Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อประสม 2 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

สื่อประสม 2 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

Published by kin.critical, 2018-05-08 04:17:30

Description: สื่อประสม 2 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

Search

Read the Text Version

เลม่ ท่ี 2 เรอื่ ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 5 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้เมอื่ จบบทเรียนนักเรยี นสามารถ 1. สามารถอธิบายและบอกประโยชน์วิธีการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายได้ (K) 2. ปฏิบัติกิจกรรมการเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายได้ (P) 3. สามารถนาทักษะการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายไปเล่นเกมการแข่งขันตามกติกา และมีความสนกุ สนานในการปฏบิ ตั ิได้ (A)

เล่มที่ 2 เรอื่ ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 6 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรอื่ ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายจานวน 10 ข้อ 10 คะแนนคาช้แี จง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกทสี่ ุดเพียงคาตอบเดยี ว โดยทาเครือ่ งหมาย × ลงใน กระดาษคาตอบ1. การฝกึ ความแข็งแรงต้องคานงึ ยกเว้น ก. วยั ข. เพศ ค. นาหนกั ตัว ง. ความสามารถแตล่ ะบุคคล2. ในกฬี าวอลเลยบ์ อลต้องอาศัยความเร็ว ยกเวน้ ก. ความรนุ แรง ข. ความเร็วในการกระโดด ค. ความเรว็ ในการตบลกู บอล ง. ความเร็วในการเหว่ียงแขน3. การฝกึ ความเรว็ ต้องคานึงถงึ ความสมั พนั ธ์ 3 อย่าง ยกเวน้ ก. ระยะทาง ข. จานวนครงั ค. ความวอ่ งไว ง. ปรมิ าณของการออกแรง4. ในกฬี าวอลเลย์บอลต้องอาศยั ความคล่องแคลว่ ว่องไว ยกเว้น ก. การกระโดด ข. การว่ิงกลบั ตัว ค. การวิง่ ซกิ แซก ง. การก้มพุง่ ตวั รับลกู5. กีฬาท่สี รา้ งความคลอ่ งแคลว่ วอ่ งไวไดด้ ี คือ ก. กฬี ายิมนาสติก ข. กฬี าแฮนด์บอล ค. กีฬาบาสเกตบอล ง. กีฬาวอลเลย์บอล

เลม่ ท่ี 2 เรื่อง การเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 76. ความอ่อนตัว คอื ก. การดดั หลัง ข. การฟ้อนเล็บ ค. การเล่นทาสะพานโค้ง ง. การงอหรอื เหยียดข้อตา่ ง ๆ7. ความอดทน มีหลกั การการฝึก คือ ยกเวน้ ก. ระยะทางไกล ข. ฝึกไมต่ ่อเนื่อง ค. จานวนครงั มาก ง. ปริมาณการใชแ้ รงน้อย8. ความสมดุลของรา่ งกาย คือ ยกเวน้ ก. การนอน ข. การทรงตวั ค. รา่ งกายไม่เซ ง. ความสมั พนั ธ์ของประสาทและกล้ามเนือ9. ลักษณะใด คือ ความอดทน ก. ยกนาหนัก ข. ว่ิง 1,500 เมตร ค. เสิร์ฟลกู บอลท่ีมนี าหนัก ง. ตบลูกบอล 100 ลกู ต่อเน่ือง10. ลักษณะใด คือ กาลงั ก. วา่ ยนา ข. เข็นรถยนต์ ค. วงิ่ 100 เมตร ง. กระโดดตบลกู บอลสงู ๆ

เลม่ ที่ 2 เร่ือง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 8 กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรอื่ ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายช่อื - สกลุ ..................................................................... ชน้ั ............ เลขท่ี ..............ข้อที่ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.10.

เลม่ ท่ี 2 เร่ือง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 9 ใบความรู้ท่ี 2 เรือ่ ง การเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายความหมายและความสาคญั ของการเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) คือ สภาวะของร่างกายที่อยู่ในสภาพท่ีดีเพื่อท่ีจะช่วยให้บุคคลสามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และสามารถปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันการออกกาลงั กาย การเล่นกฬี า และการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี สมรรถภาพทางกาย (physical fitness) คือ ความสามารถของร่างกายในการประกอบกิจกรรม หรือการทางานอย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่เหนื่อยอ่อนจนเกินไป และร่างกายสามารถกลับคืนสู่สภาพปกติ ไดใ้ นระยะเวลาสนั ๆหลักการท่ัวไปในการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายองค์ประกอบสมรรถภาพทางกายที่สมั พนั ธ์กับสขุ ภาพ สมรรถภาพทางกายแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ(health - related physical fitness) และสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับทักษะ(skill-related physical fitness) องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายที่ช่วยลดอัตราความเส่ียงของการเกิดปัญหาต่าง ๆทางด้านสขุ ภาพรา่ งกาย ประกอบดว้ ย 1. ความแข็งแรงของกล้ามเนือ (muscular strength) เป็นความสามารถของกล้ามเนือซ่งึ ทาใหเ้ กดิ ความตึงตวั เพอ่ื ให้แรงในการยกหรือดึงสิ่งของต่างๆ ความแข็งแรงของกลา้ มเนอืจะช่วยทาใหร้ า่ งกายทรงตัวเป็นรูปร่างขนึ มาได้ หรอื ทเ่ี รียกวา่ ความแขง็ แรงเพื่อรักษาทรวดทรง 2. ความทนทานของกล้ามเนือ (muscular endurance) หมายถึง ความสามารถของกลา้ มเนือในการออกแรงทาใหว้ ัตถุเคลอื่ นทต่ี ิดต่อกันเปน็ เวลานาน ๆ ความอดทนของกลา้ มเนือสามารถเพ่มิ ไดม้ ากขึนโดยการเพิม่ จานวนครังในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมขึนอย่กู ับปจั จยั ตา่ ง ๆ เช่น ชนิดของการออกกาลังกาย อายุ เพศและระดับสมรรถภาพทางกายของเด็ก 3. ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ (cardio respiratory endurance)หมายถึง ความสามารถของหัวใจ ปอด และหลอดเลือดในการท่ีจะลาเลียงออกซิเจน และสารอาหารไปยงั กลา้ มเนอื ทใี่ ชใ้ นการออกแรง

เลม่ ท่ี 2 เรื่อง การเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 10 4. ความอ่อนตัว (flexibility) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวของส่วนแขน ส่วนขาหรอื ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายใหเ้ ต็มขีดจากดั ของการเคล่ือนไหวนัน ๆ 5. องค์ประกอบของรา่ งกาย (body composition) จะเปน็ ดชั นปี ระมาณค่าที่ทาให้ทราบถงึเปอรเ์ ซน็ ตข์ องนาหนักของสว่ นตา่ ง ๆ ของไขมนั ทีม่ ีอยูใ่ นรา่ งกายองคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายที่สัมพนั ธก์ บั ทกั ษะ (skill- related physical fitness) สมรรถภาพทางกายท่ีจาเป็นจะต้องใช้สาหรับการเล่นกีฬาให้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุดประกอบดว้ ยสมรรถภาพทางกายท่ีสมั พันธก์ บั สขุ ภาพควบคูก่ ับองค์ประกอบด้านอื่น ๆ ดงั นีคอื 1. ความเร็ว (speed) หมายถึง ความสามารถในการเคล่ือนไหวไปสู่จุดหมายที่ต้องการโดยใช้ระยะเวลาอันสนั ทีส่ ดุ ซึง่ กล้ามเนอื จะตอ้ งออกแรงและหดตวั ด้วยความเรว็ สูงสุด 2. กาลังของกล้ามเนือ (muscle power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนือในการทางานโดยการออกแรงสูงสุดในช่วงเวลาท่ีสันที่สุด ซ่ึงจะต้องมีความแข็งแรงของกล้ามเนือและความเร็วเป็นองคป์ ระกอบหลกั 3. ความคล่องแคล่วว่องไว (agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางและตาแหน่งร่างกายในขณะที่กาลังเคล่ือนไหวโดยใช้ความเร็วได้อย่างเต็มท่ีจัดเป็นสมรรถภาพทางกาย ท่ีจาเป็นในการนาไปส่กู ารเคลือ่ นไหวขันพนื ฐานสาหรับทกั ษะในการเล่นกีฬาประเภทตา่ ง ๆ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ 4. การทรงตัว (balance) หมายถึง ความสามารถในการควบคุมรักษาตาแหน่งและท่าทางของร่างกายใหอ้ ยูใ่ นลักษณะตามท่ตี ้องการได้ ทงั ขณะทอี่ ย่กู บั ที่หรอื ในขณะที่มกี ารเคลื่อนท่ี 5. เวลาปฏกิ ิรยิ า (reaction time) หมายถึง ระยะเวลาท่ีเร็วท่ีสุดท่ีร่างกายเร่ิมมีการตอบสนองหลังจากที่ได้รับการกระตุ้นซ่ึงเป็นความสามารถของระบบประสาท เมื่อรับรู้การถูกกระตุ้นแล้วสามารถส่ังการ ให้อวัยวะที่ทาหน้าทท่ี ่ีเกีย่ วข้องกับการเคล่อื นไหวมีการตอบสนองอยา่ งรวดเร็ว 6. การทางานท่ีประสานกัน (coordination) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนือและการทางานของระบบประสาท ในการท่ีจะปฏบิ ัติกิจกรรมทางกลไกลท่ีสลับซับซ้อนในเวลาเดียวกันอย่างราบรน่ื และแม่นยา

เล่มที่ 2 เร่ือง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 11 ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index : BMI) รปู ภาพที่ 2.1 แสดงการหาค่าดชั นมี วลกาย (Body Mass Index : BMI)วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ประเมินความเหมาะสมของสัดสว่ นของร่างกาย (นาหนกั และส่วนสูง)อุปกรณ์ 1. เครอ่ื งชงั่ นาหนัก 2. เครือ่ งวัดสว่ นสงู 3. เครอื่ งคิดเลขวธิ ที ดสอบ ให้ทาการช่ังนาหนัก และวดั ส่วนสูงของผรู้ ับการทดสอบ นานาหนักและสว่ นสงู มาคานวณหาคา่ ดชั นีมวลกาย โดยนาคา่ นาหนกั ทช่ี ่งั ได้ (กโิ ลกรัม) หารด้วยสว่ นสูงทีว่ ัดได้ (เมตร)2 ตวั อยา่ งเชน่ ผเู้ ข้ารับการทดสอบมนี าหนักตัวเท่ากับ 50 กโิ ลกรัม ส่วนสูงเท่ากับ150 เซนติเมตร คา่ ดชั นมี วลกาย = 50/1.502 = 50/2.25 = 22.22 กิโลกรัมต่อตารางเมตร

เลม่ ท่ี 2 เร่อื ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 12ระเบียบการทดสอบ 1. การชัง่ นาหนกั ให้ผู้เขา้ รับการทดสอบสวมชุดท่ีเบาท่ีสุด และใหถ้ อดรองเท้า 2. การวัดส่วนสูงให้ผู้รบั การทดสอบถอดรองเท้าการบนั ทกึ นาหนกั ตัวให้บนั ทกึ ค่าเป็นกิโลกรัม สาหรับสว่ นสูงใหบ้ นั ทกึ คา่ เป็นเมตร ลุกน่ัง 60 วนิ าที (Sit–ups 60 Seconds) รปู ภาพท่ี 2.2 แสดงการลกุ นั่ง 60 วนิ าที (Sit–ups 60 Seconds)วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ทดสอบความแข็งแรงและความอดทนของกลา้ มเนือทอ้ งค่าความเช่ือม่ัน 0.734อปุ กรณ์ 1. เบาะรองพนื หรือสนามหญ้านุ่ม 2. นาฬกิ าจับเวลา

เลม่ ที่ 2 เรอ่ื ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 13วธิ ีทดสอบ ให้ผูเ้ ขา้ รับการทดสอบนอนหงาย ชนั เขา่ ทงั สองขา้ ง เข่าทังสองงอเป็นมมุ ฉาก เทา้ ทงั สองวางหา่ งกนั ประมาณ 1 ชว่ งไหล่ ฝา่ เทา้ วางราบกับพืน มือทังสองวางแตะไวท้ ่ีหนา้ ขาทงั สองขา้ ง ใหผ้ ชู้ ว่ ยการทดสอบน่ังอยู่ทป่ี ลายเท้าและเอามือทงั สองจบั ไว้ทบี่ รเิ วณใตข้ ้อพบั ของผ้เู ขา้ รบั การทดสอบ เม่ือได้ยนิ สัญญาณ “เร่ิม” ให้ผเู้ ข้ารบั การทดสอบยกลาตวั ขนึ ไปสู่ท่าน่ัง กม้ ลาตัวให้ศีรษะผ่านไประหวา่ งเข่าแขนทังสองเหยยี ดตรงไปขา้ งหน้า และให้ปลายนวิ แตะเสน้ ตรงทอี่ ยแู่ นวเดียวกับปลายเท้าทังสองข้างแลว้ ลงสูท่ ่าเร่ิมต้น โดยจะต้องใหส้ ะบกั ทังสองข้างแตะพืนระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไมน่ บั จานวนครังในกรณีตอ่ ไปนี 1. มือทังสองไม่ไดว้ างแตะทบี่ รเิ วณขาทงั สองข้าง 2. ในขณะกลบั ลงไปสู่ท่าเร่มิ ต้นสะบกั ไม่ได้แตะพนื 3. ปลายนิวมือทังสองขา้ งไม่ได้แตะเส้นท่ีอยใู่ นระดบั เดยี วกับปลายเท้า 4. ผูเ้ ขา้ รบั การทดสอบใชม้ ือยันพืน เพ่ือดนั ลาตัวขึนการบันทึก บนั ทกึ จานวนครงั ท่ที าไดอ้ ย่างถกู ต้องภายในเวลา 60 วินาที ดันพ้ืน 30 วนิ าที (Push–ups 30 Seconds)รปู ภาพที่ 2.3 แสดงการดันพืน้ 30 วินาที (Push–ups 30 Seconds)

เล่มที่ 2 เรื่อง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 14วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อทดสอบความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนือแขนและกล้ามเนือสว่ นบนของรา่ งกายคา่ ความเชือ่ มั่น 0.728อปุ กรณ์ 1. เบาะรองพืน หรือสนามหญ้านมุ่ 2. นาฬิกาจบั เวลาวธิ ที ดสอบ ให้ผู้เขา้ รับการทดสอบคุกเข่าบนเบาะ เหยียดลาตัวไปข้างหน้า โดยยันฝา่ มอื ทังสองขา้ งไวก้ ับพืน ใหป้ ลายนิวชีตรงไปข้างหนา้ และให้ฝา่ มือทงั สองข้างเท่ากบั ช่วงไหล่ในขณะทผี่ ทู้ ดสอบเตรียมพร้อมท่ีจะปฏิบัติ ลาตัวจะตอ้ งเหยยี ดตรง แขนทังสองอยู่ทา่ เหยยี ดตงึ ขอ้ เทา้ ทงั สองจะต้องไขว้กนั ไวต้ ลอดเวลา เมื่อไดย้ นิ สญั ญาณ “เร่ิม” ให้ผู้เขา้ รับการทดสอบยุบข้อเพื่อดันพนื ลงไป โดยทามมุ90 องศาทีข่ ้อศอกทังสองข้าง ในขณะท่แี ขนทอ่ นบนขนานกับพืน แลว้ ยกแขนและลาตัวกลบั ขึนมาอยู่ในท่าเดมิ นับเปน็ 1 ครังระเบียบการทดสอบ 1. ผทู้ ดสอบจะต้องสงั เกตลาตวั ของผเู้ ข้ารับการทดสอบให้เหยยี ดตรง แขนทงั สองอย่ใู นท่าเหยยี ดตงึ ก่อนจะยบุ ข้อ เพื่อการดนั พนื ลงไป 2. ข้อเทา้ ทังสองข้างของผเู้ ข้ารบั การทดสอบจะต้องยกไขว้กันอยู่ตลอดเวลา 3. เมอ่ื ยุบข้อและดันพืนลงไป บรเิ วณหนา้ อกของผู้เขา้ รับการทดสอบลดตา่ ลงจนเกือบจะแตะบริเวณเบาะฟองนาการบนั ทึก บนั ทึกจานวนครังทท่ี าได้อย่างถกู ต้องภายในเวลา 30 วินาที น่ังงอตัวไปขา้ งหนา้ (Sit and Reach)

เล่มท่ี 2 เร่อื ง การเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 15 รปู ภาพที่ 2.4 แสดงการนั่งงอตัวไปขา้ งหน้า (Sit and Reach)วัตถุประสงค์ เพอื่ ทดสอบความอ่อนตัวของกล้ามเนือหลงั และตน้ ขาดา้ นหลงัค่าความเช่ือมัน่ 0.948อุปกรณ์ กลอ่ งเคร่อื งมือวัดความอ่อนตัว ขนาดสูง 30 เซนตเิ มตรวิธีทดสอบ ใหผ้ ู้เข้ารบั การทดสอบนั่งเหยียดขาตรงไปขา้ งหน้า โดยเท้าทังสองอยหู่ า่ งกันประมาณ1 ฟุต โดยใหฝ้ ่าเทา้ วางราบชิดกล่องวดั ความอ่อนตัว แขนทงั สองเหยียดตรงไปขา้ งหน้า ให้ผเู้ ขา้ รบั การทดสอบค่อย ๆ ก้มลาตัวลงและใช้ปลายนวิ จากมือทงั สองดันแกนวัดระยะทางไปข้างหนา้ จนไมส่ ามารถก้มลาตวั ลงไปได้อีก ให้ผเู้ ข้ารับการทดสอบก้มตวั คา้ งไว้ 1 วินาทีระเบียบการทดสอบ 1. ขณะท่ีก้มเพื่อให้ปลายนวิ แตะแกนทวี่ ัดระยะทางไปข้างหน้านนั เข่าจะต้องไมง่ อ 2. หา้ มผูเ้ ข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะท่ีก้มลาตัวลง 3. ใหท้ าการทดสอบ 2 ครงัการบันทกึ 1. ให้บันทกึ ระยะทางเป็นเซนติเมตร 2. บันทกึ ค่าท่ีทาการทดสอบได้ดที ี่สดุ จากการทดสอบ 2 ครัง วง่ิ อ้อมหลัก (Zig–Zag Run)

เลม่ ที่ 2 เร่ือง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 16 4 เมตร 4 เมตร 5 เมตร2 เมตร45 • 45 • 4 เมตร 4 เมตร รูปภาพท่ี 2.5 แสดงการวิ่งออ้ มหลกั (Zig–Zag Run)วตั ถุประสงค์ เพอื่ ทดสอบความแคล่วคล่องวอ่ งไวค่าความเช่อื มัน่ 0.809อุปกรณ์ 1. หลกั สูง 100 เซนติเมตร จานวน 6 หลกั 2. เทปวดั ระยะทาง 3. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วินาทีวิธีทดสอบ ก่อนการทดสอบ ผู้ทดสอบจะต้องเตรยี มสถานทด่ี ังนี คือ จากเสน้ เร่ิม วดั ระยะทางมา5 เมตร จะเปน็ จุดในการวางหลักที่ 1 จากหลกั ท่ี 1 ในแนวเสน้ เดยี วกนั วัดระยะทางจากหลกั ที่ 1มา 4 เมตร จะเปน็ จุดในการวางหลกั ที่ 3 และเชน่ เดยี วกัน จากหลักท่ี 3 วดั ระยะทางมาอีก 4 เมตรจะเปน็ จดุ วางหลกั ที่ 5 จากหลกั ท่ี 1, 3, 5 ทามมุ 45 องศา วดั ระยะทางจดุ ละ 2 เมตร จะเป็นการวางหลักท่ี 2, 4 และ 6 ซึง่ ในแต่ละจดุ นัน กจ็ ะมีระยะทางห่างกันจุดละ 4 เมตร เชน่ เดยี วกัน ให้ผ้เู ขา้ รับการทดสอบยืนอยู่หลังเส้นเรม่ิ เมือ่ ไดร้ บั สัญญาณ “เริม่ ” ผูเ้ ขา้ รับการทดสอบจะวง่ิ ไปอ้อมซา้ ยในหลักท่ี 1 แล้วไปอ้อมขวาในหลักท่ี 2 ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลักที่ 3 อ้อมขวาในหลักท่ี4 อ้อมซ้ายในหลักที่ 5 และอ้อมขวาในหลักที่ 6 ต่อจากนันก็จะว่งิ กลบั มาอ้อมขวาในหลกั ท่ี 5 อ้อมซ้ายในหลักท่ี 4 อ้อมขวาในหลักท่ี 3 อ้อมซ้ายในหลกั ที่ 2 และอ้อมขวาในหลักท่ี 1 และวงิ่ ผา่ นเส้นเร่มิ ไปอย่างรวดเรว็

เล่มท่ี 2 เร่อื ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 17ระเบยี บการทดสอบ หากผู้เข้ารบั การทดสอบว่ิงผดิ เส้นทางตามท่ีกาหนด หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายสัมผสั กบั หลักท่วี างไว้ ให้หยุดพกั และทาการทดสอบใหม่การบนั ทกึ บนั ทึกเวลาท่ผี เู้ ข้ารบั การทดสอบเริม่ ต้นออกวง่ิ จากเสน้ เรม่ิ ไปอ้อมหลักทงั 6 หลักและวิ่งกลับไปถึงเสน้ ชยั เป็นวินาที ทศนิยมสองตาแหน่ง วิ่งระยะไกล (Distance Run) รูปภาพท่ี 2.6 แสดงการวง่ิ ระยะไกล (Distance Run)วัตถปุ ระสงค์ เพื่อทดสอบความอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวยี นโลหิตระยะทางในการวิ่ง ระยะทาง 1,600 เมตรอปุ กรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา 1/100 วนิ าที 2. สนามทม่ี ลี วู่ ่ิง หรือทางวงิ่ พืนราบวธิ ที ดสอบ เมอื่ ใหส้ ญั ญาณ “เขา้ ท่ี” ผ้เู ข้ารบั การทดสอบยืนให้เท้าขา้ งหนึง่ แตะเสน้ เริ่ม เม่อื พร้อมหรอื นิง่ ผู้ปลอ่ ยตัวสัง่ “ไป” ผู้เข้ารับการทดสอบออกวิ่งไปตามเส้นทางท่ีกาหนดให้เรว็ ทสี่ ุดเท่าทจี่ ะทาได้ (แม้วา่ จะอนุญาตใหเ้ ดินได้ แตก่ ็เนน้ ให้รักษาระดบั ความเรว็ ใหค้ งทอ่ี ยู่เสมอ)

เลม่ ที่ 2 เรอื่ ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 18ระเบยี บการทดสอบ 1. หากผเู้ ข้ารบั การทดสอบไม่สามารถวง่ิ ไดต้ ลอดระยะทางทก่ี าหนดได้ ก็ใหเ้ ดินจนครบระยะทาง 2. ผเู้ ข้ารบั การทดสอบทไ่ี มส่ ามารถว่ิง/เดิน ได้ครบระยะทางทกี่ าหนดจะไม่มีการบันทกึเวลา และต้องทาการทดสอบใหม่ 3. หากโรงเรยี นไม่มีลวู่ ิ่งระยะทาง 400 เมตร ก็สามารถดดั แปลงจากสนามหรือทางวงิ่ ให้ครบระยะทางท่ีกาหนดไว้การบันทึก บนั ทกึ เวลาเป็นนาทแี ละวินาที

เลม่ ที่ 2 เร่ือง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 19กิจกรรมที่ 1 การหาค่าดชั นมี วลกายวธิ ีฝกึ ตามรูปภาพ 1. ทาการชั่งนาหนักและวดั สว่ นสงู 2. นานาหนกั และสว่ นสูงมาคานวณหาคา่ ดัชนมี วลกาย 3. โดยนาค่านาหนกั ทชี่ งั่ ได้ (กิโลกรัม) หารดว้ ยส่วนสงู ทว่ี ดั ได้ (เมตร)2 4. เม่ือปฏบิ ตั ขิ ้อ 1 - 3 ได้แล้วให้เพ่ิมความเรว็ และหมัน่ ฝกึ ฝนจนเกิดความชานาญรปู ภาพท่ี 2.7 แสดงการหาคา่ ดชั นมี วลกาย

เลม่ ที่ 2 เรอ่ื ง การเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 20กจิ กรรมท่ี 2 ลุกนั่ง 60 วนิ าทีวิธฝี กึ ตามรปู ภาพ 1. จับคู่ นอนหงาย ชันเข่าทงั สองขา้ ง เขา่ ทังสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทังสองวางห่างกันประมาณ1 ชว่ งไหล่ ฝ่าเทา้ วางราบกับพืน มอื ทังสองวางแตะไว้ที่หน้าขาทังสองขา้ ง 2. ใหค้ ู่นง่ั อยู่ทป่ี ลายเทา้ และเอามอื ทงั สองจับไวท้ ี่บริเวณใต้ข้อพบั 3. ยกลาตวั ขนึ ไปสู่ทา่ น่ัง ก้มลาตวั ให้ศีรษะผา่ นไประหวา่ งเข่าแขนทังสองเหยียดตรงไปข้างหน้าและให้ปลายนิวแตะเสน้ ตรงที่อย่แู นวเดยี วกบั ปลายเท้าทังสองข้าง แลว้ ลงสูท่ ่าเร่มิ ตน้ โดยจะต้องให้สะบกั ทังสองข้างแตะพนื 4. เมือ่ ปฏิบตั ขิ ้อ 1 - 3 ไดแ้ ลว้ ให้เพ่ิมความเรว็ และหม่นั ฝึกฝนจนเกิดความชานาญรูปภาพที่ 2.8 แสดงการลุกนั่ง 60 วนิ าที

เลม่ ท่ี 2 เร่ือง การเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 21กิจกรรมท่ี 3 ดนั พื้น 30 วินาทีวิธีฝกึ ตามรูปภาพ 1. คกุ เข่าบนเบาะ เหยียดลาตัวไปข้างหนา้ โดยยนั ฝ่ามือทังสองขา้ งไว้กบั พนื ใหป้ ลายนวิ ชีตรงไปขา้ งหน้า และให้ฝา่ มือทังสองข้างเท่ากบั ช่วงไหล่ 2. ลาตวั จะต้องเหยียดตรง แขนทงั สองอยู่ท่าเหยียดตงึ ข้อเท้าทังสองจะต้องไขว้กนั ไว้ตลอดเวลา 3. ยบุ ขอ้ เพอ่ื ดันพนื ลงไป บรเิ วณหน้าอกของผู้เข้ารบั การทดสอบลดต่าลงจนเกือบจะแตะบริเวณเบาะฟองนา โดยทามุม 90 องศา ทขี่ ้อศอกทังสองข้าง ในขณะที่แขนท่อนบนขนานกบั พืนแล้วยกแขนและลาตัวกลับขึนมาอยใู่ นท่าเดิม นับเปน็ 1 ครัง 4. เม่อื ปฏบิ ัติข้อ 1 - 3 ไดแ้ ล้วให้เพิ่มความเร็วและหมั่นฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญรปู ภาพที่ 2.9 แสดงการดันพ้นื 30 วนิ าที

เลม่ ท่ี 2 เร่ือง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 22กิจกรรมที่ 4 นัง่ งอตัวไปข้างหน้าวธิ ฝี ึกตามรูปภาพ 1. นัง่ เหยยี ดขาตรงไปขา้ งหน้า โดยเทา้ ทงั สองอย่หู า่ งกนั ประมาณ 1 ฟตุ 2. ฝา่ เท้าวางราบชิดกล่องวัดความอ่อนตวั แขนทังสองเหยียดตรงไปข้างหนา้ 3. คอ่ ย ๆ กม้ ลาตัวลงและใช้ปลายนิวจากมือทังสองดนั แกนวดั ระยะทางไปข้างหนา้ จนไม่สามารถก้มลาตวั ลงไปไดอ้ ีก ค้างไว้ 1 วินาที 4. เมอ่ื ปฏิบตั ิข้อ 1 - 3 ได้แล้วให้เพ่ิมความเรว็ และหมั่นฝกึ ฝนจนเกิดความชานาญรปู ภาพท่ี 2.10 แสดงการนัง่ งอตวั ไปขา้ งหนา้

เลม่ ท่ี 2 เรอื่ ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 23กิจกรรมท่ี 5 ว่ิงอ้อมหลักวธิ ีฝกึ ตามรูปภาพ 1. ยืนอยู่หลังเส้นเร่ิม 2. วิ่งไปอ้อมซา้ ยในหลักท่ี 1 แล้วไปอ้อมขวาในหลักท่ี 2 ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลกั ที่ 3อ้อมขวาในหลกั ท่ี 4 อ้อมซ้ายในหลกั ท่ี 5 และอ้อมขวาในหลกั ท่ี 6 3. จากนนั ก็จะว่ิงกลบั มาอ้อมขวาในหลกั ท่ี 5 ออ้ มซ้ายในหลกั ท่ี 4 อ้อมขวาในหลกั ที่ 3อ้อมซ้ายในหลกั ที่ 2 และออ้ มขวาในหลักที่ 1 และวง่ิ ผา่ นเส้นเริ่มไปอยา่ งรวดเร็ว 4. เม่อื ปฏิบตั ขิ ้อ 1 - 3 ไดแ้ ลว้ ใหเ้ พิ่มความเรว็ และหมนั่ ฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญ 4 เมตร 4 เมตร 5 เมตร2 เมตร45 • 45 • 4 เมตร 4 เมตร รปู ภาพท่ี 2.11 แสดงการวง่ิ อ้อมหลกั

เล่มท่ี 2 เรือ่ ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 24 แบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายจานวน 10 ข้อ 10 คะแนนคาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดียว โดยทาเครือ่ งหมาย × ลงใน กระดาษคาตอบ1. ลักษณะใด คอื กาลัง ก. กระโดดตบลูกบอลสูง ๆ ข. ว่งิ 100 เมตร ค. เขน็ รถยนต์ ง. ว่ายนา2. ลกั ษณะใด คือ ความอดทน ก. ตบลกู บอล 100 ลูก ตอ่ เน่ือง ข. เสิรฟ์ ลูกบอลท่ีมนี าหนกั ค. ว่งิ 1,500 เมตร ง. ยกนาหนกั3. ความสมดลุ ของร่างกาย คือ ยกเว้น ก. ความสมั พนั ธ์ของประสาทและกล้ามเนือ ข. รา่ งกายไมเ่ ซ ค. การทรงตวั ง. การนอน4. ความอดทน มีหลกั การการฝกึ คอื ยกเวน้ ก. ปริมาณการใช้แรงนอ้ ย ข. จานวนครังมาก ค. ฝกึ ไมต่ ่อเนือ่ ง ง. ระยะทางไกล5. ความอ่อนตวั คือ ก. การงอหรือเหยยี ดข้อตา่ ง ๆ ข. การเลน่ ทาสะพานโคง้ ค. การฟ้อนเลบ็ ง. การดัดหลงั

เลม่ ท่ี 2 เรือ่ ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 256. กฬี าทีส่ ร้างความคล่องแคล่ววอ่ งไวไดด้ ี คือ ก. กีฬาวอลเลย์บอล ข. กฬี าบาสเกตบอล ค. กฬี าแฮนดบ์ อล ง. กฬี ายิมนาสติก7. ในกีฬาวอลเลย์บอลตอ้ งอาศัยความคล่องแคล่วว่องไว ยกเว้น ก. การกม้ พุ่งตวั รบั ลกู ข. การวง่ิ ซิกแซก ค. การวงิ่ กลบั ตวั ง. การกระโดด8. การฝึกความเร็วต้องคานึงถึงความสัมพนั ธ์ 3 อยา่ ง ยกเวน้ ก. ปรมิ าณของการออกแรง ข. ความว่องไว ค. จานวนครงั ง. ระยะทาง9. ในกฬี าวอลเลย์บอลตอ้ งอาศัยความเร็ว ยกเว้น ก. ความเร็วในการเหวี่ยงแขน ข. ความเร็วในการตบลูกบอล ค. ความเรว็ ในการกระโดด ง. ความรนุ แรง10. การฝกึ ความแขง็ แรงตอ้ งคานึง ยกเว้น ก. ความสามารถแตล่ ะบคุ คล ข. นาหนักตัว ค. เพศ ง. วัย

เลม่ ท่ี 2 เรอ่ื ง การเสริมสรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 26 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื ง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายชื่อ - สกลุ ..................................................................... ชน้ั ............ เลขท่ี ..............ขอ้ ท่ี ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 910

เลม่ ท่ี 2 เรอื่ ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 27 เฉลยคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรอื่ ง การเสรมิ สร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายจานวน 10 ข้อ 10 คะแนน ขอ้ ที่ คาตอบทีถ่ กู 1. ง 2. ก 3. ข 4. ค 5. ค 6. ง 7. ข 8. ก 9. ง 10. ข

เลม่ ท่ี 2 เรอื่ ง การเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 28 เฉลยคาตอบแบบทดสอบหลังเรยี น เรอื่ ง การเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกายจานวน 10 ข้อ 10 คะแนน ขอ้ ท่ี คาตอบทถี่ ูก 1. ค 2. ก 3. ง 4. ค 5. ก 6. ข 7. ข 8. ก 9. ง 10. ก

เลม่ ท่ี 2 เรื่อง การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 29 เอกสารอา้ งอิงฉัตรชยั แฝงสาเคนและคณะ (2555). วอลเลย์บอล. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์.พลศกึ ษา, กรม. คู่มือการวัดและประเมินผล, กรงุ เทพฯ : ครุสภา, 2531.พศิ ิษฐ์ ไตรรัตน์ผดุงผล. กตกิ าใหมว่ อลเลยบ์ อล. กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์โอเดยี นสโตร์, 2537.พิชติ ภูติจนั ทร์. วอลเลย์บอล. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์, (2546)ฟอง เกดิ แก้ว. แบบเรยี นวิชาพลานามยั พ. 103. กรงเทพฯ : วัฒนาพานิช, 2521วรี ะพงษ์ บางทา่ ไม้. ค่มู ือวอลเลยบ์ อลข้ันพ้นื ฐาน. กรงเทพฯ : เอช-เอน็ การพมิ พ์, 2521.วโิ รจน์ มทุ ุกนั ต์. วอลเลยบ์ อล. กร่งุ เทพมหานคร : ภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทาลัยศรีนครินทร วิโรฒ มหาสารคาม, 2535.สพุ ติ ร สมาหิโต (2534). การทดสอบสมรรถภาพทางกาย. กรุงเทพฯ : ตะเกยี ง.สุพิตร สมาหิโต (2541). การสร้างแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับเด็กไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.ศิริรัตน์ หิรัญรัตน์. (2539). สมรรถภาพทางกายและทางกีฬา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล. (อดั สาเนา).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook