SOC KRU AM หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และระบบเวลาโลก SCAN เพื่อเข้าสู่เว็บไซต์สื่อการเรียนรู้
SOC KRU AM ลูกโลกและองค์ประกอบของลูกโลก
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ SOC KRU AM แผนที่ คือ สื่อรูปแบบหนึ่งที่ถ่ายทอดข้อมูล ของโลกลงในรูปกราฟิก โดยย่อส่วนมาตราและ เส้นโครงแผนที่แบบต่าง ๆ และใช้สัญลักษณ์ แทนสิ่งต่าง ๆ บนพื้นโลก
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
องค์ประกอบของแผนที่ มาตราส่วน ทำให้ทราบความสัมพันธ์ของระยะทางใน แผนที่และระยะทางจริงบนพื้นผิวโลก มาตราส่วนเส้น มาตราส่วนคำพูด มาตราสัดส่วน มาตราส่วนเส้นหรือแท่ง มี บอกมาตราส่วนด้วยคำพูด ใช้ตัวเลขแสดงมาตราส่วนของ สัญลักษณ์เป็นเส้นตรง มี เช่น ระยะทาง 1 เซ็นติเมตร แผนที่ ที่เป็นหน่วยเดียวกัน เช่น ตัวเลขกำกับ บอกค่า บนแผนที่เท่ากับระยะทาง เท่ากับระยะบนพื้นผิวโลก มาตราส่วน 1 : 50,000 เป็น จริง 500 เมตรบนผิวโลก ระยะทาง 1 ส่วน บนแผนที่ เท่ากับระยะทางจริง 50,000 ส่วนบนพื้นผิวโลก
องค์ประกอบของแผนที่
องค์ประกอบของแผนที่ ขอบระวาง ความกว้างและความยาวของแผนที่ 1 แผ่น บอกค่า ละติจูด และลองจิจูด ละติจูด: คือ เส้นสมมติที่ลากขนานกับเส้นศูนย์สูตรขึ้นไป ทางเหนือและใต้ เส้นศูนย์สูตรมีค่าเป็น 0 องศา ที่ขั้วโลก เหนือละติจูดจึงมีค่าเป็น 90 องศาเหนือ และขั้วโลกใต้ที่ 90 องศาใต้ ลองจิจูด: คือ เส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไป ยังขั้วโลกใต้ โดยมีเส้น Meridians มีค่าเท่ากับ 0 องศา และนับไปทางตะวันตก 180 องศา ไปทาง ตะวันออก 180 องศา
องค์ประกอบของแผนที่ สัญลักษณ์ เครื่องหมายที่แสดงในแผนที่ ใช้แทนของจริงในแต่ละพื้นที่ ทั้ง รูป จุด เส้น โดยแสดงทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยมีคำอธิบายประกอบ สัญลักษณ์นั้นๆ เพื่อให้ง่ายต่อการแปลความหมายแผนที่ ข้อมูลเชิงคุณภาพ: บอกชนิด ประเภท รูปร่าง ลักษณะทางกายภาพ แต่ บอกปริมาณไม่ได้ มีการจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่นสี เหลือง แสดงเขตทะเลทราย ในแผนที่แสดงเขตภูมิอากาศ สีดำแสดงเขต ยอดเขาสูง เป็นต้น ข้อมูลเชิงปริมาณ: แสดงจำนวนมากน้อย จำแนก/ จัดกลุ่มข้อมูลตามค่า ของข้อมูล เช่น แผนที่แสดงความหนาแน่นของประชากร แผนที่แสดง ปริมาณทรัพยากรน้ำมัน แสดงปริมาณน้ำฝน เป็นต้น
สัญลักษณ์เส้นชั้นความสูง สัญลักษณ์เส้นชั้นความสูง: คือ เส้นสมมติที่ลากผ่านบริเวณต่าง ๆ ของ ภูมิประเทศที่มีความสูงเท่ากัน มีตัวเลขกำกับค่าของเส้นชั้นความสูงนั้น ๆ เส้นชั้นความสูงจะต่างกันไปตามลักษณะภูมิประเทศที่ต่างกัน ถ้ามีเส้นเป็นวงกลมซ้อนกันหลายๆ ว่าแสดงว่าเป็น ภูเขายอดแหลมหรือเนินเขาโดด ถ้าซ้อนกันแบบ ถ้าเส้นความสูงเป็นวงยาว ๆ ถ้ายอดเขามีเส้นชั้นความสูงเป็นวงใหญ่ ๆ และทางเชิงเขามีเส้นชั้นความสูงชิดกัน ถี่ๆ ชิดติดกันแสดงว่ามีความสูงชันมาก ซ้อนกันแสดงว่า ยอดเขาเป็นสันยาว แสดงว่าเป็นภูเขายอดตัดที่มีขอบชัน หรือที่ เรียกกันว่า “ภู” เช่น ภูกระดึง
สัญลักษณ์แถบสี: คือ การจำแนกความแตกต่างของลักษณะภูมิประเทศทั้งที่เป็นพื้นดินและพื้นน้ำโดยใช้แถบสี - พื้นดิน: สีเขียว แสดง ที่ราบ ที่ต่ำ สีเหลือง แสดง เนินเขาหรือที่สูง สีเหลืองแก่ แสดง ภูเขา สีน้ำตาล แสดง ภูเขาสูง - พื้นน้ำ: สีฟ้าอ่อน แสดง ไหล่ทวีปหรือ เขตทะเลตื้น สีฟ้าแก่ แสดง ทะเลลึก สีน้ำเงิน แสดง ทะเลหรือ มหาสมุทรลึก สีน้ำเงินแก่ แสดง น่านน้ำที่ลึก กว่าบริเวณอื่น
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์
SOC KRU AM
เส้นแบ่งเวลา Prime Meridian of the world
สูตรการคำนวนเปรียบเทียบวันและ เวลาของโลก 0 ํ + E = กรีนินิช + ตะวันออก 0 ํ - W = กรีนิช - ตะวันตก E - E = ตะวันออก - ตะวันออก W - W = ตะวันตก - ตะวันตก E + W = ตะวันออก + ตะวันตก
SOC KRU AM
Search
Read the Text Version
- 1 - 27
Pages: