ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประชาชน เชน การทาํ สัญญาแบบตางๆ กฎหมาย เพ่ือใชในการบรหิ ารราชการแผน ดิน เชน พรฎ. อภัยโทษ เอกชนมี 2 ประเภท ไดแ ก ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย และกฎหมายอืน่ เชน ประมวลกฎหมายท่ดี ิน พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ คาเชานา พระราชบัญญัติแรงงานสมั พันธ การมีสว่ นรว่ มในการตรากฎหมายของประชาชน กฎหมายระหวางประเทศ: กาํ หนดความสมั พันธระหวางรฐั ตอรฐั เกดิ 1.การเขาเสนอรางพระราชบญั ญัต:ิ ประชาชนผมู ีสทิ ธิเ์ ลือกต้ังไมน อ ยกวา 10,000 จากการตกลงหรือทาํ สนธสิ ญั ญาตอกัน และการปฏิบตั ริ ะหวางรฐั ตอ คน เขาช่อื เสนอราง พรบ ตอ ส.ส. เพ่อื ใหร ฐั สภาตราเปนพรบ *แต เสนอไดแคห มด รฐั ตามจารีตประเพณี 3 สทิ ธเิ สรีภาพของปวงชนชาวไทยและหมวด 5 หนา ที่ของรัฐ • กฎหมายระหวา งประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายระหวางประเทศ แผนกคดีบคุ คล และกฎหมายระหวางประเทศแผนกคดอี าญา 2.การเขาชอื่ เสนอขอ บัญญตั ิทองถนิ่ : ประชาชนผมู สี ทิ ธ์ิเลือกตั้งในองคก รปกครอง สว นทอ งถนิ่ มสี ิทธเิ สนอชอื่ เพ่ือเสนอขอ บญั ญตั ทิ อ งถ่ินได

ปญั หารฐั ธรรมนญู 2560 คอื การลดอาํ นาจของประชาชน และเพิ่มอาํ นาจแกร่ ฐั ! ปญั หาอีกอยา่ ง คือ ส.ว. ทง้ั 250 คน ทป่ี ระยุทธ์ตนุ ไวเ้ ลอื กตวั เองเปน็ นายก? scan เพ่ือดอู ํานาจของ ส.ว. ของ ตามรฐั ธรรมนูญ 2540 และรัฐธรรมนญู 2550 วางหลกั การไว คสช. มีมากกวาการพจิ ารณา คลา ยกัน คอื หามไมใ หใ ชส ทิ ธิและเสรีภาพกระทบบคุ คลอืน่ หาม ใชสทิ ธเิ สรภี าพเปน ปฏิปกษตอ รัฐธรรมนูญ และตองไมข ดั ตอ ศลี กฎหมาย ธรรมอนั ดีของประชาชน การจํากดั เสรภี าพโดยเพราะเหตุ “ความมั่นคงของรฐั ” ใชไ ดกบั เฉพาะเสรีภาพในการเดนิ ทางและ เสรภี าพในการเลอื กถน่ิ ทอ่ี ยูภายในราชอาณาจกั ร เสรภี าพในการ แสดงความคิดเหน็ และเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือ ประกอบอาชพี และการแขง ขนั โดยเสรอี ยางเปนธรรมเทา นน้ั แมแตเ สรภี าพในการชมุ นมุ กย็ ังไมไ ดจํากัดโดยอาศัยเหตเุ รอื่ ง ความมั่นคงของรฐั ถา รฐั ธรรมนญู มี ปญหามาก แลว ทาํ ไมไมแ ก? มาดู กระบวนการการแก รฐั ธรรมนญู กัน

3. กฎหมายที่เกยี่ วขอ้ งกบั ตนเองและครอบครัว Soc kru am - บตั รประชาชนมีอายุ 8 ป โดยบตั รทย่ี ังไมหมดอายุในวนั ท่ผี ถู ือบตั รมอี ายุครบ 70 ปบ รบิ ูรณใ หใชไ ดตลอดชีวติ 3.1 กฎหมายเกี่ยวกบั ความสามารถของผูเ้ ยาว์ - หากผใู ดไมแ สดงบตั รประจาํ ตวั ประชาชนเมือ่ เจา พนักงานขอตรวจจะเปนความผดิ และมีโทษปรบั ไมเ กนิ 200 บาท 1.ความหมายของผเู ยาว: ผูเยาว คือ บคุ คลท่ียงั ไมบ รรลุนติ ิภาวะ (บรรลุนติ ิภาวะ เมือ่ อายุ 20 ปบ ริบูรณ) 3.3 กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครวั 2.ความสามารถของผเู ยาว: กฎหมายกาํ หนดไว ดงั นี้ 3.3.1 การหม้ัน 1) การสมรส: ผูเ ยาวจ ะบรรลนุ ติ ภิ าวะไดดวยการสมรส - ชายหญิงตอ งมีอายุ 17 ปบริบูรณ หรอื ศาลอนญุ าต การหมน้ั คอื การทชี่ ายหญิงสัญญาจะทําการสมรสและอยูกินฉันสามีภรรยา (สญั ญา - ตอ งจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายแลวเทานนั้ หมนั้ เปน เพียงสัญญาการจองไวก อ น ไมถึงขัน้ แตง มี 2 เงื่อนไขคือ อายุของคหู ม้นั และความ ยินยอมของบดิ ามารดาผปู กครอง) 2) การทาํ นติ กิ รรม: คือ การทําขอ ผกู พนั ทางกฎหมายระหวางบุคคลดว ยความ สมัครใจเพือ่ ใหเ กดิ สทิ ธิตา งๆ ทางกฎหมาย - ผูเยาวตองไดรับความยินยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรมกอ น ความร้เู พมิ่ เติม 3) การทาํ การใดใด: กฎหมายกําหนดขอยกเวนแกผูเยาวใ หสามารถทาํ 3.2 กฎหมายเก่ียวกับบัตรประจาํ ตวั ประชาชน 3.3.2 การสมรส 1.ของหม้ัน: ทรัพยส ินทีฝ่ า ยชายมอบหรอื โอน นติ ิกรรมไดเชน เดียวกับผูบรรลุนติ ภิ าวะแลว แกฝายหญงิ เพื่อเปน หลกั ฐานวา จะสมรสกบั - นติ กิ รรมท่ีทาํ ใหผเู ยาวไดมาซ่ึงสทิ ธอิ นั ใดอันหน่ึง: เชน รับทรพั ยสนิ ท่ี บัตรประจําตัวประชาชนเปนบตั รประจาํ ตัวของผูม สี ญั ชาตไิ ทย ใชแ สดงตนเพอื่ ผลประโยชน หลกั เกณฑก ารสมรส: หญงิ น้นั คนอน่ื ใหด ว ยความเสนหา ของผูถ อื บัตรและทางราชการ - คูสมรสตอ งเปน ชายและหญิง - นิตกิ รรมที่ทําใหผ เู ยาวหลุดพน จากหนาทีอ่ ันใดอนั หนึ่ง: เชน เด็กชาย ก - การยืน่ ขอมบี ัตรประจําตัวประชาชน: บุคคลสญั ชาติไทย อายุ 7-70 ปบรบิ รู ณ มชี ่ืออยใู น - ทําโดยสมคั รใจ 2.สินสอด: ทรัพยสนิ ทฝ่ี า ยชายมอบแกฝ า ยหญงิ เปน หนี้ นางสาว ข จํานวน 500 บาท นางสาว ข ยอมปลดหน้ีใหเดก็ ชาย ก ทะเบียนบา น เพื่อตอบแทนท่ฝี า ยหญงิ ยอมสมรสดวย ขณะเดียวกัน เดก็ ชาย ก อาจทําสัญญาปลดหนกี้ ับนางสาว ข ไดโ ดยลําพงั - ย่ืนคาํ ขอภายใน 60 วนั นบั แตอายุครบ 7 ปบรบิ ูรณ, วันทไี่ ดสญั ชาติไทย, วนั ทเี่ พิม่ ชือ่ ใน **หากเกิดเหตทุ ี่ทําใหฝ า ยหญิงไมอาจสมรสได - นติ ิกรรมทผี่ ูเยาวตองทําเองเฉพาะตวั : เชน การรับรองบตุ ร ทะเบยี นบา น, วนั ทพ่ี น สภาพจากการไดรบั การยกเวน ฝา ยชายจะเรียกคนื สินสอดได - นิติกรรมทจี่ ําเปนเพื่อการดาํ รงชีพของผเู ยาว: - ผทู ่ยี กเวน ซ่ึงมบี ตั รประจําตัว ตามกฎหมายใหใ ชบ ัตรประจําตวั นั้นแทนได เชน พระภกิ ษุ สามเณร นกั บวช ผมู ีรางกายพิการ เดินไมได เปนใบ หรือตาบอดท้ังสองขา ง จติ ฟนเฟอนไมสม - มีการอยูก ินฉนั สามีภรรยา - นิตกิ รรมทจี่ ําเปนตอการดํารงชพี ตามสมควร: เชน ปจ จยั 4 ประกอบ และผถู ูกควบคุมในเรือนจาํ - มีคสู มรสเพยี งคนเดียว - นติ ิกรรมทเี่ ปนการสมควรแกฐ านานรุ ูปแหงตน: คอื เหมาะกบั สภาพความเปนอยขู องผเู ยาวและฐานะทางการเงนิ เงื่อนไขการสมรส: - ชายหญงิ ตอ งมีอายุ 17 ปบ ริบรู ณ - ไดร บั ความยนิ ยอมจากบิดามารดา/ผปู กครอง 4) การทาํ พินยั กรรม: ทําไดเ มอ่ื อายุ 15 ปบ รบิ ูรณ - มกี ารจดทะเบยี นสมรส **สมรสไมได: เปนญาตกิ ัน/ เปน ผูรับบุตรบญุ ธรรมกับบตุ รบุญธรรม/ สมรสซอ น/ ชาย หญิงเปน คนวกิ ลจริตหรือศาลส่ังใหเ ปน คนไรค วามสามารถ ***หญงิ หมา ย/ หยา สมรสใหมไ ดหลงั การสมรสครัง้ กอนส้นิ สุดไมนอ ยกวา 310 วนั เวนแตส มรสกบั คูสมรสเดิมหรือมีใบรบั รองแพทยว า ไมไดต ั้งครรภ

3.3.2 การสมรส #สมรสเท่าเทยี ม 3.3.3 การรบั รองบุตร 1.ความสมั พนั ธด านสวนตวั : ชว ยเหลอื อุปการะเลย้ี งดซู ่งึ กนั และกนั ตาม บตุ ร แบง เปน 3 ประเภท ความสามารถและฐานะของตน 1.บุตรชอบดวยกฎหมาย: แบงเปน บุตรในสมรส และ บุตรนอกสมรส - บตุ รในสมรส: เดก็ ที่เกดิ จากบิดามารดาทีส่ มรสกนั ตามกฎหมาย 2.ความสมั พนั ธด านทรพั ยสิน: - บุตรนอกสมรส: บดิ ามารดาไมไ ดสมรสกัน (ในทางกฎหมายถอื วา เด็กเปน บตุ ร ชอบดวยกฎหมายของมารดา) แตจ ะเปนบุตรทช่ี อบดวยกฎหมายของบิดา เมอ่ื - สนิ สว นตวั : เปน กรรมสิทธิข์ องคสู มรสฝายใดฝา ยหน่ึงโดยเฉพาะ เชน ดําเนนิ การ ดงั นี้ ทรัพยส ินทต่ี างฝา ยมีกอ นการสมรส เครอื่ งใชส อยสวนตัว มรดก เครอ่ื งมือ ประกอบอาชพี หรอื การไดรบั มาโดยเสนหา 1) เมื่อบดิ ามารดาจดทะเบยี นสมรสกนั ภายหลัง - สนิ สมรส: ไดมาระหวา งสมรส เปนกรรมสิทธ์ริ ว มกัน เชน เงินเดอื น 2) เม่ือบิดาไดจ ดทะเบยี นรบั รองวาเปนบุตร โบนสั เงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ทรพั ยสนิ จากพนิ ัยกรรม (ที่ระบุวา เปน สิน 3) เมื่อศาลพิพากษาวา เปนบุตร สมรส) ดอกผลของสนิ สว นตวั **หากฝายใดฝายหนงึ่ จัดการไปโดยอกี ฝา ยไมไดย ินยอม สามารถขอให 2. บุตรนอกกฎหมาย: เด็กทีบ่ ิดามารดาไมไ ดจ ดทะเบียนสมรส และไมไ ด เพกิ ถอนนติ ิกรรมนั้นได ดาํ เนินการใหเ ปนบุตรทชี่ อบดวยกฎหมายของบิดา (เปน แคบ ุตรทช่ี อบดว ย กฎหมายของแม) ***รับมรดกได แตถา ไมรับรองทางกฎหมาย จะไมมีสทิ ธิเรียกรอ งอยางอ่นื เชน คาเลี้ยงดจู ากบิดา การแกไ ขป.พ.พ.จะทําใหคสู มรสทุกเพศมโี อกาสในการเขา ถงึ สทิ ธปิ ระโยชนหรือสวสั ดิการของ 3. บุตรบญุ ธรรม: บุตรของคนอืน่ แตเ ขามาเปน บตุ รดว ยการจดทะเบียน รัฐทีเ่ ปน ของ 'คสู มรส' ได เชน การรับประโยชนท ดแทนผูป ระกันตนตามพ.ร.บ.ประกนั สังคม โดยมีการสมมตขิ องกฎหมายวามีสิทธิเสมือนกับบตุ รท่ีชอบดวยกฎหมาย พ.ศ. 2533 สทิ ธเิ บกิ จา ยคา รักษาพยาบาลของขาราชการ ตามท่ีกําหนดไวใ นพระราชกฤษฎีกาเงิน สวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 และในบางกรณแี มกฎหมายใชถอยคาํ จํากัด หลกั การรับบุตรธรรม เฉพาะ ‘สามี-ภรยิ า’ คสู มรสทีร่ บั บตุ รบญุ ธรรมกย็ งั สามารถใชส ิทธปิ ระโยชนน น้ั ได เชน สิทธใิ นการ ลดหยอ นภาษบี ุตรบญุ ธรรมตามประมวลรัษฎากร จะเหน็ วา กฎหมายครอบคลมุ 1. ผูร ับบุตรบุญธรรมตอ งมีอายไุ มตาํ่ กวา 25 ป และ ทุกเร่อื งในชีวติ ของเราตง้ั แต เกิดจนตายเลยนะครบั มีอายุมากกวาบุตรบุญธรรมอยา งนอย 15 ป 4. กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกับชุมชนและประเทศ 2.ผทู ีจ่ ะเปนบุตรบุญธรรมมีอายุตง้ั แต 15 ปบ รบิ รู ณข ้ึน 4. การรับบตุ รบุญธรรมจะสมบูรณก็ตอ เมือ่ มกี ารจดทะเบียน 4.1 กฎหมายทีเ่ กย่ี วกับการอนุรักษธ์ รรมชาติ ตามกฎหมาย ไป ตองใหความยินยอมในการเปนบตุ รบญุ ธรรมของ 5. บตุ รบญุ ธรรมมีฐานะเชน เดยี วกับบตุ รชอบดวยกฎหมาย สง่ิ แวดลอ ม คือ สิง่ ทีเ่ กดิ ขึน้ เองตามธรรมชาตแิ ละที่มนุษยส รา งขึ้น สิง่ ที่เปนรูปธรรมและนามธรรม สิง่ ที่เห็นไดด ว ยตาและ 6. การรับบตุ รบุญธรรมมผี ลเฉพาะตัวผจู ดทะเบยี นเปนผูรับ ตนดวย ไมสามารถเห็นไดดวยตา สง่ิ ท่ีเปน ประโยชนแ ละไมเปนประโยชน บตุ รบุญธรรมเทานนั้ ไมมผี ลไปถงึ คูสมรสอกี ฝา ยหนึง่ 3.การรบั ผูที่ยงั ไมบรรลนุ ิตภิ าวะเปน บตุ รบญุ ธรรม ตอ ง ประเทศไทยประสบปญหาเก่ยี วกบั ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม ทั้งความเสือ่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติและ ปญ หามลพษิ จึงมีการออกกฎหมายเพือ่ ควบคมุ และดาํ เนินการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม ไดร ับความยินยอมจากบดิ ามารดาของผูนนั้ กอน

4. กฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับชมุ ชนและประเทศ 4.1 กฎหมายทีเ่ กีย่ วกบั การอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.1.1 กฎหมายปา่ ไม้ 1.พระราชบญั ญัตปิ าสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 แกไ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2559: หา มไมใ ห บุคคลใดยดึ ถอื หรือครอบครองทีด่ นิ กอ สรา ง แผว ถาง เผาปา ทําไม เก็บหาของปา ในเขตปา สงวน แหง ชาติ หรอื กระทําการใดๆ อนั เปนการเสื่อมเสยี สภาพปา สงวนแหง ชาติ 2.พระราชบญั ญตั อิ ทุ ยานแหง ชาติ พ.ศ. 2504: หามบุคคลเขา ไปถอื ครองที่ดนิ ในเขตอทุ ยานแหง ชาติ 3.พระราชบญั ญัตปิ า ไม พ.ศ. 2484 แกไ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2525: กาํ หนดหา มผใู ดทาํ ไม เจาะ สบั เผา หรือทาํ อนั ตรายใดๆ แกไมหวงหา ม เวนแตไ ดรับการอนุญาตตามกฎหมาย ชวนอ่านประเด็นความขัดแย้ง ระหว่างรัฐและชาวบางกลอย 4.1.2 กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคมุ้ ครองสัตวป์ ่า ไมส กั - พระราชบญั ญัตสิ งวนและคมุ ครองสัตวปา พ.ศ. 2535 แกไ ขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2557 ไมพยุง - สตั วปา หมายถึง สตั วท กุ ชนิด (สัตวบ ก ปก แมลง แมง) เกดิ และดํารงชวี ิตอยใู นปา หรอื ในน้าํ ตามธรรมชาติ รวมถงึ ไขของสัตวเหลา น้ันดวย - ไมรวมสตั วพ าหนะทไ่ี ดจดตั๋วทะเบียนรปู พรรณตามกฎหมายวา ดวยสตั วพาหนะและสตั วท ่ไี ดจากการสบื พันธุของสัตวพ าหนะชนดิ ดงั กลา ว - สตั วป า แบงเปน 2 ประเภท คือ สตั วป าสงวน และ สัตวปา คมุ ครอง - สัตวปา สงวน หมายถงึ สตั วปาหายาก - สัตวป า คุม ครอง หมายถงึ สัตวป าตามที่กฎกระทรวงกําหนดใหเ ปน สัตวปาคุมครอง โดยแบงเปน ประเภทตา งๆ ไดแ ก 1.สัตวเลย้ี งลกู ดว ยนม 202 ชนิด บรเิ วณและสถานทห่ี ามลา สตั วป า 2.สัตวป า จําพวกนก 952 ชนดิ - บริเวณและสถานทีท่ ่กี ําหนดใหเปน เขตรกั ษาพนั ธุสัตวปา 3.สตั วป า จาํ พวกสัตวเล้ือยคลาน 92 ชนดิ - บริเวณและสถานทที่ ี่จัดไวใ หป ระชาชนประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา 4.สตั วส ะเทนิ นํ้าสะเทินบก 12 ชนิด - บรเิ วณสถานท่ีที่ใชใ นราชการหรือใชเพอ่ื สาธารณประโยชน หรือประชาชนใชป ระโยชน 5.สัตวปา ไมมีกระดูกสนั หลงั : แมลง 20 ชนดิ สตั วปา จําพวกปลา 14 ชนิด รว มกัน ที่จะกําหนดใหเปนเขตหา มลาสตั วป าชนดิ หรอื ประเภทใดๆ ก็ได สัตวไมม ีกระดูกสนั หลังอ่ืนๆ 12 ชนิด

Poster ภาพสตั วป าสงวน อย่าปล่อยให้สตั ว์เหล่าน้ีคงเหลอื แค่ในภาพวาด และขอมูล เสยี งของพวกเราทกุ คนมคี วามหมาย \"เสอื ดาว\" หรอื \"เสอื ดํา\" ปัจจบุ ันถกู จดั เป็น \"สตั วป์ ่าคุ้มครอง\" ลําดบั ท่ี 182 เนื่องจากอย่ใู นขา่ ยเส่ียงตอ่ การสญู พนั ธุ์ สตั วปาทีม่ คี วามสาํ คญั ตอ ระบบนิเวศหรอื จาํ นวนประชากร ของสัตวป าชนดิ นัน้ มีแนวโนมลดลงอันอาจสง ผลกระทบตอ ระบบนิเวศ ข้อกาํ หนดเกย่ี วกับสตั วป์ า่ เร่อื งอ่นื ๆ ทกี่ ฎหมายกาํ หนด 1.หา มมใิ หผ ูใดเพาะพนั ธสุ ัตวป าสงวนหรอื สัตวป าคมุ ครอง เวนแตไ ดรบั อนุญาต 2.หา มมิใหผ ูใดลา หรอื พยายามลา สัตวปาสงวนหรอื สัตวปาคมุ ครอง เวน แตเ ปน การกระทาํ โดยทางราชการทไ่ี ด รบั การยกเวน 3.หา มมใิ หผูใดมสี ัตวป า สงวน สัตวป าคมุ ครอง ซากของสตั วป าสงวน หรอื ซากของสตั วปา คุมครอง เวนแตไ ดรับ อนญุ าต 4.หามมใิ หผ ูใดคา สตั วปา สงวน สัตวป าคมุ ครอง ซากของสตั วปาสงวน ซากของสัตวปา คมุ ครอง หรอื ผลติ ภัณฑ ท่ีทาํ จากซากสัตวปาดังกลา ว เวน แตไ ดรบั อนุญาต 5.หา มมิใหผ ใู ดเกบ็ ทําอนั ตราย หรือมรี งั ของสตั วป า สงวนหรือสัตวปา คุมครอง 6.หา มผใู ดยิงสตั วป า ในเวลาระหวางพระอาทิตยตกและพระอาทิตยข ้นึ 7.หา มมใิ หผูใดนําเขา หรือสง ออกสัตวปา ซากของสัตวป า หรือผลิตภณั ฑท ่ีทาํ จากสัตวปาชนิดท่กี ําหนด หรือนํา ผา นซ่งึ สัตวป าสงวน สัตวป าคมุ ครอง ซากของสตั วปา สงวน ซากของสัตวป า คุมครอง หรอื ผลิตภณั ฑท ี่ทาํ จาก ซากสัตวปาดังกลา ว เวนแตไดรับอนุญาต 4.1.3 กฎหมายวา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองส่ิงแวดลอ้ ม พ.ร.บ. สงเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอ มแหง ชาติ พ.ศ. 2535 แกไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2561 1.สทิ ธขิ องประชาชนที่จะไดรบั การคุมครอง: เพอ่ื ประโยชนในการสงเสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอมของชาติ - ทราบขอ มลู ขา วสารทางราชการเก่ียวกับการสง เสริมและรักษาคุณภาพสงิ่ แวดลอ ม - ไดร บั ชดใชค า เสยี หายหรอื คา ทดแทนจากรฐั กรณีไดรบั ความเสยี หายจากภยั อันตรายทีเ่ กดิ จาก การแพรก ระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมเี หตุมาจากกจิ การหรือโครงการใดทรี่ เิ ริ่ม สนับสนนุ หรือดาํ เนินการโดยสว นราชการหรอื รัฐวิสาหกจิ

5. ความรับผดิ ชอบทางแพง : เจา ของหรือผูครอบครองแหลง กําเนิดมลพษิ มีหนาท่ีรับผิดชอบชดใช ํสาห ัรบ ีปงบประมาณ 2561 ีมการประมาณการ ่วา คาสินไหมทดแทนแกผูไ ดร บั อนั ตราย หากแหลงกาํ เนดิ มลพิษกอ ใหเกดิ หรือเปนแหลงกําเนิดการรัว่ ัรฐบาลจะสามารถ ัจดเ ็กบภา ีษอากร ุสท ิธไ ้ดราว ไหลหรือการแพรกระจายนั้น 6. คณะกรรมการสิง่ แวดลอ มแหงชาติ: มีอาํ นาจหลายประการ เชน 2.23 ล้านล้านบาท - เสนอนโยบายและแผนการสง เสรมิ และรกั ษาคุณภาพสงิ่ แวดลอมแหงชาติ เพื่อขอความเห็นชอบ คิดเป็น 77% ของรายได้ทั้งหมด จากคณะรัฐมนตรี - กาํ หนดมาตรฐานคณุ ภาพส่งิ แวดลอม - เสนอแนะมาตรฐานดานการเงนิ การคลงั การภาษอี ากร และสง เสรมิ การลงทุน 4.2 กฎหมายภาษีอากร 4.2.1 ประเภทของภาษอี ากร ภาษอี ากร หมายถึง เงนิ ทร่ี ัฐหรอื ทองถิ่นเรียกเก็บจาก 1.ภาษีทางตรง: ผเู สียภาษจี า ยเอง ผลักไปใหผ อู น่ื ไมไ ด (ภาษีเงินได บุคคล บคุ คลธรรมดา/ภาษีเงนิ ไดนิติบคุ คล/ภาษเี งินไดป โตรเลียม) จดั เก็บ ตามอัตรากาวหนาโดยพจิ ารณาจากฐานรายได 2. ภาษที างออ ม: เก็บจากบคุ คลอ่นื แตผเู สียภาษตี อ งรบั ภาระในรูป แบบใดรูปแบบหนึ่ง (เชน ภาษีมลู คาเพม่ิ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ภาษีน้ํามนั และผลิตภัณฑน ํ้ามัน ภาษีสินคาเขา-ออก ฯลฯ) 2. การคมุ ครองสิง่ แวดลอม: คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหง ชาตมิ อี ํานาจในการกําหนดมาตรฐาน ชวน อานการ ัจดสรรงบ สงิ่ แวดลอ ม เชน คุณภาพแมน้ําลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อางเกบ็ นํา้ แหลง น้าํ สาธารณะอน่ื ประมาณ ป 2565 ัรฐบาลใ ห มาตรฐานอากาศ มาตรฐานระดบั เสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป ความ ํสา ัคญ ักบอะไร บางนะ? วราวธุ ศลิ ปอาชา รฐั มนตรีวาการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม 3. การควบคมุ มลพิษ: มีการกําหนดมาตรฐานควบคมุ มลพิษจากแหลง กาํ เนดิ เขตควบคุมมลพษิ มลพิษทาง อากาศและเสยี ง มลพิษทางน้าํ มลพิษอืน่ ๆ และของเสียอนั ตราย 4. การจัดทาํ รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม: หากการดาํ เนินการใดของรฐั หรือท่ีรัฐอนญุ าต เปนการดําเนนิ การทมี่ ผี ลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรอื อาจมีผลกระทบตอ ทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพส่ิง แวดลอม สขุ อนามัย คุณภาพชวี ิต หรือสวนไดส ว นเสยี สําคัญอน่ื ใดของประชาชนหรือชุมชนหรือสิง่ แวดลอม อยา งรนุ แรง ผดู าํ เนนิ การหรอื ผขู ออนญุ าตตองจัดทํารายงานการประเมนิ ผลกระทบส่ิงแวดลอ ม

4.2.2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผมู หี นา ท่ีเสยี ภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดา: การกรอกแบบแสดงรายการ สถานทย่ี นื่ แสดงรายการภาษี เงนิ ได หมายถึง เงินตางๆ ท่ีเราไดร บั ไมว า จะ 1.บคุ คลธรรมดา: มีเงินไดข น้ั ตา่ํ ถึงเกณฑที่ประมวล ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา ผเู สยี ภาษีจะตองยื่นแบบและชาํ ระภาษที ี่ธนาคารในอําเภอหรอื กงิ่ อําเภอทอง เปน ผลตอบแทนจากการทาํ งาน เชน เงินเดือน รษั ฎากรกําหนดไว กม็ หี นา ทีต่ องยนื่ แบบแสดง ทที่ ตี่ นมีภมู ิลําเนาอยู หรอื อาจยืน่ ทางไปรษณยี พ รอ มแนบเช็คหรอื ใบธนาณัติ หรอื ผลตอบแทนจากการลงทุน เชน ดอกเบยี้ รายการภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดา โดยมิไดจ ํากัดอายุ 1.กรอกรายละเอยี ดของรายการทีเ่ กี่ยวขอ งทกุ รายการให ตามจํานวนเงนิ ภาษที ีต่ อ งชาํ ระ สง ไปท่ี เงินปนผล เปนตน ความสามารถ สัญชาติ และอน่ื ๆของผมู ีเงินได ชดั เจน ถกู ตองสมบรู ณ โดยการเขยี นหรอื พมิ พกไ็ ด • สํานกั บรหิ ารการคลงั และรายได กรมสรรพากร อาคารกรมสรรพากร เลขท่ี 90 ซอยพหลโยธนิ 7 ถนนพหลโยธนิ แขวงพญาไท เขตพญาไท คาลดหยอนภาษี หมายถึง การใชส ทิ ธริ ายการ 2.ผูถ ึงแกความตาย: ผถู ึงแกค วามตายในระหวางป 2.กรณไี ดร บั แบบแสดงรายการภาษที พ่ี ิมพเ ลขประจาํ ตวั กรงุ เทพมหานคร 10400 ตา งๆ ทกี่ ฎหมายยอมใหนาํ มาหักจากรายได หลัง ภาษี ทีม่ เี งินไดขั้นต่าํ ถงึ เกณฑทป่ี ระมวลรษั ฎากร ประชาชนหรือเลขประจําตวั ผเู สยี ภาษอี ากร ช่ือ และที่อยไู ว หักคา ใชจ า ยแลว เพือ่ เปนการบรรเทาภาระภาษี กําหนดไว โดยผมู ีหนาทยี่ ่นื แบบแสดงรายการเสีย แลว ใหต รวจทานทุกรายการท่พี มิ พมา หากพบวา มขี อ ผิด ใหแ กผ ูเ สยี ภาษี ภาษีคอื ผจู ัดการมรดก หรอื ทายาท หรอื ผคู รอบ พลาดหรอื มีการเปลี่ยนแปลงรายการนั้นๆ ใหข ดี รายการดงั ครองทรพั ยมรดกของผถู ึงแกค วามตาย กลาวแลว เขียนใหมตามความเปนจริงโดยไมตองแนบหลัก เงินไดพ งึ ประเมิน หมายถงึ รายไดท งั้ หมดทเ่ี รา ฐานใด ไดร ับตลอดทั้งป (มกราคม – ธันวาคม) โดยถอื 3.กองมรดกท่ียงั มไิ ดแบง: ในปภ าษถี ัดจากปท ี่เจา เกณฑเ งินสด เพือ่ นาํ มาคาํ นวนภาษี มรดกถงึ แกความตาย หากกองมรดกน้ันยังไมไดแบง 3.กรอกรายละเอียดเกยี่ วกับ วันเดอื นปเกิดของผมู เี งินไดแ ละ ใหกับทายาทคนใดคนหน่ึงโดยเดด็ ขาด โดยผูม หี นา คูสมรสใหช ดั เจน คา ใชจ าย คอื จาํ นวนเงินท่เี ราใชไปเพอ่ื เปน ตน ทย่ี ื่นแบบแสดงรายการเสยี ภาษีคือ ผูจัดการมรดก ทนุ ระหวางเกดิ รายได ซ่งึ รัฐบาลยอมใหนําคาใช หรือทายาท หรอื ผคู รอบครองทรพั ยมรดกของผู 4.กรณคี นตางดาวผูไมม เี ลขประจําตัวประชาชน ใหก รอกเลข จา ย มาหกั ออกจากรายได เพือ่ คาํ นวนภาษเี กณฑ ถึงแกค วามตาย ประจาํ ตวั ผเู สียภาษอี ากร ของการหกั คาใชจา ย ขึ้นอยกู ับประเภทของเงิน ไดทไ่ี ดร บั 4.หางหนุ สว นสามัญท่ีไมใ ชนิตบิ คุ คล หรอื คณะ บคุ คลทไี่ มใ ชนติ ิบุคคล: ผมู ีหนาทยี่ ื่นแบบแสดง รายการภาษี คือ ผูอาํ นวยการหรือผจู ัดการ สถานท่ยี ่ืนแสดงรายการภาษี • ผูเสยี ภาษีสามารถชําระและขอคืนภาษผี านระบบเครือขา ยอินเทอรเ น็ตและใชโปรแกรมคาํ นวณ ภาษีไดทเี่ ว็บไซตของกรมสรรพากร www.rd.go.th • ทองท่ีกรุงเทพมหานคร: ยื่น ณ สํานกั งานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขา/ • ผทู ่จี งใจยื่นขอ ความเท็จหรอื ใหถ อ ยคาํ เท็จหรือตอบคําถามดว ยคําอันเท็จหรือนาํ พยานหลักฐาน ย่นื ทางไปรษณียสงไปยังกองคลัง กรมสรรพากร/ ธนาคารพาณชิ ย เทจ็ มาแสดงเพื่อหลีกเลย่ี งการเสียภาษอี ากรหรอื มเี จตนาหลีกเลย่ี งการเสียภาษีอากรโดยการฉอโกง ของไทยหรอื สาขาธนาคารที่ตง้ั อยใู นกรงุ เทพมหานคร หรือโดยการใชอบุ ายหรือโดยวิธีการอยา งใดอยา งหนึง่ เปนความผิด ตองรบั โทษจาํ คกุ ตัง้ แต 3 เดอื น • ตา งจงั หวดั : ยนื่ ณ สํานกั งานสรรพากรพื้นท่ีสาขา/ สาํ นกั งาน ถงึ 7 ป และปรบั ตง้ั แต 2,000 - 200,000 บาท สาขาทกุ สาขาของธนาคารพาณชิ ยของไทยที่ต้ังอยใู นจังหวัดนน้ั ๆ

4.3 กฎหมายแรงงาน การเปลีย่ นแปลงนายจา้ ง คา่ จ่ายแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ พระราชบัญญัตคิ มุ ครองแรงงาน (ฉบับท่ี 7) พ.ศ.2562 กรณีนายจางเปล่ียนนิติบุคคล การจายชําระคาจางแทนการบอกกลาวเปน การปรบั ปรุงใหท ันสมยั มากขน้ึ โดยประเดน็ หลัก ๆ กรณีบริษัทจดทะเบียนเปล่ียนแปลง แบงได 3 ประเด็น ดังน้ี กรณีทีน่ ายจางไมจ า ยคาตอบแทนใหลกู จาง นายจางตอ งเสยี ดอกเบีย้ กรณโี อนนติ บิ คุ คลใหน ิติบุคคลอื่น รอ ยละ 15 ตอ ป, เพมิ่ อตั ราคาชดเชยเลิกจาง หากลกู จางทํางานมากกวา กรณคี วบรวมกจิ การ 1.กาํ หนดใหนายจา งบอกเลิกโดยไมแ จง ลวงหนา ตอ งจา ยเงินเทากบั คาจา งทีท่ ี่ลกู จา งควร 20 ปข น้ึ ไป ไดรับคาชดเชย 400 วนั ไดรบั นับแตว นั ทอ่ี อกจากงานจนถงึ คราวจายเงินครงั้ ถัดไป กรณีพนักงานลากจิ สามารถลาไดอยา งนอย 3 วนั ตอป, พนักงานหญงิ ทง้ั นี้ ตอ งไดรับความยินยอมจากลกู จา ง หากมผี ลทําใหลูกจา ง ไปเปน สามารถลาคลอดไดไ มเ กนิ 98 วัน และใหสทิ ธเิ ทาเทียมกันระหวา งชาย ลกู จางของนายจางใหม การไปเปน ลูกจางของนายจา งใหมด ังกลา วตอง ได 2.กาํ หนดใหนายจายจายเงินคาจางทลี่ ูกจางควรไดร ับทนั ที่นบั แตวันท่ีออกจากงาน หญงิ มากข้ึน รับสทิ ธติ าง ๆ ทีล่ กู จางเคยมีอยจู ากนายจางเดมิ มสี ิทธิตอ ไป โดย 3.กรณีไมจ า ยจะมีโทษทางอาญาแกน ายจาง กรณยี า ยสถานประกอบการไปทอี่ ืน่ นายจา งตองมกี ารประกาศใหชัดเจน นายจางใหมตอ งรับไปทัง้ สทิ ธแิ ละหนา ทข่ี องลูกจางคนนั้นทกุ ประการ สวนลูกจางหากไมตอ งการยา ยตามก็สามารถแจงความประสงคไ ด สทิ ธกิ ารลา ภายในเวลา 30 วนั กอนการยาย “หากลูกจา งไมยนิ ยอม และนายจางเดมิ เลิกกจิ การ หรอื สิน้ สภาพ ใหถือวา เปน การเลิกจา ง โดยนายจา งเดมิ ตอ งจา ยคาชดเชยสทิ ธติ า ง ๆ ลากจิ ใหลกู จางมสี ทิ ธลิ าเพ่ือกจิ ธรุ ะอันจาํ เปน ได ปล ะ ใหแกลูกจาง ตามอัตราท่กี ฎหมายกําหนด” ไมนอ ยกวา 3 วนั ทาํ งาน และตองจายคา จา งเทากบั คา จา งในวนั ทํางานตามปกติ เชน นายจา้ งผดิ นัดจ่ายเงิน ไมจ่ า่ ยชําระเงิน การไปทําบัตรประชาชน ทาํ ใบขับข่ี ในกรณที ่นี ายจา งไมจ า ยเงนิ ตามระยะเวลาท่กี ําหนดไว ใหน ายจาง งานศพสมาชกิ ในครอบครัว เสียดอกเบี้ยใหแกลูกจา งในระหวางเวลาผดิ นดั รอ ยละ 15 ตอ ป ประเภท งานแตง ของตัวเอง เงนิ ทีน่ ายจา งผิดนัดไมจายชําระดงั นี้ งานรับปรญิ ญาของตนเอง ลาไปฏิบัตธิ รรมทางศาสนา เปน ตน เงินประกนั คา จางแทนการบอกกลาว ความเทา่ เทียมกนั ของเพศ ชาย และหญิง คา จาง เงินคาลว งเวลา เงินคาชดเชยพเิ ศษ ใหนายจางกําหนดคาจาง คา ลวงเวลา คา ทํางานในวนั หยุด และคา ลว งเวลาในวันหยุด เงนิ คาชดเชย ใหแกลูกจางทีท่ ํางานอันมลี กั ษณะ คุณภาพ และปรมิ าณเทากนั หรืองานที่มีคาเทา เงินที่จายในการหยุดกิจการชั่วคราว เทียมกนั ในอัตราเทากันไมว า ลูกจา งนน้ั จะเปนชายหรือหญิง การยา้ ยสถานประกอบการของนายจ้าง นายจา งตองติดประกาศใหลกู จา งทราบลว งหนา อยา งนอย 30 วนั กอ นยายสถาน ประกอบการ หากไมประกาศ นายจา งตองจายคา ชดเชยพเิ ศษใหล ูกจางจํานวน 30 วนั หากลกู จา งไมตอ งการยา ยไปทํางานทใ่ี หม สามารถแจงใหนายจา งทราบเปน หนงั สือ ภายใน 30 วนั ท่ีประกาศ โดยจะมสี ิทธิไ์ ดรบั เงินชดเชยพิเศษสงู สุด 400 วนั

กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายทก่ี าํ หนดรายละเอียดในดําเนินการปกครอง จะกลาวถงึ 4.4 กฎหมายปกครอง 2. ระเบียบบรหิ าราชการสวนภูมภิ าค: เปนไปตามหลักการรวมอํานาจ แตม กี ารแบง ระเบียบขององคกรการปกครอง เชน กระทรวง ทบวง กรม เทศบาล อาํ นาจจากสวนกลางไปสว นภูมภิ าค ตามนโยบายของรฐั บาลและของกระทรวงและกรม • จังหวัด: รวมหลายอําเภอข้นึ เปน จังหวดั มีสวนราชการของกระทรวงหรอื กรมตางๆ ไป การบรหิ ารราชการในปจ จุบนั เปนไปตาม พ.ร.บ.ระเบยี บบริหารราชการแผน ดิน ตงั้ อยู มผี ูวา ราชการจังหวดั เปน หัวหนา บังคบั บญั ชาขา ราชการและเปน ผรู บั นโยบาย พ.ศ.2534 คอื จากสวนกลาง สวนภูมิภาค และสว นทอ งถิ่น และคาํ ส่งั จากนายกรฐั มนตรีมาปฏิบัติใหเหมาะสมกับทอ งที่ • อาํ เภอ: รองจากจังหวัด 1 อาํ เภอ ประกอบดวยหลายตําบล มนี ายอําเภอเปนหวั หนา การจัดระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน ปกครองบงั คบั บัญชาขาราชการในอาํ เภอและรบั ผิดชอบงานบริหารราชการของอําเภอ ส่วนกลาง ส่วนภมู ภิ าค ส่วนทอ้ งถ่นิ 3. ระเบยี บบรหิ ารราชการสว นทอ งถิน่ : ตามหลักกระจายอํานาจ ประชาชนเลอื กผแู ทนทํากาว พน คสช. 9 เ ื่รอง หนา ทเ่ี ปน ฝายบริหารและฝายนิติบัญญตั ิขององคกรสว นทองถ่นิ และมีสวนรวมในการเสนอ่ีทอาจเ ิกด ้ึขนห ัลงคสช. - สาํ นกั นายกรัฐมนตรี - จงั หวัด - องคก ารบรหิ ารสว นจังหวัด แนะแนวทางการแกป ญหาของทอ งถ่ิน - กระทรวง ทบวง และ - อําเภอ - เทศบาล • องคก ารบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) พฒั นา คมุ ครอง ดูแล และบาํ รุงรักษาลงจาก ํอานาจ สวนราชการทม่ี ฐี านะเทยี บ - องคการบริหารสว นตาํ บล ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม/ แบง สรรเงนิ ใหร าชการสวนทองถิ่นอืน่ / ประกอบดวย เทา กระทรวง ชวนสอ งการปกครอง - กรุงเทพมหานคร สภาองคการบริหารสวนจงั หวัดและนายกองคก ารบรหิ ารสว นจังหวัด - ทบวงซ่งึ สงั กัดสาํ นกั ทองถิ่นแบบ พิเศษ - เมอื งพทั ยา • เทศบาล มี 3 ประเภท คือ เทศบาลตาํ บล เทศบาลเมอื ง และเทศบาลนคร/ ประกอบดว ย นายกรัฐมนตรีหรอื 'กรงุ เทพมหานคร' สภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี กระทรวง • องคก ารบรหิ ารสวนตําบล (อบต.) พฒั นามาจากสภาตาํ บล ประกอบดวยสภาองคก าร - กรม หรอื สว นราชการที่มี บริหารสว นตาํ บลและนายกองคก ารบริหารสวนตาํ บล ฐานะเปน กรมซึง่ สังกดั สาํ นักนายกรัฐมนตรี • กรงุ เทพมหานครและพทั ยา: เปนการจัดระเบียบบริหารราชการสว นทองถิ่นรูปแบบ กระทรวง หรอื ทบวง พเิ ศษ มฐี านะเปนนติ ิบคุ คล ประกอบดวย สภากรุงเทพมหานครและผูวาราชการ กรงุ เทพมหานคร (กรุงเทพฯ) สภาเมอื งพทั ยาและนายกเมืองพัทยา (พัทยา) 1.ระเบยี บบรหิ ารราชการสวนกลาง: เปนไปตามหลกั การรวมอาํ นาจ โดยมอี าํ นาจ ศนู ยก ลางของการบรหิ ารงานอยูท ี่รัฐบาล แบงเปน นายดอน ปรมัตถวนิ ยั รองนายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี 1) สาํ นักนายกรัฐมนตร:ี มีฐานะเปนกระทรวง นายกรัฐมนตรเี ปน ผบู งั คับบัญชา นายอนทุ ิน ชาญวีรกูล นางตรนี ชุ เทยี นทอง วาการกระทรวงการตา งประเทศ 2) กระทรวงหรอื ทบวงซ่ึงมีฐานะเทียบเทา กระทรวง: แตล ะกระทรวงมีนายก รองนายกรฐั มนตรี รัฐมนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธิการ รฐั มนตรีวาการกระทรวง เปน ผูบ ังคบั บัญชาและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ิราชการ และรฐั มนตรวี าการกระทรวงสาธารณสขุ 3) ทบวงซึ่งสงั กัดสํานักนายกรัฐมนตรหี รอื กระทรวง: เปนสว นราชการที่มีสภาพหรือ ปริมาณงานที่ไมเ หมาะจะจัดตั้งเปน กระทรวงหรือทบวงทม่ี ฐี านะเทียบเทา กระทรวง มี รฐั มนตรีวาการทบวงเปน ผูบงั คบั บัญชาขาราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัตริ าชการ 4) กรมหรอื สว นราชการทมี่ ฐี านะเปน กรมซึง่ สงั กัดหรอื ไมส งั กดั สํานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง หรือทบวง: เปน สวนราชการทีร่ องลงมาจากกระทรวง มีอาํ นาจหนาทเี่ กี่ยว กบั ราชการสวนใดสวนหนึ่งของกระทรวง มีอธบิ ดีเปนผูบังคบั บญั ชาขา ราชการและรับ ผิดชอบในการปฏิบตั ริ าชการของกรมใหเปน ไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการ ปฏบิ ัติราชการของกระทรวง พลเอก ประยทุ ธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook