เลม่ ที่ 1 เร่ือง ความรทู้ ่ัวไปเกี่ยวกบั กฬี าวอลเลย์บอล 6 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้เมื่อจบบทเรยี นนกั เรยี นสามารถ 1. บอกประวตั ิ ความเปน็ มา ประโยชน์และคุณค่าของกฬี าวอลเลยบ์ อลได้ (K) 2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมเกี่ยวกับขั้นตอนการเลน่ วอลเลย์บอล (P) 3. นักเรียนมคี วามต้งั ใจในการทากิจกรรม และมีความสนกุ สนานในการปฏิบตั กิ จิ กรรมได้ (A)
เล่มที่ 1 เรอื่ ง ความรทู้ ่ัวไปเกี่ยวกบั กฬี าวอลเลยบ์ อล 7 แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง ความรทู้ ั่วไปเกี่ยวกบั กีฬาวอลเลยบ์ อลจานวน 10 ข้อ 10 คะแนนคาช้ีแจง ให้นกั เรียนเลอื กคาตอบท่ีถูกทส่ี ุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเคร่ืองหมาย × ลงใน กระดาษคาตอบ1. กีฬาวอลเลย์บอลดัดแปลงมาจากกีฬาประเภทใด ก. เทนนิสและเบสบอล ข. เทนนิสและแฮนดบ์ อล ค. เบสบอลและแฮนดบ์ อล ง. แฮนด์บอล เบสบอล และเทนนสิ2. ลูกวอลเลยบ์ อลทใ่ี ชเ้ ลน่ ครง้ั แรกมีลกั ษณะอย่างไร ก. ใช้ยางในฟตุ บอล ข. ใชย้ างในลกู แฮนด์บอล ค. ใชย้ างในบาสเกตบอล ง. ใช้ยางห้มุ ดว้ ยหนัง3. ผู้ทีไ่ ด้ช่ือวา่ เป็นบดิ าแหง่ กีฬาวอลเลยบ์ อล ก. อลั เฟรด ที แอสสตีด ข. วิลเลยี ม จี มอรแ์ กน ค. ดร. จอร์ เจฟชิ เธอร์ ง. ดร. ลเู ธอร์ แอสซี กสู กิ4. ข้อใดไม่ควรทาในการดแู ลรกั ษาสุขภาพ ก. ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ ข. ดม่ื น้าเกลือแรเ่ ป็นประจา ค. การพกั ผ่อนอย่างเหมาะสม ง. การรับประทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่
เลม่ ที่ 1 เร่ือง ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกับกีฬาวอลเลย์บอล 85. การออกกาลังกายมปี ระโยชนต์ ่อรา่ งกายในด้านใดมากที่สดุ ก. ช่วยให้หายเครียด ข. ชว่ ยทาให้ไมเ่ จบ็ ปว่ ย ค. ชว่ ยใหน้ อนหลบั ได้ดีข้ึน ง. ชว่ ยใหส้ ุขภาพร่างกายแขง็ แรง6. ประโยชนข์ องการเล่นกีฬาวอลเลยบ์ อลด้ายสังคมคือข้อใด ก. ความสามัคคี ข. ความแขง็ แรง ค. ความทนทาน ง. ความแคล่วคลอ่ งว่องไว7. เหตใุ ดจึงมีการอบอนุ่ รา่ งกายกอ่ นการเลน่ กีฬาวอลเลย์บอล ก. เพือ่ ใหเ้ กิดความสนุกสนาน ข. เพื่ออวดค่ตู ่อสู้วา่ มีความเข้มแข็ง ค. เพอื่ ทาตามกตกิ าทร่ี ะบไุ วใ้ หม้ ีการอบอนุ่ ง. เพ่อื เปน็ การเตรียมให้กลา้ มเนือ้ ของรา่ งกายส่วนต่าง ๆ ไดท้ างาน8. ท่ากายบริหารทเ่ี หมาะสมกบั กีฬาวอลเลย์บอลมากท่สี ุดคือข้อใด ก. ท่าดันพืน้ ข. ทา่ นอนผลกั ขา ค. ท่ายืดหมนุ ไหล่ ง. ทา่ ยืนกระโดดเข่าแตะอก9. การปฐมพยาบาลที่ใช้ความรอ้ นประคบคือข้อใด ก. ฟกชา้ ข. กล้ามเน้ือฉีก ค. การเปน็ ตะคริว ง. กระดกู หัก10. การปฐมพยาบาลคนเปน็ ลมควรทาอย่างไร ก. เชด็ ดว้ ยผา้ เย็น
เลม่ ที่ 1 เรื่อง ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับกฬี าวอลเลย์บอล 9ข. ด่มื นา้ ชาร้อนค. ดมื่ นา้ เยน็ง. ทาการผายปอด กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง ความรู้ท่วั ไปเก่ยี วกบั กีฬาวอลเลยบ์ อลช่ือ - สกลุ ..................................................................... ชน้ั ............ เลขที่ .............. ข้อท่ี ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
เลม่ ที่ 1 เร่ือง ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลย์บอล 10 ใบความรู้ท่ี 1 เร่อื ง ความรู้ท่วั ไปเกยี่ วกับกีฬาวอลเลยบ์ อลประวตั ิความเป็นมา กีฬาวอลเลย์บอลเร่ิมขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1895 โดยนายวิลเล่ียม จี มอร์แกน (WilliamG. Morgan) ซ่ึงขณะนัน้ ดารงตาแหนง่ เป็นผูอ้ านวยการด้านพลศึกษาแห่งสมาคม วาย เอ็ม ซี เอ (YMCA= Yong Man’s Christion Association) ตั้งอยู่ท่ีเมืองโฮลโยค (Holyoke) มลรัฐแมสซาซูเซตส์ประเทศสหรัฐอเมรกิ า สาเหตุ ทค่ี ดิ กีฬาวอลเลย์บอลข้นึ มามสี าเหตุ 3 ประการ คอื 1. เพื่อใหเ้ ป็นกีฬาในร่ม สาหรับคนท่มี ีอายมุ าก หรือนักธรุ กจิ แทนกีฬาบาสเกตบอล 2. เพอ่ื ใหเ้ ป็นกฬี า ท่ใี ชเ้ ลน่ ในโรงยิมเนเซยี่ มขนาดเล็กในฤดูหนาวได้ 3. เพอ่ื ใหผ้ ู้ใหญไ่ ดม้ โี อกาสออกกาลงั กายและพบปะสงั สรรค์ แรกเร่ิมทีเดียวนั้นได้คิดดัดแปลจากการเล่นเทนนิส เบสบอล และแฮนด์บอลเข้าด้วยกันโดยท่ีเขาได้สร้างอุปกรณ์ และวางกติกาข้ึนเองโดยใช้ยางในลูกบาสเกตบอลใช้ตาข่ายเทนนิสขึงไว้สูง 6 ฟุต6 น้ิว ระหว่างเสา 2 ต้นในโรงยิมเนเซี่ยม ลักษณะการเล่นโดยการตีลูกบอลข้ามตาข่ายแล้วโต้ตอบข้ามตาข่ายไป – มาปรากฏว่าการเล่นทานองนี้ผู้เล่นได้รับความสนุกสนานจึงให้ช่ือการเล่นนี้ว่า“ มนิ โตเนต ” (Mintonette) ค.ศ. 1896 มีการประชุมสัมมนาทางด้านพลศึกษา ที่มหาวิทยาลัย สปริงฟิลด์ (SprigfieldCollege) และในการประชุมคร้ังนี้ ดร.ลูเซอร์ แฮลซีย์ กูลิก (Dr.Luther Halsry Gulick) ผู้อานวยการโรงเรียนฝึกพลศึกษาอาชีพและกรรมการบริหารด้านพลศึกษาของสมาคมวาย เอ็ม ซี เอ ได้เชิญให้นายวลิ เล่ียม จี มอร์แกน นาเกมนม้ี าสาธิตใหผ้ ู้เขา้ รว่ มสมั มนาชม โดยใช้ผ้เู ล่นฝา่ ยละ 5 คน นายมอร์แกน ได้อธิบายว่า เกมใหม่น้ีช่ือว่า “ มินโตเนต ” (Mintonette) ได้คิดขึ้นมาเพื่อใช้สาหรับการเล่นในโรงยิมเนเซ่ียม แต่อาจใช้สาหรับการเล่นกลางแจ้งก็ได้ ซ่ึงผู้เล่นสามารถเล่นลูกบอลโดย ไม่มีสิ่งกีดขวางเหนือความสูงของตาข่ายจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหน่ึง เกมการเล่นเป็นการผสมผสานระหวา่ งเกม 2 ประเภท คือ เทนนิสและแฮนด์บอล
เล่มที่ 1 เร่ือง ความรทู้ ่วั ไปเก่ียวกับกฬี าวอลเลย์บอล 11 หลังจากได้ชมการสาธิตและฟังการบรรยาย ของ นายมอร์แกน ศาสตราจารย์อัลเฟรดที. แฮลสตีด (Alfred T.Halstead) ได้ให้ความเห็นว่าจุดสาคัญของการเล่นอยู่ที่การตีลูกบอลหรือลกั ษณะของการตีลกู วอลเลยบ์ อลจึงได้เสนอแนะให้เปล่ียนชื่อเกมใหม่ว่า “วอลเลย์บอล” (Volley Ball)ซ่ึงกีฬานี้กไ็ ด้พฒั นาขน้ึ ตามลาดบั - ปี ค.ศ. 1897 สมาคม วาย เอ็ม ซี เอ รา่ งกติกากีฬาวอลเลยบ์ อลขน้ึ ใชอ้ ยา่ งเป็นทางการ - ปี ค.ศ. 1900 เผยแพรก่ ีฬาวอลเลย์บอลเข้าสู่ประเทศแคนาดาและประเทศอนิ เดีย - ปี ค.ศ. 1905 เผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลเข้าสปู่ ระเทศคิวบา - ปี ค.ศ. 1909 เผยแพรก่ ีฬาวอลเลย์บอลเขา้ สู่ประเทศเปอร์โตรโิ ก - ปี ค.ศ. 1910 เผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอลเข้าสูป่ ระเทศฟลิ ิปปินส์ - ปี ค.ศ. 1912 เผยแพรก่ ีฬาวอลเลย์บอลเขา้ สปู่ ระเทศอุรุกวัย - ปี ค.ศ.1913 เผยแพรก่ ีฬาวอลเลย์บอลเข้าส่ปู ระเทศจีน ไดม้ ีการจัดการแข่งขนั กฬี าวอลเลยบ์ อลในการแข่งขัน Far East Game ในประเทศฟิลปิ ปนิ ส์โดย นายเอลวดู เอส.บราวน์ (Elwood S. Brown) ใช้ระบบการเล่น16 คน - ปี ค.ศ. 1916 ปรับปรุงกติกาการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลใหม่ โดยสมาคม วาย เอ็ม ซี เอและสมาคมส่งเสริมกีฬาแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (NCAA - The National CollegiateAthletic Association) - ปี ค.ศ. 1917 เผยแพรก่ ีฬาวอลเลยบ์ อลเขา้ สปู่ ระเทศญป่ี นุ่ - ปี ค.ศ. 1922 แข่งขัน National YMCA Volleyball Championship คร้ังแรกที่พิตส์เบิร์กประเทศสหรฐั อเมริกา - ปี ค.ศ. 1924 ประเทศญ่ีปุ่น ไดพ้ ัฒนาการเลน่ กีฬาวอลเลยบ์ อล เป็นระบบ 12 คน - ปี ค.ศ. 1928 ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดต้ังสมาคมวอลเลย์บอล (USVBA - TheUnitedStatas Volleyball Association) โดย ดร.จอร์ช เจ ฟิชเชอร์ (Dr.George J.Feslter) ถือเป็นบิดากีฬาวอลเลยบ์ อลสากล โดยจัดการแข่งขนั USVBA Open Championship ครง้ั แรกขนึ้ - ปี ค.ศ. 1936 ได้มีการเคล่ือนไหวจัดตั้งสมาคมวอลเลย์บอลนานาชาติข้ึน โดยตัวแทน22 ประเทศ ในครงั้ ทีแ่ ขง่ ขันกีฬาโอลิมปกิ ท่ีกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนั - ปี ค.ศ. 1947 จัดตั้งสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (IVBF – International VolleyballFederation) ตั้งอยู่ที่กรงุ ปารสี ประเทศฝรั่งเศส
เลม่ ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกับกฬี าวอลเลยบ์ อล 12 - ปี ค.ศ. 1949 มีการจัดกีฬาวอลเลย์บอลแข่งขันชิงแชมป์โลก ท่ีกรุงปราก ประเทศเชโกสโลวะเกีย - ปี ค.ศ. 1952 คณะกรรมการบริหารสมาคมวอลเลย์บอล แห่งประเทศสหรัฐอเมริกาได้เสนอใหใ้ ชช้ ื่อเป็นคาเดยี ววา่ Volleyball และมกี ติกาทน่ี ่าสนใจ คอื 1. เกม (Game) เกมประกอบด้วย 9 รอบ ของการแขง่ ขนั (Ining) 2. รอบการแข่งขนั (Ining) คอื ผเู้ ลน่ แต่ละทมี ไดเ้ สิร์ฟครบทุกคน 3. สนาม กวา้ ง 25 ฟุต ยาว 50 ฟตุ 4. ตาขา่ ย กว้าง 2 ฟตุ ยาว 27 ฟุต สงู 6 ฟตุ 6 นว้ิ โดยวดั จากพ้ืน 5. ลกู บอลมียางในห้มุ ด้วยหนังหรือผ้าใบวัดโดยรอบไม่น้อยกวา่ 25 น้วิ และไมเ่ กนิ27 น้วิ มนี ้าหนักไม่น้อยกวา่ 3 ปอนด์ 6. ผเู้ สริ ์ฟและการเสิรฟ์ ผู้เสิรฟ์ จะตอ้ งยืนด้วยเทา้ ข้างใดขา้ งหน่งึ บนเส้นหลงั และตีลูกวอลเลย์บอลด้วยมือข้างเดียว อนุญาตให้ทาการเสิร์ฟได้ 2 ครั้งเพ่ือท่ีจะส่ง ลูกวอลเลย์บอลไปยังแดนของค่ตู ่อส้เู ช่นเดยี วกบั เทนนสิ การเสริ ฟ์ จะตอ้ งตลี ูกวอลเลย์บอลไปย่างน้อย 10 ฟตุ และหา้ มเล้ียงลูกวอลเลยบ์ อล อนญุ าตใหล้ ูกวอลเลย์บอลถกู ตาข่ายได้ แต่ถา้ ลกู วอลเลยบ์ อลถูกผูเ้ ล่นคนอ่นื ๆ ก่อนถูกตาขา่ ย และถา้ ลกู วอลเลยบ์ อลขา้ มตาข่ายไปยงั แดนคตู่ ่อสู้ถือวา่ เปน็ ลกู ดี แตถ่ า้ ลูกบอลออกนอกสนามผ้เู สริ ฟ์ จะหมดสิทธิก์ ารเสิร์ฟครง้ั ที่ 2 7. การนบั คะแนนลูกเสิรฟ์ ที่ดฝี า่ ยรบั ไมส่ ามารถโตล้ ูกวอลเลยบ์ อลกลับมาได้ให้นับ1 คะแนน สาหรับฝ่ายเสิร์ฟข้างที่จะสามารถทาคะแนนได้คือฝ่ายเสิร์ฟเท่านั้น ถ้าฝ่ายเสิร์ฟทาลูกวอลเลยบ์ อลเสียในแดนของตนเอง ผเู้ สิรฟ์ จะหมดสทิ ธก์ิ ารเสิรฟ์ 8. ลกู วอลเลยบ์ อลถกู ตาขา่ ย (ลูกเสิร์ฟ) ถ้าเป็นการทาเสยี ครั้งที่ 1 ให้ขานเป็นลูกตาย 9. ลกู วอลเลยบ์ อลถูกเส้น ใหถ้ อื ว่าเปน็ ลูกออก 10. การเล่นและผู้เล่น การถูกตาข่ายโดยผู้เล่นทาลูกวอลเลย์บอลถูกตาข่ายลูกวอลเลยบ์ อลถูกสิ่งกดี ขวางและกระดอนเข้าสู่สนามถือเป็นลูกดี - ปี ค.ศ. 1953 ทีมชายของมหาวิทยาลัยวาเซดะ (Waseda) แห่งประเทศญ่ีปุ่น เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาชิงชนะเลิศภายในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่เมืองโอมาฮา (Omaha) เนบราสกา(Nabraka) และมีแรงจูงใจในการนาเอาระบบการเล่นแบบ 6 คน เขา้ มาในประเทศญี่ปุ่น - ปี ค.ศ. 1954 ได้มีการตั้งสหพันธ์วอลเลย์บอลแห่งเอเชียขึ้นในกรุงมะนิลาในโอกาสท่ีมีการแข่งขัน เอเชี่ยนเกมส์ คร้ังท่ี 2 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากนาย มาซาอิชิ นิชิกาวา
เล่มท่ี 1 เร่ือง ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั กฬี าวอลเลย์บอล 13(Masaichi Mishikwa) นายกสมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศญ่ีปุ่นในขณะนั้น แต่อย่างไรก็ตามมีขอ้ ผกู พันว่าประเทศสมาชกิ ต้องเป็นสมาชิกของสหพนั ธ์ ฯ - ปี ค.ศ 1955 มกี ารจัดแขง่ ขันกีฬาวอลเลยบ์ อล ชิงแชมป์ เอเชยี ประเภททีมชาย ครั้งท่ี 1 ขึน้ทีก่ รุงโตเกียวประเทศญ่ปี ุ่น เพ่ือเปน็ ที่ระลกึ แกส่ หพันธ์วอลเลย์บอลแหง่ เอเชีย ในครั้งนั้นประเทศอินเดยีได้เป็นผชู้ นะเลิศ ประเภท 6 คน และประเทศญปี่ ุน่ เปน็ ผชู้ นะเลศิ ประเภท 9 คน ตามลาดับ - ปี ค.ศ. 1958 มีการจัดแข่งขันกีฬาเอเช่ียนเกมส์ ข้ึนท่ีกรุงโตเกียว กีฬาวอลเลย์บอล(ทมี ชาย) ไดร้ บั การบรรจุเข้าไว้ในการแข่งขันประเภทหนึ่งด้วย ประเทศญี่ปุ่น รับรางวัลชนะท้ังประเภท6 คน และ 9 คน ในระหวา่ งการแข่งขนั กฬี าเอเชย่ี นเกมสใ์ นครง้ั นไี้ ด้มีการรเิ ร่ิมที่จะใหไ้ ด้มีการจัดแข่งขันกีฬาในภาคพื้นเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (เซียพเกมส์) และมีการประชมุ กนั ของผู้แทนประเทศตา่ ง ๆ ทต่ี ้ังอยู่ในแถบนี้ โดยการริเร่ิมของคณะกรรมการโอลิมปิคแห่งประเทศไทยและได้ ตกลงกันให้มีการจัดการแข่งขันกีฬาเซียพเกมส์ ครั้งที่ 1 ข้ึนท่ีกรุงเทพฯ ประเทศไทย ในปี ค.ศ. 1959 ซึ่งในข้อตกลงได้กาหนดใหม้ ีการจัดการแขง่ ขนั 2 ปี ต่อครง้ั และไดพ้ จิ ารณาบรรจุกีฬาวอลเลย์บอลเข้าในการแข่งขันกีฬาเซียพเกมส์ กีฬาวอลเลยบ์ อลจึงเร่ิมแข่งขันในเซียพเกมส์ ครง้ั ที่ 1 เป็นต้นมา - ปี ค.ศ. 1964 สมาคมวอลเลย์บอล แห่งประเทศเกาหลี ได้จัดการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลเยาวชน ชงิ ชนะเลศิ แหง่ เอเชยี (Asia Youth Game) ขึน้ ทีก่ รงุ โซลประเทศเกาหลีใต้ การแข่งขนัคร้งั ท่ี 2 ทีก่ รงุ ไทเป ประเทศไต้หวัน ในปี ค.ศ. 1966 และคร้งั ที่ 3 ทีก่ รงุ โซล อีกในปี ค.ศ. 1969 ซ่ึงเป็นช่วงสดุ ทา้ ยประวัตคิ วามเป็นมาของกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศไทย กีฬาวอลเลย์บอลได้มีการเผยแพร่ เข้ามาในประเทศไทยเมื่อใดยังไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดแตส่ ันนฐิ านวา่ เรมิ่ เล่นกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมาในหมู่ชาวจีนและชาวญวนจนกระทั่งมีการแข่งขันระหว่างคณะบางคร้ังมีการติดต่อไปแข่งขันยังภาคเหนือภาคตะวันออ กเฉียงเหนือเป็นตน้ ปี พ.ศ. 2477 กรมพลศกึ ษาได้จดั พมิ พก์ ติกาการแข่งขันกีฬาวอลเลยบ์ อลขนึ้ โดยอาจารย์ นพคุณ พงษ์สุวรรณ เป็นผู้แปล และในปีเดียวกันนี้เองกรมพลศึกษาก็ได้จัดการแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอลขึ้นเป็นคร้ังแรกปี พ.ศ. 2500 ประเทศไทยได้จัดตั้งสมาคมวอลเลย์บอลข้ึนโดยมีพลเอกสจุ ติ ร จารเุ ศรณี เป็นนายกสมาคมคนแรก เมอ่ื วนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2500 และได้รบั ช่ือเรยี กเป็นทางการวา่ “สมาคมวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย” (Amature Volleyball of Thailand) และจัดการแข่งขันระบบ 12 คน (ข้างละ 6 คน) ในปัจจุบัน กีฬาวอลเลย์บอลเป็นกิจกรรมที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทยและกระทรวงศึกษาธิการได้บรรจุเอากิจกรรมกีฬาวอลเลย์บอลเป็นรายวิชาหนึ่งใน
เลม่ ที่ 1 เรอ่ื ง ความรทู้ ว่ั ไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบ์ อล 14หลักสูตรการเรียนการสอนเป็นวิชาบังคับในช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น และวิชาบังคับในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในหมวดวชิ าพลศกึ ษาประโยชนข์ องกีฬาวอลเลยบ์ อล การออกกาลังกายทุกประเภทมีประโยชน์ท้ังส้ิน วอลเลย์บอลก็เป็นกิจกรรมการออกกาลังกายประเภทหน่งึ ดงั นั้น การเล่นวอลเลยบ์ อลจึงมีประโยชน์ ดงั นี้ 1. ช่วยเสรมิ สร้างสุขภาพทางกายและจิต 2. ช่วยพฒั นาระบบการทางานของร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียนโลหติ ระบบหายใจ ระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร เปน็ ต้น 3. ทาให้เกดิ ความคล่องแคลว่ ว่องไวในการตัดสินใจที่รวดเร็วแนน่ อน 4. ชว่ ยใหผ้ เู้ ล่นมอี ารมณ์หนักแน่น สุขุม เยือกเย็น รจู้ ักแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไดด้ ี 5. ส่งเสรมิ ความสามคั คี การทางานร่วมกัน การเปน็ ผนู้ าและผ้ตู ามทดี่ ี 6. สง่ เสรมิ ความมีระเบยี บวนิ ัย การรับผิดชอบต่อหนา้ ทแี่ ละการตรงต่อเวลา 7. เพิม่ ประสิทธิภาพในการใช้ชีวติ ร่วมกบั ผูอ้ น่ื ในสงั คมระบอบประชาธิปไตย 8. ช่วยให้เห็นคณุ ค่าของการออกกาลงั กาย โดยใชก้ ีฬาวอลเลยบ์ อลเปน็ ส่ือทั้งในขณะ แขง่ ขันหรอื เวลาว่างการเลน่ กฬี าวอลเลย์บอล ด้วยความปลอดภยั การเล่นกีฬาทุกประเภทย่อมให้เกิด การพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมอย่างแน่นอน ส่วนจะเกิดการพัฒนา หรือผู้เล่นกีฬาได้รับประโยชน์มากหรือน้อยน้ัน ย่อมขึ้นอยู่กับการเล่นเกมวธิ กี ารเล่น ระยะเวลาของการเลน่ กฬี า และปัจจยั อื่น ๆ อกี หลายประการ แต่อย่างไรก็ตาม การเล่นกีฬาท่ีไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย สุขภาพ กาลเทศะ เพศ วัย หรือความพอดีในการออกกาลังกายแล้ว ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายข้ึนได้เช่นกัน ด้วยเหตุน้ีการเล่นกีฬาจึงควรได้พิจารณาเก่ียวกับความปลอดภยั ในหลาย ๆ ดา้ น สาหรับการเลน่ กฬี าวอลเลย์บอลให้ปลอดภัยนัน้ ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. ก่อนการกฬี าวอลเลย์บอลทุกครั้ง ต้องอบอุ่นร่างกายเสียก่อน โดยเฉพาะ ข้อมือ ข้อเท้า เข่าหัวไหลแ่ ละอ่ืน ๆ ให้มากเพอ่ื เตรียมอวยั วะสว่ นสาคัญน้ใี ชง้ านหนกั ต่อไป 2. ต้องแต่งกายชุดเล่นกฬี าใหเ้ หมาะสมกับการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล 3. ตอ้ งตรวจสอบอปุ กรณแ์ ละสนามให้อยูใ่ นสภาพเรยี บรอ้ ย มน่ั คง ปลอดภัยพร้อมท่จี ะฝึกซอ้ ม 4. ต้องเลน่ ด้วยความระมัดระวงั และเล่นตามหลักการและวิธกี ารเลน่ กีฬาวอลเลย์บอล 5. ไมล่ ้อเลน่ หรือกลน่ั แกลง้ กนั ขณะฝึกซอ้ ม
เล่มที่ 1 เรือ่ ง ความรทู้ ่ัวไปเก่ียวกับกฬี าวอลเลย์บอล 156. ไมเ่ ลน่ หรอื ฝกึ ซ้อมจนเกนิ กาลงั ความสามารถของรา่ งกายและไม่หักโหม7. ควรฝึกซ้อมจากท่าท่งี า่ ย ไปหาท่าทยี่ ากข้ึนและฝกึ ซ้อมแบบค่อยเป็นค่อยไป8. ไมค่ วรฝึกซอ้ มในท่ี ทม่ี ีแสงสวา่ งไม่เพยี งพอ เพราะอาจเกิดอุบตั ิเหตุขึน้ ได้9. ไมค่ วรฝึกซ้อมในสนามกลางแจง้ ในขณะฝนตก ฟา้ รอ้ ง หรือแดดร้อนจัด10. ไม่ควรฝึกซอ้ ม หรอื เลน่ กีฬาวอลเลย์บอลหลังรับประทานอาหารใหม่ ๆมารยาทของการเปน็ ผู้เลน่ กีฬาวอลเลย์บอล การเลน่ กีฬาทกุ ชนดิ ย่อมจะมีการแสดงออกถึงพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ทางด้านร่างกายที่สอดคล้องกับกติกาข้อบังคับ ระเบียบและลักษณะของลักษณะกีฬาแต่ละประเภท ซึ่งผู้เล่นจะต้องประพฤติปฏิบัติให้เป็นไปด้วย ความเรียบร้อยและเหมาะสมกับจรรยานักกีฬา จึงถือว่าผู้เล่นมีมารยาทดี หากผู้เล่นประพฤติปฏิบัตไิ ม่เหมาะสมกบั กาลเทศะหรือไม่ถูกต้องกับระเบียบกติกาดังกล่าวแล้ว ก็จะทาใหผ้ ู้ดุรอบสนามและผู้เก่ียวข้องติเตือนได้ นอกจากนี้อาจจะเป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดการทะเลาะวิวาทข้ึน นักกีฬาควรคานงึ ถงึ มารยาทของการเปน็ ผเู้ ล่นกีฬา ทีด่ ีซง่ึ พอสรปุ เปน็ ข้อได้ดังนี้ 1. แต่งกายให้รดั กุม สภุ าพเรียบร้อยและปลอดภัย 2. ตอ้ งเลน่ ตามกตกิ าทกี่ าหนดไว้ 3. เลน่ กฬี าดว้ ยความสภุ าพและมีมารยาทของนักกีฬา 4. เชื่อฟังคาสง่ั ของหวั หน้าทมี และโค้ช 5. ผู้เลน่ ต้องยอมรับคาตัดสนิ ของผตู้ ดั สิน 6. มคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 7. รู้จักระงบั อารมณ์ เม่ือเหตุการณ์ย่วั ยุ 8. เมือ่ ผู้เลน่ แพ้ หรือชนะ ไม่ควรดใี จหรือเสยี ใจมากเกนิ ไป 9. การเลน่ ต้องเล่นสุดความสามารถ ไมว่ า่ ตัวเองเปน็ ฝ่ายแพ้หรอื ฝ่ายชนะ 10. ต้องมนี ้าใจนกั กีฬา รู้แพ้ รชู้ นะ รอู้ ภัย 11. มีความตงั้ ใจในการฝกึ ซ้อมและมีความอดทน 12. มคี วามอดกลัน้ และไม่ใช้อารมณร์ ุนแรง 13. ไม่สร้างความเดอื ดร้อนแกค่ นอน่ื ในขณะฝกึ ซ้อมและแขง่ ขนั 14. หลังจากการฝึกซ้อมหรือการเลน่ แลว้ ตอ้ งเก็บอปุ กรณ์ให้เรียบรอ้ ยมารยาทของการเป็นผ้ดู ูกีฬาวอลเลยบ์ อล
เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง ความรทู้ ัว่ ไปเก่ียวกับกฬี าวอลเลยบ์ อล 16 วัตถุประสงค์ที่สาคัญในการดูกีฬาเป็นการพักผ่อน หาความสนุกสนานเพลิดเพลิน ช่วยคลายความตึงเครียด และเป็นการสร้างสมรรถภาพทางด้านจิตใจ ถึงแม้บางคร้ังเราไปดูกีฬาเพ่ือเป็นการให้กาลังใจแก่ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง แต่การเล่นคร้ังนั้นไม่เป็นไปตามคาดหมายของเราก็จะทาให้เราไม่สบายใจเป็นธรรมดาด้วยเหตุนผ้ี ู้ดูที่ดจี งึ ไมค่ วรแสดงพฤติกรรมหรือกริยามารยาทที่ไม่สุภาพซ่ึงจะเป็นสาเหตุหน่ึงท่กี ่อให้เกดิ การทะเลาะวิวาทกัน ดังนนั้ ผดู้ ทู ี่ดจี ึงควรคานงึ ถงึ มารยาทของผู้ดกู ีฬาที่พึงปฏิบัติซงึ่ พอจะสรุปเป็นข้อ ๆ ดงั น้ี 1. นั่งชมดว้ ยความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยในท่ีทจ่ี ัดไว้ ไม่ยนื เกะกะบังผู้อ่นื 2. ปรบมือให้เกยี รติ เม่ือกรรมการตดั สินและนกั กฬี าเขา้ สู่สนาม 3. ปรบมือแสดงความยนิ ดี เม่ือผ้เู ล่น ที่เลน่ ไดด้ ี 4. ปรบมือชมเชย เมอื่ ผูเ้ ลน่ มีมารยาทดี เชน่ ยอมรับฟงั เมอ่ื กรรมการตดั สินตักเตือนวา่ ทาผดิกติกา 5. ปรบมอื แสดงความยินดีแก่ผู้ชนะ หรอื ทีมชนะในการแข่งขนั เม่ือหมดเวลา 6. ปรบมือเมื่อผูเ้ ลน่ ไดร้ บั รางวัล 7. ไม่เชียรใ์ นส่งิ ทีเ่ ปน็ การเสียดสีในทางไมด่ ีต่อทีมใดทมี หนึ่ง 8. ไม่กระทาตนเปน็ ผ้ตู ดั สินเสียเอง เช่น ตะโกนดา่ ผตู้ ดั สนิ 9. ไมก่ ระทาการใด ๆ ทท่ี าให้ผู้ตัดสนิ หรอื เจา้ หนา้ ที่อืน่ ๆ ปฏบิ ตั งิ านไม่สะดวกการดแู ล บารุง รักษา อุปกรณก์ ีฬาวอลเลย์บอล การดูแลรักษาและเก็บรักษาอุปกรณ์กีฬาวอลเลย์บอลเป็นส่ิงที่ผู้ใช้อุปกรณ์ทุกคนต้องรับผิดชอบ ร่วมกันในการท่ีจะช่วยดูแลรักษาให้อุปกรณ์การเล่นมีอายุการใช้งานท่ียาวนานท่ีสุดเมื่อนาอุปกรณ์ต่าง ๆ มาใช้เล่นต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายกับผู้เล่นอีกด้วย การบารุงอุปกรณ์กีฬาวอลเลย์บอลโดยทัว่ ไปมีดงั น้ี 1. มชี นั้ หรือตเู้ ก็บอุปกรณไ์ ว้โดยเฉพาะและควรเก็บแยกประเภทให้เรียบร้อยเพื่อสะดวกในการนามาใช้คร้งั ตอ่ ไป 2. อุปกรณ์ท่ีชารุด เช่น ส่วนหนึ่งส่วนใดของตาข่ายขาด ให้ปรับซ่อมแซมทันที การปล่อยท้ิงไว้จะทาให้เสยี หายมากข้นึ 3. อย่าขึงตาขา่ ยไว้กลางแจ้งให้ถกู แดดนาน ๆ เพราะจะทาใหต้ าขา่ ยชารุดเสยี หาย มีอายุการใช้งานไมน่ านเท่าอย่างทีค่ วร และหลังจากเลน่ เสร็จแลว้ ควรผอ่ นตาขา่ ยใหห้ ยอ่ น หรือเกบ็ ตาขา่ ย
เล่มท่ี 1 เรอ่ื ง ความร้ทู ่วั ไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบ์ อล 17 4. อย่าให้ลูกวอลเลย์บอลที่ทาด้วยหนังถูกน้านาน ๆ เพราะนอกจากจะเป็นการเพิ่มน้าหนักให้มากขึ้นแลว้ ยังทาให้ลูกวอลเลย์บอลชารดุ เรว็ กวา่ ปกติด้วยเมื่อลูกวอลเลย์บอลถูกน้าควรใช้ผ้าแห้งเช็ดให้แห้งทนั ทกี อ่ นทีจ่ ะนาลกู วอลเลย์บอลมาเล่นตอ่ ไป 5. ทาความสะอาดลกู วอลเลย์บอลทุกคร้งั ใชผ้ ้าแหง้ เช็ดกอ่ นนาไปเก็บ 6. การเติมลมหรือปลอ่ ยลมออกจากลกู วอลเลย์บอล ควรใชเ้ ข็มทใี่ ชก้ บั ลกู วอลเลย์บอลโดยเฉพาะถ้าใชข้ องแหลมชนิดอ่นื จะทาให้ลกู วอลเลยบ์ อลชารุดได้งา่ ย 7. หมั่นเชด็ กวาด ถู พื้นสนามใหส้ ะอาดอยเู่ สมอขนั้ ตอนการออกกาลงั กาย 1. การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (static stretching) เช่น นั่งเหยียดขาก้มแตะ เข่าค้างไว้จนรู้สึกตึงบริเวณขาพับท้ังสอง ใช้เวลา 5 นาที พยายามยืดเหยียดกล้ามเน้ือทุกมัดทุกข้อ โดยเร่ิมจากกล้ามเนื้อมัดสาคญั ๆ เชน่ ลาตัว แขน ขา และหลัง โดยใชก้ ารยืดกล้ามเนื้อทา่ ละ 10 วนิ าทีทา่ ยืดเหยยี ดกล้ามเน้ือ สาหรับกีฬาวอลเลย์บอล
เลม่ ที่ 1 เรื่อง ความรู้ท่วั ไปเก่ียวกบั กฬี าวอลเลย์บอล 18 รปู ภาพที่ 1.1 แสดงท่ายดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื สาหรับกฬี าวอลเลย์บอล 2. การอบอนุ่ รา่ งกายก่อนเลน่ (Warm - up) ใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที โดยเริม่ จากการเคล่ือนไหวช้า ๆ และเรว็ ขึน้ ตามลาดบั เชน่ ว่งิ เหยาะอยู่กับที่ กระโดดตบ แล้วเรม่ิ ว่ิงเหยาะระยะสัน้ วง่ิ 3. การออกกาลังกาย (exercise activities) สาหรับการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพควรใช้เวลาอยา่ งนอ้ ย 20 นาที และไมค่ วรจะเกิน 1 ชัว่ โมง อาจใช้กีฬาเปน็ สือ่ เช่น วอลเลย์บอลแบดมนิ ตนั เทนนิส ฟุตบอล เดนิ ว่งิ ว่ายนา้ เปน็ ตน้ 4. การลดสภาวะร่างกาย (cool - down) คือ การทาให้ร่างกายลดความเข้มข้นของการออกกากายลงทีละน้อยอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามลาดับภายหลังกายออกกาลังกายควรใช้เวลาในการลดสภาวะ (cool - down) เท่า ๆ กับ การอบอุ่นร่างกาย (warm - up) คือ ประมาณ 10 นาทีรวมทั้งการยดื เหยยี ดกลา้ มเนื้อขอ้ ต่ออยกู่ ับที่ด้วยกิจกรรมที่ 1 ยดื กล้ามเน้ือบริเวณโคนขาท้ังสองขา้ งวิธีฝกึ ตามรปู ภาพ 1. น่งั ลงบนพนื้ หันฝ่าเทา้ ทง้ั สองขา้ งเข้าหากัน ใชม้ อื จับใหแ้ น่น 2. คอ่ ย ๆ กม้ ตวั ลงไปขา้ งหน้าให้มากที่สุด ทาค้างไว้ 20 วินาที
เลม่ ท่ี 1 เรอ่ื ง ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบ์ อล 19 รปู ภาพท่ี 1.2 แสดงการยดื กล้ามเนอ้ื บรเิ วณโคนขาทง้ั สองขา้ งกจิ กรรมท่ี 2 ยืดกลา้ มเนอ้ื หน้าขาท่อนบนวธิ ฝี ึกตามรปู ภาพ 1. น่ังลงบนพน้ื งอเข่าดึงเขา้ มาด้านหลังให้อยู่ด้านนอกสะโพก 2. เท้าซ้ายงอดันฝา่ เทา้ ให้มาชนกบั เขา่ ขวาด้านในเอนตวั ไปด้านหลงั พอสมควรทาค้างไว้ ข้างละ 20 วินาที
เล่มท่ี 1 เรื่อง ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกบั กฬี าวอลเลยบ์ อล 20 รูปภาพที่ 1.3 แสดงการยืดกลา้ มเนอ้ื หน้าขาทอ่ นบนกิจกรรมท่ี 3 ยดื กลา้ มเนอ้ื ขาทอ่ นบนดา้ นหลงัวธิ ีฝกึ ตามรูปภาพ 1. นงั่ เหยยี ดขาขวาไปขา้ งหน้า งอขาซ้ายใหฝ้ า่ เท้าซ้ายติดกับขาขวาท่อนบน 2. ก้มตัวไปด้านหน้า ทิศทางของลาตัวไปตามแนวของขาขวา ทาคา้ งไวข้ ้างละ 20 วนิ าที รปู ภาพที่ 1.4 แสดงการยืดกลา้ มเนอ้ื ขาทอ่ นบนด้านหลงักิจกรรมท่ี 4 ยดื กล้ามเน้ือบริเวณขอ้ เท้าวิธีฝึกตามรปู ภาพ 1. นง่ั ลงใช้มือจับบรเิ วณหนา้ แขง้ เหนอื ข้อเทา้ 2. ใชม้ ืออีกขา้ งหมนุ ข้อเท้าทวนและตามเข็มนาฬกิ าข้างละ 15 รอบ
เลม่ ที่ 1 เรื่อง ความรทู้ ว่ั ไปเก่ียวกบั กฬี าวอลเลย์บอล 21 รูปภาพที่ 1.5 แสดงการยืดกล้ามเน้ือบริเวณขอ้ เทา้ แบบทดสอบหลังเรียน เร่อื ง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกบั กีฬาวอลเลยบ์ อลจานวน 10 ข้อ 10 คะแนนคาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถกู ทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย × ลงใน กระดาษคาตอบ1. การปฐมพยาบาลท่ีใช้ความร้อนประคบคือข้อใด ก. กระดูกหัก ข. การเปน็ ตะคริว ค. ฟกช้า
เลม่ ท่ี 1 เร่อื ง ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกบั กีฬาวอลเลยบ์ อล 22 ง. กล้ามเนอื้ ฉีก2. ประโยชน์ของการเลน่ กีฬาวอลเลย์บอลด้ายสงั คมคือข้อใด ก. ความทนทาน ข. ความสามัคคี ค. ความแคลว่ คลอ่ งว่องไว ง. ความแขง็ แรง3. การออกกาลงั กายมีประโยชน์ตอ่ รา่ งกายในดา้ นใดมากที่สุด ก. ช่วยใหน้ อนหลับได้ดขี ึ้น ข. ช่วยให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง ค. ชว่ ยทาใหไ้ ม่เจบ็ ป่วย ง. ช่วยให้หายเครียด4. การปฐมพยาบาลคนเปน็ ลมควรทาอย่างไร ก. ดมื่ น้าเยน็ ข. ทาการผายปอด ค. นา้ ชาร้อน ง. เช็ดด้วยผ้าเย็น5. เหตใุ ดจึงมีการอบอนุ่ ร่างกายก่อนการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล ก. เพือ่ เปน็ การเตรียมให้กลา้ มเนื้อของร่างกายส่วนตา่ ง ๆ ไดท้ างาน ข. เพ่อื ให้เกดิ ความสนุกสนาน ค. เพ่ืออวดค่ตู ่อส้วู ่ามคี วามเขม้ แขง็ ง. เพ่อื ทาตามกตกิ าท่รี ะบุไวใ้ หม้ กี ารอบอุ่น6. ลูกวอลเลย์บอลที่ใช้เลน่ คร้งั แรกมีลกั ษณะอย่างไร ก. ใชย้ างในลูกแฮนดบ์ อล ข. ใช้ยางในฟุตบอล ค. ใช้ยางหมุ้ ด้วยหนงั ง. ใชย้ างในบาสเกตบอล
เล่มที่ 1 เรื่อง ความรทู้ ่วั ไปเก่ียวกับกีฬาวอลเลย์บอล 237. ผูท้ ไ่ี ด้ชือ่ วา่ เปน็ บดิ าแหง่ กีฬาวอลเลยบ์ อล ก. วิลเลยี ม จี มอรแ์ กน ข. ดร. ลูเธอร์ แอสซี กสู ิก ค. อัลเฟรด ที แอสสตดี ง. ดร. จอร์ เจฟิชเธอร์8. ขอ้ ใดไมค่ วรทาในการดูแลรกั ษาสุขภาพ ก. การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ข. การพกั ผ่อนอย่างเหมาะสม ค. ดืม่ นา้ เกลอื แร่เปน็ ประจา ง. ออกกาลงั กายสม่าเสมอ9. กีฬาวอลเลย์บอลดัดแปลงมาจากกีฬาประเภทใด ก. เบสบอลและแฮนด์บอล ข. แฮนดบ์ อล เบสบอล และเทนนสิ ค. เทนนิสและเบสบอล ง. เทนนสิ และแฮนด์บอล10. การออกกาลงั กายมปี ระโยชนต์ ่อร่างกายในดา้ นใดมากทส่ี ุด ก. ช่วยทาให้ไม่เจบ็ ปว่ ย ข. ช่วยใหส้ ุขภาพร่างกายแขง็ แรง ค. ชว่ ยใหน้ อนหลบั ได้ดีขึ้น ง. ช่วยให้หายเครียด กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียนเรอ่ื ง ความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกับกีฬาวอลเลยบ์ อลชื่อ - สกลุ ..................................................................... ชน้ั ............ เลขท่ี ..............ขอ้ ท่ี ก ข ค ง 1 2
เล่มที่ 1 เรื่อง ความรทู้ ว่ั ไปเกี่ยวกับกฬี าวอลเลย์บอล 24 3 4 5 6 7 8 9 10 เฉลยคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรือ่ ง ความร้ทู ่ัวไปเกี่ยวกบั กีฬาวอลเลยบ์ อลจานวน 10 ข้อ 10 คะแนน ข้อที่ คาตอบทีถ่ กู
เล่มที่ 1 เร่อื ง ความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกบั กฬี าวอลเลยบ์ อล 25 1. ง 2. ค 3. ข 4. ข 5. ง 6. ก 7. ง 8. ค 9. ก 10. ก เฉลยคาตอบแบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง ความรทู้ ่ัวไปเก่ยี วกบั กีฬาวอลเลยบ์ อลจานวน 10 ข้อ 10 คะแนน
เล่มที่ 1 เรือ่ ง ความรทู้ วั่ ไปเก่ียวกับกฬี าวอลเลย์บอล 26ข้อท่ี คาตอบทถ่ี ูก 1. ค 2. ข 3. ข 4. ง 5. ก 6. ง 7. ก 8. ค 9. ข10. ข เอกสารอ้างองิฉตั รชัย แฝงสาเคนและคณะ (2555). วอลเลยบ์ อล. กรุงเทพฯ : เอมพนั ธ์.
เล่มที่ 1 เรื่อง ความร้ทู ว่ั ไปเก่ียวกบั กฬี าวอลเลย์บอล 27พลศกึ ษา, กรม. คมู่ อื การวดั และประเมนิ ผล, กรุงเทพฯ : ครุสภา, 2531.พศิ ิษฐ์ ไตรรตั นผ์ ดุงผล. กตกิ าใหมว่ อลเลย์บอล. กรงุ เทพมหานคร : สานกั พมิ พ์โอเดียนสโตร์, 2537.พิชิต ภูตจิ ันทร.์ วอลเลย์บอล. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, (2546)ฟอง เกดิ แก้ว. แบบเรียนวิชาพลานามยั พ. 103. กรงเทพฯ : วัฒนาพานชิ , 2521วีระพงษ์ บางท่าไม.้ คูม่ ือวอลเลย์บอลขั้นพนื้ ฐาน. กรงเทพฯ : เอช-เอ็น การพิมพ์, 2521.วิโรจน์ มทุ ุกันต.์ วอลเลยบ์ อล. กรงุ่ เทพมหานคร : ภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทาลัยศรีนครินทร วโิ รฒ มหาสารคาม, 2535.สพุ ติ ร สมาหิโต (2534). การทดสอบสมรรถภาพทางกาย. กรงุ เทพฯ : ตะเกียง.สุพิตร สมาหิโต (2541). การสร้างแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับเด็กไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ศิริรัตน์ หิรัญรัตน์. (2539). สมรรถภาพทางกายและทางกีฬา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล. (อดั สาเนา).
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: