Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิศาสตร์ ม.2 : ทวีปยุโรป

ภูมิศาสตร์ ม.2 : ทวีปยุโรป

Published by orawichada.k, 2021-08-20 07:41:31

Description: ทวีปยุโรป

Search

Read the Text Version

ภมู ศิ าสตร์ ม.2 Geography ทวีปยโุ รป นางสาวอรวิชดา กาวลิ นักศกึ ษาปฏบิ ตั งิ านวชิ าชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม

ทวีปยุโรปSOC ชอ่ื -นามสกลุ ……………………………………………………………… ชั้น………………… เลขท…่ี …………… KRU AM มาสํารวจทวีป ยโุ รปกันเถอะ 1 ลกั ษณะทางกายภาพทวีปยุโรป ที่ตัง้ ขนาด และอาณาเขต ท่ีตงั้ : ซีกโลกเหนอื ระหวา งละติจูด ทศิ เหนอื ทิศตะวนั ออก 36 องศา 1 ลปิ ดาเหนอื กบั 71 องศา 10 ลปิ ดาเหนอื และระหวา ง จดมหาสมทุ รอารกติก ดิน ตดิ กบั ทวปี เอเชยี มแี นวแบง ลองจิจดู 66 องศาตะวันออก กบั 9 แดนเหนอื สุดคือ แหลมนอรทเคป คอื เทือกเขาอูรัล แมนา้ํ อรู ัล องศา 30 ลิปดาตะวนั ตก ในประเทศนอรเวย ทะเลแคสเปย น ทะเลดาํ และ เทอื กเขาคอเคซสั โดยรัสเซียและ ทศิ ตะวนั ตก ตรุ กีมีดินแดนอยทู ง้ั 2 ทวปี จดมหาสมุทรแอตแลนติก ทศิ ใต ดินแดนตกวนั ตกสดุ คอื แหลม โรกาในประเทศโปรตุเกส ติดกับทวีปเอเชียและจดทะเล เมดเิ ตอรเรเนยี น ดินแดนใตส ุดคือ แหลมตารีฟาในชอ งแคบยิบรอล ตาร ประเทศสเปน

2 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ความรูเพิม่ เติม ฟยอรด (Fjord) คอื อาวเลก็ ๆ ท่ีแคบและยาวลึกเขา ไปในฝง ทะเล ระหวางแผนดินหรอื หนา ผาสงู ชนั ตามเชงิ เขา เกิดจากน้าํ แข็งไหล เซาะกรอ นเปน รอ งลึกลงสูทะเล โดยฟยอรดที่ยาวทสี่ ุดอยูท ่นี อรเวย คอื ซองเนฟยอรด 1.เขตหินเกาทางดา นตะวันตกเฉียงเหนือ บริเวณคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวยี ประเทศฟนแลนด เกิดในยคุ หนิ เกา และถกู ธารนาํ้ แขง็ กัดเซาะในยุคน้ําแข็ง ทําให เทอื กเขาสึกกรอนและพังทลายลงกลายเปน ทร่ี าบสูง และทาํ ใหช ายฝงทะเลเวาแหวง เปนอา วขนาดเลก็ ท่ีมนี า้ํ ลกึ เรียก วา ฟยอรด พบอยทู ่วั ไป เชน แถบชายฝง ทะเลประเทศนอรเวย เขตการปกครองสก็อตแลนดข องประเทศสหราช อาณาจกั ร 2. เขตที่ราบใหญตอนกลาง เปน ทร่ี าบกวางใหญของยโุ รป ไดแ กพน้ื ที่ทางตอนใตข องประเทศสหราชอาณาจกั ร ตะวันตกของฝรงั่ เศส เบลเยยี ม เนเธอรแลนด เดนมารก ตอนเหนือของเยอรมนี โปแลนด ลิทัวเนยี ลตั เวีย เอสโตเนยี ฟน แลนด และพนื้ ทสี่ วนใหญของรสั เซีย มีความสาํ คญั ทางดา นเศรษฐกจิ มีประชากรอาศัยหนาแนน มีแมน ้าํ ไหลสายยาวไหล ผา น เชน แมน้ําไรน แซน เอลเบอ โอเดอร และวิสตูลาใชในการขนสง และใชใ นการทํา เกษตรกรรม พบทางตอนเหนอื ของทร่ี าบใหญภาคกลาง ประกอบ Baltic Shield ดวยเปลือกโลกยคุ หินเกา ทีม่ ีอายุมากกวา บริเวณอน่ื ทางฝงนอรเวย สวเี ดน และฟนแลนด SCAN เพอื่ ดูรายละเอียดเน้อื ที่ จาํ นวนประชากร เมืองหลวง และขอมลู ปลีกยอ ยของแตละ ประเทศในยุโรป

3. เขตทีร่ าบสงู ตอนกลาง Black forest ในเยอรมนี ไดแก ที่ราบสงู Meseta ตอนกลางของคาบสมทุ รไอบีเรยี ในโปรตเุ กสและสเปน ท่รี าบสงู มาซฟี รองซาลของฝรัง่ เศส Black Forest ในเยอรมนี และท่รี าบสงู โบฮีเมยี ระหวา งเสนเขตแดนของเยอรมนี เช็ก และสโลวาเกยี ดว ยความใหญโ ตบวกกบั ความลกึ ลบั นี่เองท่ที ําใหไ ดรับการขนานนามวา “ปา ดาํ ” (Black Forest) 4. เขตภูเขาหนิ ใหมตอนใต เปน เขตหินใหมท ี่เปลือกโลกยังไมสงบตวั จึงเกิดแผน ดินไหวและภเู ขาไฟปะทุบอย เปนภเู ขาสูงแนวยาว เพราะยังผาน การสึกกรอนนอย ไดแ ก เทือกเขาพีเรนสี เทือกเขาแอลป ยอดเขามงบล็อง เทือกเขาแอเพนไนน เทือกเขาไดนารกิ แอลป เทือกเขาคารเพเทยี น และเทอื กเขาคอเคซสั 3 แหลง นา้ํ ในทวปี ยุโรป 1. แมนา้ํ : ในยโุ รปมีแมน้าํ หลายสาย มกี ารขุดคลองเช่ือมตอแมน ้ําแตละสาย เพื่อใชใ นการคมนาคมขนสง และการ สรางเข่ือนเพื่อผลิตกระแสไฟฟา และการ ชลประทาน โดยแมนํ้าสําคัญในยโุ รปมี ดงั น้ี • แมนา้ํ ดานูบ: เปน แมน ํา้ สายเดียว แมนา้ํ ดานูบมี ในยุโรปที่ไหลจากตะวันตกไปตะวนั ออก ทวิ ทัศนท ่สี วยงาม ยาวเปนอันดับรองจากแมน้ําวอลกา ตลอดทง้ั สองฝง (2,850 km) เกิดจากเขตทสี่ งู ตะวันตก เฉียงใตข องเยอรมนี ไหลผา นออสเตรยี สโลวาเกีย ฮังการี เซอรเ บยี มอนเตเน- โกร โรมาเนยี และลงสูท ะเลดํา มกี าร สรา งเขือ่ นเพ่ือนํานาํ้ มาใชประโยชนใน หลายแหง

แมนา้ํ วอลกา (Volga) แมนาํ้ เอลเบอ (elbe) สามเหลย่ี มปากแมน้าํ วอลกา และ อยตู อนกลางของยุโรป เกิดจากเทอื กเขาสงู ในเชก็ ไหลผา น เยอรมนลี งทะเลเหนอื แมน ้าํ เอลเบอ เปน เสนทางสําคัญที่เชอ่ื ม ทะเลแคสเปยนเปน แหลงตกปลา ซึง่ ตอ เมอื งใหญๆ ของแตละประเทศเขาดวยกัน เชน เมืองปราก ของเช็กและเบอรลนิ ของเยอรมนี นอกจากน้ี ยงั เปน เสนทาง เมือง Astrakhan เปนศูนยก ลาง สัญจรของเรือสินคา ของอุตสาหกรรมคาเวียร แมนาํ้ ลวั ร (loire) เปนแมย าวสายยาวทสี่ ุดในยโุ รป (3,689 km) เกดิ จาก เปน แมน า้ํ ในฝร่งั เศส เกิดจากทร่ี าบสูงมาซฟี ซองตราล ไหลไป เขตท่สี งู ตะวันตกเฉยี งเหนอื ของรสั เซยี ไหลผานรัสเซยี ลงสู ทางทิศเหนือและวกไปทศิ ตะวนั ตกลงสูอาวบสิ เคย ในมหาสมทุ ร ทะเลแคสเปย น ปริมาณน้าํ มาก เดนิ เรือไดต ลอดสาย มี แอตแลนตกิ มีการขดุ คลองเช่อื มกับแมนํ้านี้หลายสาย การทาํ ชลประทานและโรงไฟฟาพลงั นา้ํ มกี ารปลูกขาว สาลีและทําอุตสาหกรรมเก่ยี วกบั ทรัพยากรแรธาตมุ ากมาย อาทิ กา ซธรรมชาต,ิ เกลอื , แรโพแตช และปโ ตรเลยี ม แมนา้ํ นีเปอร (Dnieper) อยูใ นยุโรปตะวนั ออก เกิด แมนํ้าวสิ ตูลา (vistula) จากเขตภูเขาดานตะวนั ตกของ กรงุ มอสโก ไหลผานรสั เซยี เปน แมน า้ํ ในโปแลนด เกิดจากเทือกเขาคารเพเทยี น ไหลไปทางทศิ เบลารุส และยูเครน ลงสู เหนือลงสูท ะเลบอลติก ปจจุบันมกี ารขุดคลองเชอื่ มกบั แมนาํ้ โอเดอร ทะเลดํา มกี ารสรางเขื่อนผลิต ไฟฟาและชลประทาน แมน ํ้าโอเดอร (oder) แมน า้ํ ไรน (Rhine) เกดิ จากเขตเทือกเขาทางตะวนั ตกของ เชก็ ไหลผา นโปแลนดไปรวมกับแมน ้ําไนเซ เปน แมน าํ้ สายทย่ี าวทส่ี ุดในเยอรมนี เกิดจากเทอื ก ของเยอรมนี กลายเปน พรมแดนระหวา ง เขาแอลปในสวิตเซอรแลนด ไหลผา นเยอรมนี ฝร่ังเศส โปแลนดกับเยอรมนี ไหลลงท่ที ะเลบอลตกิ และไหลลงสทู ะเลเหนือใกลเ มืองรอตเทอรด ามใน เนเธอรแลนด นอกจากน้ี แมนํ้าไรนไหลผา นยา น อุตสาหกรรมเหมืองแรถานหนิ ของประเทศเยอรมนี แมน ้าํ สายนี้จึงไดรบั สมญาวาเปน แมนํ้าถานหิน (Coal River)

2. ทะเลสาบนา้ํ จืด: สวนใหญเ ปนทะเลสาบนาํ้ จืดขนาดเล็ก เกดิ จากการกระทาํ ของ ทะเลสาบโกโม ธารนา้ํ แข็ง ไดแก ทะเลสาบตอนเหนอื ของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ประเทศ ประเทศอติ าลี ฟน แลนด รสั เซยี และทะเลสาบในเขตภเู ขาและท่สี ูงทางตอนกลางของทวีป 4 เขตภมู ิอากาศและเขตพืชพรรณธรรมชาติ ทวปี ยโุ รป SCAN เพื่ออานขอ มูลเขตภมู ิอากาศและพชื พรรณ การแบง เขตอากาศแบบเคิปเปน และปจจัยที่มี อทิ ธพิ ลตอสภาพภมู อิ ากาศในยโุ รป 5 ทรพั ยากรธรรมชาติ 1.ดนิ : แหลง ดินอดุ มสมบูรณข องยโุ รป ไดแ ก บรเิ วณยโุ รป ตะวนั ออกและยุโรปใต สวนในเขตพื้นทีส่ งู หรอื ทงุ หญา ท่ดี นิ ไมค อ ยอดุ มสมบรู ณจะใชเปนทงุ หญา เลีย้ งสัตว 2.ปา ไม: เขตภมู ิอากาศแบบไทกาในประเทศสวเี ดน ฟน แลนด และรสั เซยี เปน พน้ื ท่ีปา สนและเปน แหลงไมเ นอื้ ออ นทส่ี าํ คญั

6 สตั วในธรรมชาติ เพ่อื นๆ รูจัก สัตวช นดิ ไหน กนั บา งครบั ? บีเวอร กวางมูส สตั วใ นยโุ รปมีอยูน อ ยชนิดเพราะประสบ แบดเจอร ปญหาการลา เพ่อื ใชขน หนัง เนื้อ และ เขา และการขาดแคลนท่ีอยอู าศัย โดย สวนสตั วน ้ําก็ประสบปญ หามลพิษทางนํ้าและการจับ สัตวท ่ยี ังมอี ยมู ากไดแ ก สนุ ัขจง้ิ จอก ปลาท่มี ากเกนิ ไป สง ผลใหจ าํ นวนปลามนี อ ยลง กระตา ย นกและสตั วจําพวกกวาง มีการ ใชก วางเรนเดียรท างข้วั โลกตอนเหนอื เพื่อใชล ากเล่ือน ใชเ นื้อ นม เปน อาหาร ใชห นังทําเครือ่ งแตงกาย เต็นท เตยี ง และขนสาํ หรบั ทําฟูก 7 พลังงาน ปลาสเตอรเ จยี น มีการนาํ ไขม าทาํ คาเวยี รเปนอาหารราคาแพง 1.ถานหิน: ผลิตไดจากประเทศสหราช อาณาจกั ร ฝรงั่ เศส เยอรมนี ยเู ครน 3. นิวเคลยี ร: ประเทศท่ีใชพลังงาน 8 แร โปแลนด และโรมาเนีย นวิ เคลยี รมาก ไดแก ฝรงั่ เศส เยอรมนี สวเี ดน สหราชอาณาจกั ร แรใ นยโุ รปตองอาศยั การนําเขา 2.นา้ํ มันดิบและกา ซธรรมชาต:ิ แหลง และรัสเซีย เพราะแรในประเทศไมไ ดมปี ริมาณ ทะเลเหนือ โดยประเทศทผี่ ลิตนา้ํ มัน 4. พลงั งานนา้ํ : ประเทศที่มีการ มาก สว นแรท่ีผลติ ไดเองไดแ ก แร ดิบและกา ซธรรมชาตจิ ากแหลง นีค้ ือ ผลติ กระแสไฟฟาจากพลงั งานน้าํ ที่ เหลก็ จากสวเี ดนและฝรัง่ เศส แร นอรเวย สหราชอาณาจักร สาํ คญั ไดแ ก สวเี ดน สวิตเซอร ทองแดง ตะก่ัว สงั กะสี บอ็ กไซต และ เดนมารก เนเธอรแ ลนด สวนใน แลนด ออสเตรีย ฝรงั่ เศส และ เงนิ แหลง ทะเลดํา ประเทศทีผ่ ลติ จาก รสั เซยี แหลงน้ีไดแ ก รัสเซียและโรมาเนีย

9 ประชากร เชอ้ื ชาต:ิ ชาวยโุ รปสว นใหญเปน ชาว Caucasoid หรือชาวผวิ ขาว จํานวนประชากร (2562): ทวปี ยโุ รปมสี วน • กลุมนอรด ิก: อาศยั อยทู างดา นตะวนั ตกเฉยี งเหนือของทวีป โดย แบงประชากร 10% เปนรองทวปี เอเชีย เฉพาะแถบประเทศในคาบสมุทรสแกนดเิ นเวยี และประเทศเดนมารก (60%) และแอฟริกา (16%) โดยทวีปยุโรปมี ลกั ษณะเดนคือ มรี ปู รา งสงู ใหญ ผวิ เนยี น ผมสีทอง นัยนตาฟา และ ประชากรทงั้ หมด 729 ลานคน กะโหลกศีรษะยาว • กลุมเมดเิ ตอรเ รเนียน: อาศยั อยทู างใต เชน อติ าลี กรีซ สเปน โปรตเุ กส ลักษณะเดน รปู รา งเล็ก ผวิ คล้าํ เนียน ผมดํา นัยนตาฟา กะโหลกศรี ษะกลม • กลุมแอลไพน: อยูร ะหวา งกลมุ นอรด ิกและเมดเิ ตอรเ รเนยี น คอื บริเวณเทือกเขาแอลป ตอนกลางของทวปี ลกั ษณะเดนคอื รปู รา งเลก็ ลํา่ ผมสีนํา้ ตาล กะโหลกศีรษะกลม หมวกคดั สรรใหค าํ ตอบที ผมเปน ประชากรกลมุ ไหนในยโุ รป? ภาษาและศาสนา กลุมบอลตกิ (Baltic): ประชากรในประเทศรสั เซยี บัลแกเรีย ลัตเวยี ลิทวั เนีย และเชก็ มศี รี ษะสนั้ หนา ผากเปน วงกวา ง จมูกส้นั มผี มและ ภาษา: เปน ภาษาตระกูลอินโด-ยโู รเปยน แบง เปน 3 นยั นตาสเี ทา กลุม • กลุมภาษาเยอรมานิก • กลมุ ภาษาโรแมนซห รอื กลุม ภาษาละตนิ • กลมุ ภาษาสลาวิกหรอื สลาฟ ศาสนา: นบั ถือศาสนาคริสตมากทีส่ ุด มี 3 นิกายสาํ คญั คือ นิกายโรมนั คาทอลกิ โปรเตสแตนท และคาทอลิก การกระจายของประชากร • เขตทมี่ ปี ระชากรหนาแนน: ยโุ รปตะวนั ออกและตะวันตก • เขตทม่ี ปี ระชากรเบาบาง: บรเิ วณคาบสมทุ รสแกนดิเนเวยี และ ต้ังแตตะวนั ออกของเกาะบรเิ ตน ตอนเหนอื ของฝรงั่ เศส ตอนเหนือของประเทศรสั เซยี ทีอ่ ากาศหนาวตลอดป เบลเยียม เนเธอรแลนด เยอรมนี ที่ราบใหญต อนกลางและ ยเู ครนตะวันตกเนอื่ งจากเปนบรเิ วณท่ดี ินและนํ้าสมบรู ณ มี ทรพั ยากรแรท ีส่ ง เสริมการทาํ อุตสาหกรรม มีอากาศอบอนุ

10 เศรษฐกจิ เพือ่ นๆ คดิ วา มี • การเกษตร (การเพาะปลกู และการเลยี้ งสตั ว) ปจ จยั ใดบา งที่ การเพาะปลูก เก่ยี วของกับ การปลูกพชื หรือเลย้ี งสตั ว? การเลยี้ งสตั ว • พน้ื ท่ที เ่ี หมาะกับการเพาะปลกู : ยุโรปตะวันตก ตะวนั • ชนดิ ของสัตวจะตา งไปตามลกั ษณะ ออกและตอนใตของสหราชอาณาจักร ตอนเหนอื และ ภมู ิประเทศและภมู อิ ากาศ ตะวนั ตกของฝร่ังเศส ตอนเหนอื ของเยอรมนี และ • เลยี้ งกวางเรนเดียรใ นเขตอากาศแบบ ประเทศยเู ครน ทนุ ดราทางตอนเหนอื เลย้ี งโคเนื้อ แพะ แกะ และมา • พืชสําคญั : ขาวสาลี (ยเู ครนปลกู ไดมากสดุ ) ขาวโอต • เขตอากาศแบบทงุ หญาสเตปป (ยูเครน ฮงั การี ขาวบารเลย ขา วไรย ถั่ว และมันฝรงั่ (ปลูกไดทุก โรมาเนีย รัสเซียใต ตอนกลางมหาสมุทรไซบเี รีย) ประเทศ) • เขตอากาศแบบเมดิเตอรเรเนยี น เลย้ี งโคเนอ้ื แกะ • พืชในอากาศแบบเมดเิ ตอรเรเนียน: องนุ สม มะกอก • เขตอากาศแบบอบอุนช้ืนทางตอนเหนือของคาบสมทุ ร มะนาว แอปเปล และผลไมต า งๆ ปลูกในโปรตุเกส บอลขาน เลี้ยงสกุ รดวยขา วโพด สเปน ฝร่งั เศส อิตาลี กรซี • เขตอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝง ตะวันตก (UK • พืชเพอ่ื การใชป ระโยชน: ใบตน แฟล็กซทาํ ปานลินนิ ฝร่งั เศส เดนมารก ตอนใตข องคาบสมุทรสแกนดิเนเวยี ) ปลูกในโปแลนด ไอรแ ลนดแ ละเบลเยียม หญา ตัด ทาํ ฟารมโคนม สาํ หรบั เลี้ยงสัตว ปลกู มากในนอรเ วย • เขตทรี่ าบสงู (สวติ เซอรแลนด ออสเตรยี อติ าล)ี เลี้ยง โคนม โคเน้อื และแกะ •การประมง อา วบสิ เคย ทะเล โคนมในเขตหนาวเปนโค เมดเิ ตอรเ รเนยี น ทะเลแคสเปย น ที่ใหผลผลติ น้ํานมสงู ทะเลดํา และลมุ แมนํา้ วอลกา เปน แหลง ประมงท่ีสาํ คญั โดยประเทศที่ จับปลาไดม ากในแถบน้ีคอื ประเทศ รัสเซีย Dogger Bank เปนบรเิ วณทกี่ ระแสนํา้ อุนแอตแลนตกิ เหนอื บรรจบกับกระแสนํา้ เย็นกรีนแลนดต ะวันออก ทําใหอุณหภูมิพอเหมาะ ทาํ ใหม แี พลงตอนท่ี เปน อาหารปลาจาํ นวนมาก จึงเปน แหลง ท่ีปลาชกุ ชมุ เปนแหลงประมงท่ีสําคัญของนอรเ วย สหราชอาณาจกั ร เนเธอรแ ลนด และไอซ แลนด

10 เศรษฐกิจ •การทําปา ไม เปน ยงั ไงบา งครับ? เรียนรเู รอ่ื งทวีปยโุ รป •การทําเหมอื งแร สนกุ ไหม? แหลง ปาไมข องยโุ รปอยใู นยุโรปเหนอื เขตประเทศนอรเวย สวเี ดน ฟน แลนด และ รัสเซยี ซงึ่ เปนปา สนซงึ่ ในอดีตเคยมปี า สนและปา สนผลัดใบอยูหนาแนน นับเปน แหลง ไมเน้ือออ นท่ีนาํ ไปเย่ือกระดาษ ลงั ไม และใชในการกอ สราง แตปจ จบุ ันถูกโคน เพ่อื ใช พื้นทสี่ าํ หรบั การทาํ การเกษตรและการโคนเพ่ือใชเ นื้อไม ทําที่อยูอ าศัย สรา งเสน ทาง คมนาคมขนสง และการทาํ อุตสาหกรรม พ้ืนท่ปี า ไมใ นยุโรปปจ จบุ ันจึงเปน ปาไมทป่ี ลูก ข้นึ ใหม ไมค อรก โอก ใชทาํ จุกคอรก ผลิตในสเปนและโปรตเุ กส โดยโปรตเุ กสเปนชาติแรกทีค่ ิดคน ทาํ ไมค อรก โอก โดยแหลง ปลูกตน คอรก และผลิตจกุ ไมคอรกมากท่สี ุดในประเทศอยู บรเิ วณแควนอะเลน็ ไตยฌู ประเทศโปรตเุ กส ในยโุ รปมแี รเ หล็กและถานหินมาก เหมาะแกการพฒั นาอุตสาหกรรม สว นแรอนื่ ๆ นัน้ ยงั มีอกี หลายชนดิ ดังนี้ • ถานหนิ : ใชเปนเชอ้ื เพลิงแทนนํา้ มนั ใชใ นอุตสาหกรรมตางๆ พบ บรเิ วณตอนเหนอื ของฝร่งั เศส เกาะเกรตบรเิ ตนของสหราชอาณาจกั ร แควนแซกโซนใี นเยอรมนี ตอนใตของโปแลนด เบลเยยี ม เชก็ ยูเครน และรสั เซีย • เหล็ก: ใชใ นอุตสาหกรรมเหล็กกลา เหล็กแปรรูป เปนชิ้นสว นของ เครือ่ งจกั รกล พบทางตะวนั ออกเฉียงเหนอื และตอนกลางของเกรตบริ เตน แควน ลอวแรนของฝร่งั เศส ตอนกลางของสเปน เยอรมนี สวีเดน ออสเตรยี และยเู ครน • ปโตรเลียม: พบบริเวณทะเลเหนือในเขตสหราชอาณาจักร นอรเ วย เดนมารก และเนเธอรแลนด และทางตะวนั ออกเฉยี งใตข องโรมาเนยี และรสั เซีย • ทองแดง: ใชท าํ อุปกรณไ ฟฟาและช้นิ สว นประกอบรถยนต พบ บริเวณคาบสมทุ รสแกนดเิ นเวีย ในสวีเดน นอรเ วย รวมทง้ั ฟนแลนด สเปน โปแลนด และรสั เซีย

เขตเมอื งเกา เดรสเดิน ทาง ตอนใตของ กรงุ เบอรลิน • อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการทอ งเทย่ี วในยโุ รป อตุ สาหกรรมในยุโรปตะวันตก ทํารายไดมหาศาลในแตล ะป - การผลติ เหลก็ และเหลก็ กลา - เครอ่ื งจักรกล • การคา - เคมีภณั ฑ - สิ่งทอ สหภาพยุโรป หรือ EU - การตอ เรอื (European Union) มี บทบาทสาํ คัญมาก ในฐานะที่ สว นอุตสาหกรรมในยโุ รปตะวันออกมี เปนสมาคมการคาเสรีแหง อยใู นรัสเซีย ยเู ครน และเบลารสุ ยุโรป (European Free Trade Association - SCAN เพ่ือใชง าน Google Earth สาํ หรับ EFTA) เปน การรวมกลมุ เพื่อ การทอ งเท่ียวยโุ รปแบบออนไลน! ลดอัตราภาษีศลุ กากร ลดการ แขงขนั ทางการคา และเปด 11 การคมนาคมขนสง ตลาดการคาระหวา งประเทศ สมาชกิ การขนสง ทางบก • ทางรถยนต: ผิวจราจรเรียบและกวาง เปน ทางหลวงที่มาตรฐานสูง • สินคาเขา : อาหาร วัตถดุ ิบ เพอ่ื การผลติ นํ้ามันเชื้อเพลงิ • ทางรถไฟ: ทวปี ยโุ รปมที างรถไฟยาว 1 ใน 3 ของทางรถไฟโลก ประเทศทม่ี ีทางรถไฟเฉล่ีย • สนิ คาออก: เครื่องจักร ยาน ตอ พน้ื ทมี่ ากท่สี ุดคือ เบลเยียม ยนต อุปกรณไ ฟฟาเคมภี ณั ฑ รถไฟ TGV ของฝรง่ั เศสเปนรถไฟทวี่ ิง่ โดยตลาดการคาที่สําคัญ ไดเร็วท่สี ุดในยโุ รป โดยสามารถว่ิงได คอื ประเทศตางๆ ในยุโรป ถึง 320 กโิ ลเมตรตอ ชว่ั โมง และประเทศในอเมริกาเหนอื

การขนสง ทางนํา้ การขนสงทางอากาศ มเี สน ทางผานมหาสมุทรแอตแลนตกิ และทะเล การขนสง ทางอากาศสว นใหญเ ปนการรบั สง ผูโดยสาร เมดเิ ตอรเรเนยี น โดยมีเมอื งทาสาํ คญั ไดแ ก พัสดุ ไปรษณียภัณฑ และสินคา ราคาสูง โดยมศี ูนยกลาง อมั สเตอรด ัม รอตเทอรดาม กลาสโลว เซาแทมปต ัน การบินในเมืองหลวงและเมอื งใหญข องแตล ะประเทศ เนเปลส มารแ ซย บารเซโลนา การตดิ ตอ สอื่ สาร ในยโุ รปมกี ารขุดคลองเช่อื มแมน าํ้ สายตางๆ และเชอ่ื ม ระหวา งแมน ้ํา ทะเล และทะเลสาบ การติดตอส่อื สารท้งั ภายในประเทศ ภายนอกประเทศ และ ระหวา งทวีป มีการใชโทรศัพท จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส (E-mail) และระบบอนิ เทอรเ นต็ ท่คี วามกา วหนามาก 12 ภยั พิบตั ิในทวีปยุโรป ปญ หาภัยพิบัตกิ เ็ ก่ียวขอ งกบั ลักษณะภูมปิ ระเทศและการกระทํา ของมนษุ ยเหมือนกันนะ อทุ กภัยท่ีฝรง่ั เศส ป พ.ศ. 2561 อทุ กภยั ทีฝ่ ร่งั เศส ป อุทกภัย (Flood) พ.ศ. 2559 เปน ภยั ที่เกิดจากนา้ํ ในลาํ นา้ํ แอง นํ้า หรือทะเลสาบ อทุ กภัยในยุโรปตอนกลาง เกิดการไหลลน ตลง่ิ หรอื นํ้าทว มฉบั พลนั ในพ้นื ทห่ี น่งึ ป พ.ศ. 2556 เน่ืองมาจากฝนตกหรอื หิมะละลาย ทาํ ใหแ หลงน้ํา ธรรมชาตไิ มส ามารถรองรับนาํ้ ปรมิ าณมากได • สาเหต:ุ ฝนตกหนกั จนพายหุ มุนนอกเขตรอน เปน พายุท่เี กดิ ในเขตละตจิ ดู กลางและเขตละตจิ ูดสงู บรเิ วณยุโรปตะวันตก ทําใหเกิดฝนตกหนัก ปรมิ าณนาํ้ มากจนระบายออกไมทัน จึงเกดิ นา้ํ ทว มฉบั พลนั บริเวณพ้ืนทร่ี าบเปนวงกวาง

อุทกภัย (Flood) scan เพ่อื อา น ขา วนาํ้ ทว มใน • ผลกระทบ: การสญู เสยี ชวี ิตและทรพั ยส ิน การเกดิ โรค ระบาดท่มี ากบั นา้ํ เกดิ ความเสยี หายทางเศรษฐกจิ และการ กรงุ ปารีส เกิดแผน ดินถลมตามมา โดยเฉพาะในพนื้ ท่ลี าดชันเชงิ เขา ฝรง่ั เศส หรือทล่ี มุ ใหลเ ชิงเขา • แนวทางการจัดการ: • แนวทางการจัดการ: 3. หลงั เกดิ ภัย: ทําความสะอาดบานเรือน ภาครฐั ใหความชวย 1.กอนเกดิ ภยั : สรางเขอื่ นและพนังก้นั นํา้ เพ่ือจาํ กดั การ ไหลของน้ําขณะเกดิ น้าํ ทวม ขุดลอกคคู ลอง กาํ จดั เหลือฟนฟแู ละเยียวยาผปู ระสบภยั และบรู ณะซอมแซมสาธารณปู โภค วัชพืชเพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพในการระบายนาํ้ ไมตดั ไม ทเ่ี สียหาย ดแู ลรกั ษาพนื้ ท่ีตนนาํ้ ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติในบรเิ วณ ทําลายปา เพือ่ ใหม ีทด่ี ดู ซับและชะลอการไหลของน้าํ พื้นที่ตน นํา้ อยา งเหมาะสมเพ่ือปอ งกันอุทกภัยและภยั ธรรมชาติอ่ืนๆ ใหข อมลู ความรแู กป ระชาชนและมีการเตือนภยั ลว ง หนา ตดิ ตามขา วสารอยูเ สมอ เตรียมอุปกรณท จ่ี าํ เปน และเคล่ือนยา ยของไปยังที่สงู 2.ขณะเกดิ ภัย: ตดิ ตามขา วสาร รับฟง คาํ แนะนําเมอ่ื เกดิ ภยั อยใู นอาคารบา นเรอื นทแี่ ขง็ แรงและอยสู งู จากนา้ํ ตดั กระแสไฟและปด แกสหุงตม ไมเ ขาใกลอ ปุ กรณ ไฟฟา สายไฟ เสาไฟ ไมขบั ขย่ี านพาหนะฝา กระแสนาํ้ ไมค วรเลนน้าํ ในบรเิ วณน้าํ ทวม ระวงั สัตวมพี ิษ คลื่นความรอ น (heat wave) เปน ปรากฏการณความรอ น เกิดตามธรรมชาตทิ ่ีสภาวะ อากาศมีอุณหภูมิสงู กวา ปกติ (มากกวา 35 องศาเซลเซยี ส) ตดิ ตอ เปน เวลานานหลายวนั หรือหลายสปั ดาห มักเกิดในฤดู รอน แผนทีแ่ สดงบรเิ วณท่เี กดิ คล่ืน • สาเหตุ: อากาศรอ นจดั สะสมในบรเิ วณใดบรเิ วณหน่ึงใน ความรอนในยุโรป พ.ศ. 2559 แผนดิน หรอื กระแสลมแรงจากทะเลทรายในแอฟรกิ าพัดพา มา เกิดความแปรปรวนของความรอ นในอากาศ อณุ หภมู สิ งู ผดิ ปกติ หรือการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศก็เพ่ิมโอกาส การเกดิ คลื่นความรอ นดวย คลื่นความรอนเห็นไดช ดั ในแถบ ภมู ิภาคยุโรปตะวันตกและยุโรปใต เชน อติ าลี สเปน โปรตเุ กส ฝร่งั เศส

คลืน่ ความรอ น (heat wave) • ผลกระทบ: 1.เพ่ิมโอกาสการเกิดไฟปามากขึน้ : อณุ หภมู ทิ ่ีเพ่ิมขึน้ ลมแรง เปน เชือ้ ไฟอยางดี ทาํ ใหพ ืชพรรณถูกทําลาย เสยี หาย สัตวป ามีจํานวนลดลง 2.เกิดความเจ็บปว ยจากโรคทเ่ี ก่ยี วกบั ความรอน: เชน ออนเพลีย เหนือ่ ยลา หากรุนแรงมากอาจเปนโรคลม แดด (Heat stroke) ถงึ ขัน้ เสียชวี ติ ได 3.สนิ้ เปลืองพลงั งานมากข้ึน: จากการใชเคร่ืองปรบั อากาศหรือพดั ลมเพือ่ ชว ยทําความเย็น • แนวทางการจัดการ: 1.กอนเกิดภยั : ตดิ ตามขา วสาร เตรยี ม มาน มลู ี่ หรือกนั สาดเพ่ือปอ งกนั แสงแดดเขา บา น ตรวจสอบการ ทาํ งานของอปุ กรณทาํ ความเย็น มี การเตอื นภัยลวงหนา และใหขอมูง ความรแู กป ระชาชน 2.ขณะเกดิ ภัย: ติดตามขา วสารอยาง ใกลชิด เม่อื ออกไปกลางแดดตอง สวมหมวกหรอื กางรม ทาครมี กนั แดด เปดอปุ กรณเคร่ืองใชไ ฟฟา เชน แอร พัดลม เพ่ือบรรเทาความ รอน ดม่ื น้ําเพอ่ื ปองกันการขาดน้าํ 3.หลังเกิดภยั : ชวยกนั ประหยดั พลงั งาน ดแู ลไมใหมกี ารตัดไมท าํ ลาย ปา ฟนปปู า ไมและแหลง ตน นํา้ เพอื่ คง ความชุม ชื้น Scan เพ่ืออาน เหตกุ ารณค ลนื่ ความรอนในยโุ รป รูปภาพจาก: กระทรวงสาธารณสขุ

แผน ดินไหว (earthquake) เปน ภยั ท่เี กิดจากการสั่นสะเทือนของเปลอื กโลก ในระดบั รนุ แรงทมี่ ากกวา 5 รกิ เตอรข ึ้นไป กอใหเ กดิ การสญู เสยี ชีวติ และทรัพยส นิ • สาเหต:ุ การเคลอ่ื นตัวของรอยเล่ือนแผนธรณีภาค ทาํ ใหม ีการสะสมแรงเคนและความเครยี ดอยา งชาๆ ใตเ ปลือกโลก เมือ่ เกิดความเครยี ดสูงสดุ รอยเลอ่ื นใน แผน เปลือกโลกจงึ ปลดปลอยพลังงานทสี่ ะสมเปน คลืน่ ไหวสะเทอื น พื้นทีส่ วนมากของยโุ รปต้งั อยูบน แผนเปลือกโลกยูโรเซยี และในยโุ รปใต ไดแ ก อติ าลี กรซี ต้งั อยูบ นรอยเลอ่ื นแอฟรกิ า เมอื่ แผนเปลือกโลก เคลือ่ นตวั จงึ เกดิ แผน ดินไหวตามมานนั่ เอง • ผลกระทบ: เกิดความเสยี หายตอ ชีวตี และทรพั ยสนิ เกดิ แผนดนิ แยก แผน ดนิ ทรดุ สงผลตอทอ แผน ดินไหวที่ประเทศ แกส หงุ ตม ทอนาํ้ ทิ้งอาจแตกรวั่ และทาํ ใหเกดิ ไฟไหมต ามมา ทําใหร ะบบเศรษฐกิจชะงกั เพราะ อิตาลี ป พ.ศ. 2559 ระบบคมนาคมและระบบการสอื่ สารถูกทาํ ลาย เกดิ ภัยพบิ ัตอิ นื่ ๆ ตามมา เชน สึนามิ แผนดนิ ถลม • แนวทางการจัดการ: 1.กอนเกิดภัย: ตรวจสอบความแข็งแรงของสภาพอาคารบา นเรือน สิง่ กอ สรา ง และเครือ่ งใชในบาน จัดการฝก ซอมหลบภนั และรณรงคใหความมูลเกย่ี วกบั แผนดินไหว ตดิ ตามขาวสารและเตรียมอปุ กรณท่จี าํ เปนไวใ กลต วั 2.ขณะเกิดภยั : หากอยใู นบา นใหหมอบหรอื หลบในทีก่ ําบงั ทแ่ี ข็งแรง เชน ใตโ ตะ ใตเ ตยี ง ออกหา งจากประตู หนา ตาง กระจก หากอยูในอาคารสงู ใหเ ล่ียงการใชลฟิ ท ออกหา งจากอาคาร เสาไฟฟา หากเกิดแผน ดนิ ไหวขณะขบั รถ ควรหาท่ี จอดรถและอยูใ นรถจนกวา จะปลอดภัย 3.หลงั เกดิ ภัย: สาํ รวจตนเองและคนรอบขาง หากมกี ารบาดเจบ็ ควรปฐมพยาบาลและนาํ สงโรงพยาบาล ตรวจดูความเสีย หายของอาคารสถานที่ หากพบความผดิ ปกติควรรีบออกจากอาคาร หากอยูนอกบา น อยากลบั บา นจนกวาจะไดรบั การ ยืนยนั จากเจา หนา ทว่ี าปลอดภัยแลว แผนดนิ ไหวที่จังหวัดอิซเมียร ตะวันตกของตรุ กี ป พ.ศ. 2563

การปะทุของภูเขา ในประเทศไอซแลนด เกิดการปะทขุ ึน้ 3 ครงั้ ในป พ.ศ. 2553 ไฟเอยาฟยาตลาเยอคุตส เปนผลจากการเกิดแผน ดนิ ไหวโดยรอบภูเขาไฟในปลายป พ.ศ. 2552 การปะทุคร้งั แรกเกิดลาวาทมี่ ีความหนดื และมคี วามรอน สงู การปะทคุ รง้ั ที่ 2 มีเถา ธลุ ภี เู ขาไฟพุงข้ึนไปในอากาศ สง ผลก ระทบตอการจราจรทางอากาศในทวปี ยโุ รป วาตภัยในทวปี ยโุ รป พายุหมุนนอกเขตรอน พ.ศ. 2558 เกดิ พายุรุนแรงระดับเฮอรร ิเคน ช่อื นคิ ลาส พดั ถลม ตอนเหนอื ของ สรา งความเสยี หายใน ยุโรป บา นเรอื นในเนเธอรแ ลนดเสยี หาย มีผูเ สียชีวิต เสน ทางขนสง คมนาคมใน ยโุ รปเปนอยางมาก เยอรมนถี กู ปดและยกเลิก เกดิ ไฟฟา ดบั และตนไมห ักโคนในหลายพืน้ ทข่ี องเบลเยยี ม พ.ศ. 2556 เกิดพายุรุนแรงในทางตอนเหนือ พ.ศ. 2560 เกดิ พายุรนุ แรงในโปแลนด ทําใหตน ไมหักโคน กดี ขวางถนน ของยุโรป สรางความเสียหายแกร ะบบคมนาคม ประชาชนไมม ไี ฟฟา ใช อาคารบา นเรอื นเสียหายจํานวนมาก เกิดแกส รัว่ ไหล ขนสง ถนนถูกตดั หลายเสน ทาง สะพานระหวาง จากสถานีขนสงแกสธรรมชาติเหลว สว นในเยอรมนีและเช็ก เกดิ นาํ้ ทวมใน สวีเดนและเดนมารกถูกระงับการใชงาน เสน ทาง หลายพน้ื ที่ รถไฟเสยี หายจนตอ งหยดุ ใหบ รกิ าร มีผูเสยี ชวี ิต 6 คน รถไฟทางตอนเหนอื ของสหราชอาณาจกั ร สวเี ดน และเดนมารกมซี ากเศษปรกั หกั พังกดี ขวางเสน ทาง พายหุ มุนนอกเขตรอ นลกู หน่งึ เหนือมหาสมุทร เสน ทางทะเลและอากาศถกู ยกเลกิ ในเขตการ แปซิฟกตอนเหนือ ในเดอื นมกราคม 2560 ปกครองสกอตแลนดต องเผชิญกับกระแสลมแรงถงึ 228 กิโลเมตรตอ ชว่ั โมง ในเขตการปกครององั กฤษ เกดิ พายซุ ัดฝง เกิดน้าํ ทว มหลายแหง ทาํ ใหมผี ูเ สยี ชีวติ 4 คน ความรูเพิ่มเติม พายุหมุนนอกเขตรอน หรือ พายุหมนุ คล่นื เกดิ ในบริเวณความกด อากาศตาํ่ ทาํ ใหท องมีเมฆมาก มีฝนตกปรอยๆ ไปจนถงึ พายุฝนฟา คะนอง พายหุ ิมะ และทอรน าโด นอกจากนี้ พายหุ มุนนอกเขตรอ นยัง ทําใหเกดิ การเปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ิและจดุ นาํ้ คางอยางรวดเร็วตามแนว ปะทะอากาศอกี ดว ย

เกิดอะไรข้ึน ผลกระทบจารการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ในยุโรปบาง ของโลกในยโุ รป ไปดกู นั เลยย ยโุ รปมอี ัตราการปลอยกาซเรือนกระจกลดลงถงึ ปจ จุบันทร่ี อ ยละ 22 โดนมเี ยอรมนี ทีป่ ลอ ยรอ ยละ 21 ของปรมิ าณทง้ั หมดทีย่ โุ รปปลอ ยออกมา แตถงึ จะลดการปลดปลอย แตก็ทาํ ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศโลกอยา งตอ เนือ่ ง โดยเฉพาะการเกดิ ภาวะโลกรอน ป พ.ศ. 2558 เกดิ คลื่นความรอ นรุนแรงแผป กคลมุ ทวีปยุโรป ไฟปาในฝรัง่ เศส ป พ.ศ. 2560 ตงั้ แตส หราชอาณาจักร สเปน โปรตเุ กส อิตาลี เยอรมนี ไปถงึ ตอนใต ของของสวีเดน มอี ุณหภมู สิ ูงถงึ 44 องศาเซลเซยี ส นานถงึ 2 สัปดาห เปนสาเหตกุ ารเกดิ ไฟปาดานตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศ พ.ศ 2560 เกิดไฟปา ในฝร่งั เศส ผลาญพน้ื ทม่ี ากกวา 4,000 เฮกตาร มีการอพยพประชาชนออกจากพน้ื ท่ีกวา หมนื่ คน สวนใน โปรตเุ กสกเ็ กดิ ไฟปาในหลายพนื้ ท่ี มผี เู สยี ชวี ติ มากถงึ 60 คน และ ตอ งอพยพประชากรกวา 10 หมูบา นออกจากพน้ื ท่ี 13 การจัดการภัยพบิ ตั ใิ นทวปี ยโุ รป ไฟปาในทีร่ าบภาคกลางในโปรตุเกส 1. ระบบการแกไขปญ หาจากภยั พบิ ตั ิของสหภาพยโุ รป: ป พ.ศ. 2562 ป พ.ศ. 2560 จดั ตั้ง rescEU เพอื่ ตอสูก บั ภยั พบิ ตั ทิ ่ีเกิดขนึ้ ในยุโรป โดยเฉพาะภัยพบิ ตั ทิ เี่ กิดขน้ึ ในป พ.ศ. 2560 ระบบของ rescEU จะชวยเหลอื สนับสนุนดูแลปกปองประชาชนจากภัย พบิ ัติ รวมถึงสนบั สนนุ อุปกรณหรอื หนวยงานตางๆ เพอื่ ชวย เหลอื ประชาชนและพน้ื ที่หลังประสบภยั พบิ ัติ 2. นโยบายเกยี่ วกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ: สหภาพยโุ รปเปนสวนสําคญั ในการตออายพุ ธิ สี ารเกียวโตออกไปถงึ ป พ.ศ. 2563 และรวมสนบั สนนุ มหประเทศตา งๆ เปด เผยขอมลู เกย่ี วกบั อัตราการปลอ ยกา ซเรอื นกระจกและเปา หมายการลดการ ปลอ ยกา ซ มีการกาํ หนดเปา หมายในการลดการปลอ ยกา ซจากรอ ยละ 15 เปนรอยละ 18 และใหไดถ งึ รอ ยละ 40 ในป พ.ศ. 2573 และใหเงินสนับสนุนการแกไ ขปญหาแกป ระเทศกําลังพฒั นา

13 การจดั การภยั พบิ ัติในทวปี ยุโรป ระบบ rescEU นโยบายเก่ียวกบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เปา หมาย ทาํ งานภายใต ตอ อายพุ ิธสี ารเกยี วโต เปาหมาย กลไกการคุมครองพลเมือง พ.ศ. 2563 ลดกาซเรอื นกระจกรอ ยละ 40 ผา นศูนยป ระสานงานฉุกเฉิน ในป พ.ศ. 2573 1.เพ่ิมขดี ความสามารถในการตอบสนองตอ ใหเ งนิ สนับสนุนในการแกไขปญหาแกประเทศทก่ี าํ ลังพัฒนา เหตกุ ารณ พวกเราตองชว ยกันดูแล 2.เพม่ิ ขีดความสามารถในการปองกนั และเตรยี ม สิ่งแวดลอ มนะครบั เพอื่ นๆ พรอ ม 14 การจดั การส่งิ แวดลอ มในทวีปยโุ รป • ปญหาสงิ่ แวดลอมในทวปี ยโุ รป 2. ปญหามลพิษทางอากาศ: สวน ใหญเกิดจากโรงงานอตุ สาหกรรม ควัน จากรถยนต และการตดั ไมท าํ ลายปา ในยุโรปตะวนั ตกประสบปญ หานี้มาก 1.ปญหาการตัดไมเทาํ ลายปา : โดย เฉพาะประเทศรัสเซียท่ีมพี นื้ ที่ปา ถูก ทําลายไปกวา 20,000 ตาราง กิโลเมตร ในทกุ ป

14 การจดั การส่ิงแวดลอมในทวปี ยุโรป • ปญหาสิ่งแวดลอ มในทวปี ยุโรป 3. ปญ หาฝนกรด: เกดิ จากกาซซลั เฟอรไ ดออกไซดและกา ซ ไนโตรเจนไดออกไซดจ ากการเผาไหมเช้อื เพลงิ ฟอสซลิ ใน เยอรมนี ฝนกรดทําลายพน้ื ทป่ี าไม 1 ใน 3 ของพนื้ ที่ท้งั หมด ในพ้นื ที่ราบสงู แบลค็ ฟอเรสต ทะเลสาบหลายแหงในสวีเดน และตอนใตของนอรเ วยท ส่ี ารพิษปนเปอ นอยูในชน้ั นาํ้ แข็ง และละลายลงสูทะเลสาบ นอกจากน้ี ฝนกรดยงั ทาํ ลาย อาคารบานเรอื นและโบราณสถานตา งๆ ในกรซี สหราช อาณาจกั ร และเยอรมนี พลาสตกิ เกยชายหาดทีอ่ นิ เดยี 4. ปญ หามลพิษทางน้ํา: สาเหตุสําคัญมาจากการเพมิ่ ขน้ึ ของจํานวนประชากร การเจรญิ เติบโตของระบบ อตุ สาหกรรมตา งๆ ความรงุ เรอื งของการทองเทีย่ วในทวีป และการพฒั นาเสนทางคมนาคม โดยบริเวณท่ีประสบปญหา มากคอื แนวชายฝง ทะเลเมดิเตอรเ รเนยี น แมน้ําไรนใ น เยอรมนี แมน ้าํ เมิสในฝรั่งเศส แตในขณะเดียวกนั ชายฝง ทะเลบอลติกทางเหนือของเยอรมนี เปนบรเิ วณที่ประสบ ปญ หามากที่สดุ ในปจจุบนั 5. ปญหาพลงั งานขาดแคลน: การเพม่ิ ขึ้นของจํานวน ประชากรทาํ ใหค วามตองการในการใชพลังงานเพ่มิ ขึ้น ใน พ.ศ. 2556 ประเทศในสหภาพยุโรปนําเขา น้าํ มันถงึ รอยละ 87 และ กา ซธรรมชาติรอ ยละ 65 มีเพียงเดนมารก ทส่ี งออกพลังงาน มากกวา นาํ เขา

15 การจัดการส่งิ แวดลอ มในทวีปยุโรป Scan เพ่ือเยีย่ มชม หนาเว็บไซต • แนวทางการจดั การส่งิ แวดลอ มในทวีปยุโรป องคก รส่งิ แวดลอ มยุโรป (The European Environment Agency) เปนศนู ยข อ มลู ขาวสารเกยี่ วกบั ส่งิ แวดลอมในยโุ รป รวมทง้ั การลงนามในสัญญา ตางๆ ท่เี ก่ยี วขอ งโดยมีนโยบายและแนวทางการจดั การส่งิ แวดลอมของสหภาพ ยโุ รป ดังนี้ แผนปฏิบัติการดานส่งิ แวดลอม 1.ปญ หาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ตัง้ เปา 4. ระเบียบ WEEE (Waste Electronical and Electronic หมายลดการปลอยกาซเรือนกระจกลงรอ ย Equipment) วาดวยการทง้ิ เศษผลิตภณั ฑประเภทเครื่องใชไ ฟฟาและ ละ 40 ในป พ.ศ. 2573 อเิ ล็กทรอนิกส ลดการใชพลงั งานในการทําลายขยะ และนําทรพั ยากร กลับมาใชอกี ครง้ั ระเบยี บ Eco-Design ลดผลกระทบดา นสงิ่ แวดลอ ม 2.ความหลากหลายทางชีวภาพ กําหนดใหป จากสินคาท่ีตอ งใชพลังงาน ยกเวนรถยนตตรา Eco-labeling ที่เปน พ.ศ. 2563 เปน ปแ หงความหลากหลายทาง ฉลากประหยัดพลงั งานทีใ่ หแ กผ ลติ ภณั ฑแ ละบริการท่รี ักษา ชวี ภาพของยโุ รป ส่งิ แวดลอมตามเงือ่ นไขของคณะกรรมาธกิ ารยโุ รป 3.ระเบียบการจาํ กัดการใชส ารเคมอี นั ตราย 6 ชนดิ เพอื่ ปอ งกันเกดิ มลพษิ และหาทางกําจดั มลพษิ ไดแ ก สารตะกว่ั ปรอท แคดเมยี ม เฮก ซะวาเลนท โครเมียม โพลีโบรมิเนทเตดไบฟ นลิ และโพลโี บรมิเนทเตดไดฟน ลิ อีเทอร และ ควบคุมระเบียบควบคุมการจดทะเบยี นสาร เคมี เพ่ือควบคุมการผลติ การใช และการ จาํ หนายสารเคมีท่ีเปนอนั ตรายตอ สุขภาพและ สิง่ แวดลอม

15 การจัดการส่งิ แวดลอมในทวีปยโุ รป เพื่อนๆ ทราบไหมครับ วา ประเทศไหนใน • แนวทางการจัดการสง่ิ แวดลอ มในทวีปยโุ รป ยโุ รปทใี่ ชพลังงาน ทดแทนมากท่สี ดุ ? การใชพ ลังงานทดแทน ขอมลู จาก www.tcels.or.th ป พ.ศ. 2559 สวเี ดนมกี ารใชพลังงานทดแทน มากทสี่ ดุ ในทวีปยโุ รป (รอยละ 53.8) ตามดว ย ฟนแลนด ลตั เวีย ออสเตรีย และเดนมารก โดยรวม ทง้ั ทวีป มีการใชทดแทนสูงที่ รอ ยละ 17 ของการใช พลงั งานท้ังหมด และจะเพ่มิ เปนรอยละ 20 ใน พ.ศ. 2563 ประเทศเยอรมนเี ปน ประเทศท่ีผลติ ไฟฟา จาก กระแสพลงั งานลมไดมากท่ีสดุ (พ.ศ. 2560) ประเทศ สหราชอาณาจกั รผลติ กระแสไฟฟา จากเซลลแสง อาทิตยไ ดม ากที่สุด (พ.ศ. 2557) สหภาพยโุ รปมกี ารออกกฎควบคุมการใชสาร ทาํ ลายช้นั โอโซน ออกนโยบายเกษตรรวมเพ่ือรักษา พืน้ ทป่ี า ไม (พ.ศ. 2553) ออกกฎควบคุมการนาํ เขา ไมท่ผี ดิ กฎหมายในตลาดของสหภาพยุโรป (พ.ศ. 2555) และออกนโยบายประมงรวมเพ่อื รกั ษา ทรพั ยากรสตั วน ้าํ ตลอดจนระบบนเิ วศชายฝงทะเล NOte …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook