Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

หน่วยที่ 1-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Published by จันทนา ลัยวรรณา, 2018-07-21 02:55:25

Description: หน่วยที่ 1-ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

หนว ยที่ 1 ความรทู ัว่ ไปเกยี่ วกับคอมพิวเตอรสาระสําคญั คอมพิวเตอรเปน อุปกรณเคร่ืองอิเล็กทรอนกิ สแบบอัตโนมตั ทิ ี่ถกู สรางขึ้นมา เพื่ออํานวยความสะดวกในดานการคํานวณและจดจํา ในอดีตมนุษยคิดคนเคร่ืองมือเพ่ือชวยในการคํานวณจนวิวัฒนาการมาเปนคอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอรมี 3 ขั้นตอน คือ การรับขอมูล การประมวลผล และการแสดงผลลัพธ เน่ืองจากคอมพิวเตอรมีลักษณะสําคัญท่ีแตกตางจากเครื่องคํานวณทั่วไป การมีความรูท่ัวไปเก่ียวกับคอมพิวเตอร จึงชวยใหผูใชสามารถนําคอมพิวเตอรมาใชประโยชนในการทาํ งานหลาย ๆ ดานไดอ ยา งประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้นึสาระการเรียนรู 1. ความหมายของคอมพวิ เตอร 2. ววิ ัฒนาการของคอมพิวเตอร 3. การทํางานของคอมพิวเตอร 4. ลกั ษณะสําคญั ของคอมพิวเตอร 5. ประเภทของคอมพวิ เตอร 6. ประโยชนของคอมพิวเตอรจดุ ประสงคการเรียนรู 1. จุดประสงคท่ัวไป 1.1 เพ่อื ใหน กั เรยี นมีความรูความเขาใจเก่ียวกบั ความหมายของคอมพิวเตอร 1.2 เพือ่ ใหน กั เรียนมีความรคู วามเขาใจเก่ียวกบั ววิ ัฒนาการของคอมพิวเตอร 1.3 เพอ่ื ใหนกั เรียนมีความรูความเขา ใจเก่ียวกบั หลักการทาํ งานของคอมพวิ เตอร 1.4 เพื่อใหนกั เรยี นมีความรคู วามเขาใจเก่ียวกบั ลักษณะสําคญั ของคอมพิวเตอร 1.5 เพอ่ื ใหน กั เรียนมีความรคู วามเขา ใจเกย่ี วกับประเภทของคอมพิวเตอรได 1.6 เพือ่ ใหนักเรยี นมีความรูความเขาใจเก่ียวกับประโยชนของคอมพิวเตอร 2. จุดประสงคเชงิ พฤติกรรม 2.1 บอกความหมายของคอมพิวเตอรได 2.2 บอกวิวฒั นาการของคอมพวิ เตอรไ ด 2.3 อธิบายหลักการทาํ งานของคอมพิวเตอรได 2.4 บอกลกั ษณะสาํ คัญของคอมพิวเตอรไ ด 2.5 จําแนกประเภทของคอมพิวเตอรได 2.6 บอกประโยชนของคอมพิวเตอรไ ด

2 แบบทดสอบกอนบทเรยี นหนว ยที่ 1 ความรทู ัว่ ไปเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอรวชิ า ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร รหัสวิชา 2204 - 2002ขอสอบจํานวน 15 ขอ (15 คะแนน) เวลา 15 นาทีคําส่ัง จงเลือกคําตอบท่ีถูกตองที่สุดเพียงขอเดียวแลวทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน กระดาษคาํ ตอบ1. คอมพวิ เตอรมีความหมายตรงกบั ขอใด (Obj.1.1) ก. การคํานวณ ข. โปรแกรมชดุ คําสงั่ ค. แผงวงจรไฟฟาชนิดหนง่ึ ง. เครื่องอเิ ลก็ ทรอนิคสแบบอตั โนมตั ิ ทาํ หนา ทีเ่ หมือนสมองกล2. คาํ วา “คอมพวิ เตอร” ศัพทบ ัญญัตใิ นภาษาไทยตรงกบั ขอใด (Obj.1.1) ก. คณิตศร ข. คณิตกรณ ค. คณิตสารน ง. คณติ การณ3. ผใู ดไดร ับการยกยองใหเปนบดิ าแหง คอมพิวเตอร (Obj.1.2) ก. จอหน เนเปยร ข. ชารลส แบบเบจ ค. วิลเฮลม ชคิ การด ง. โจเซฟ มารี แจคการด4. ขอใดเปน คอมพิวเตอรแบบดจิ ติ อลเครื่องแรกของโลก (Obj.1.2) ก. อีนีแอ็ก ข. เคร่อื งวเิ คราะห ค. ฮารวารดมารค วัน ง. อตานาซอฟฟ-เบอรร ี คอมพวิ เตอร5. คําวา “PROCESS” มคี วามหมายตรงกับขอใด (Obj.1.3) ก. รบั ขอ มลู ข. แปลขอมลู ค. แสดงผลขอมูล ง. ประมวลผลขอ มูล

36. ลาํ ดบั การทาํ งานของคอมพวิ เตอรตรงกับขอใด (Obj.1.3) ก. รบั ขอมูล  แปลขอมลู  แสดงผลขอ มลู ข. รับขอมลู  อา นขอ มูล  แสดงผลขอ มูล ค. รบั ขอมูล  ประมวลผลขอ มลู  แสดงผลขอมลู ง. อา นขอมูล  ประมวลผลขอมลู  แสดงผลขอ มลู7. ขอใดเปน ลักษณะสําคญั ของคอมพิวเตอรในดานความถูกตอ ง แมนยาํ (Obj.1.4) ก. การทาํ งานตามลําดับขนั้ ตอนไดอยางตอเนือ่ ง ข. การเชื่อมตอเปน เครอื ขายและการใชอินเทอรเ น็ต ค. ความสามารถในการจัดเกบ็ ขอมลู ไดห ลากหลายรปู แบบ ง. ผลลพั ธท ่ีไดมีความผดิ พลาดนอยกวา การใชแ รงงานมนุษย8. ขอ ใดเปน ลกั ษณะสาํ คญั ของคอมพวิ เตอรในดา นการติดตอ สอ่ื สาร (Obj.1.4) ก. การลดความผิดพลาดตาง ๆ ข. การทํางานไดอยางตอเน่อื งและซ้ํา ๆ ค. คํานวณและหาผลลัพธท่ีมีลกั ษณะซ้าํ ๆ ง. การเช่อื มตอเปนเครอื ขายและการใชอนิ เทอรเ น็ต9. ขอใดเปน ประเภทคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ (Obj.1.5) ก. มนิ คิ อมพิวเตอร ข. คอมพิวเตอรแบบอนาลอ็ ก ค. คอมพวิ เตอรเ พ่ืองานเฉพาะกิจ ง. คอมพวิ เตอรเ พ่ืองานอเนกประสงค10. ขอ ใดเปนประเภทคอมพิวเตอรท ่ีแบง ประเภทตามหลกั การประมวลผล (Obj.1.5) ก. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร ข. คอมพวิ เตอรแบบลูกผสม ค. คอมพวิ เตอรเพื่องานเฉพาะกิจ ง. คอมพิวเตอรเพ่ืองานอเนกประสงค11. ขอใดเปนประเภทคอมพิวเตอรต ามวัตถปุ ระสงคของการใชง าน (Obj.1.5) ก. คอมพวิ เตอรแบบพกพา ข. คอมพิวเตอรแบบลูกผสม ค. คอมพิวเตอรแบบอนาล็อก ง. คอมพวิ เตอรเ พื่องานเฉพาะกิจ12. ขอ ใดเปนคอมพวิ เตอรท ่ีมีขนาดเลก็ ที่สุด (Obj.1.5) ก. มนิ ิคอมพวิ เตอร ข. ไมโครคอมพวิ เตอร ค. ซปุ เปอรคอมพิวเตอร ง. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร

413. ขอ ใดเปน ประโยชนข องคอมพวิ เตอรในดา นการแพทย (Obj.1.6) ก. ดานความบนั เทิง ข. การจองต๋วั เคร่ืองบนิ ค. การตรวจวินจิ ฉัยโรค ข. การควบคมุ การสญั ญาณจราจรทางอากาศ14. ประโยชนที่นกั เรยี นไดรับมากทสี่ ดุ จากการใชงานคอมพวิ เตอร (Obj.1.6) ก. ดา นสุขภาพ ข. ดานความบนั เทิง ค. ดานการเงนิ การธนาคาร ง. ดา นการศึกษา ดา นความรู ดานการใชงาน15. ขอใดเปน ประโยชนของคอมพวิ เตอรใ นดานงานวิศวกรรมและสถาปต ยกรรม (Obj.1.6) ก. การจองตวั๋ เคร่อื งบนิ ข. การตรวจวินิจฉยั โรค ค. การควบคุมการสญั ญาณจราจรทางอากาศ ง. การออกแบบ หรือจาํ ลองสภาวการณต าง ๆการประเมนิ ผลจากการทาํ แบบทดสอบกอนเรยี น หนวยท่ี 1 ความรทู ่วั ไปเกยี่ วกบั คอมพิวเตอรรวมคะแนนท่ีไดกอ นเรียน .......................................................คะแนนหมายเหตุ ครูใหนักเรียนสลับกันตรวจ เพ่ือฝกความซื่อสัตย และความรับผิดชอบ การยอมรับซ่ึงกันและกัน พรอมสรุปคะแนนลงในใบประเมินและลงชอื่ กํากบั การตรวจ

5 ความรูทัว่ ไปเก่ยี วกบั คอมพิวเตอรบทนํา ปจจุบันคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทในการดําเนินงานและในชีวิตประจําวันมากย่ิงขึ้นคอมพิวเตอรยังเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหการดําเนินงานในองคกรมีประสิทธิภาพ ทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชนลวนนําคอมพิวเตอรเขามาใชในการทํางานดวยกันท้ังส้ิน การศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับความรูในการใชคอมพิวเตอร การทําความเขาใจหลักการทํางานของคอมพิวเตอร ประเภทของคอมพิวเตอร ทาํ ใหสามารถนําคอมพิวเตอรมาประยุกตใชง านไดอยา งถูกตองและเหมาะสม1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร กุลยา น่ิมสกลุ (2535:2) กลาวไววา คําวา “คอมพิวเตอร” มาจากคําวา “COMPUTARE”ซ่งึ เปน ภาษาละตนิ หมายความวา การนับ หรอื การคํานวณ ราชบัณฑิตยสถาน (2556:247) กลาววา คอมพิวเตอรหมายถึง “เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เสมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ๆ ทั้งที่งาย และซับซอน โดยวิธีทางคณิตศาสตร” ราชบัณฑิตยสถาน (2543:198) ไดกลาวถึงคําวา คอมพิวเตอร ในภาษาอังกฤษ เรียกวา“COMPUTER” หรอื ในภาษาไทยเรยี กวา “คณิตกรณ” ภาพที่ 1-1 คอมพิวเตอรแ บบตง้ั โตะ หรือ ไมโครคอมพวิ เตอร จากท่ีกลาวมาขางตน สรุปวา “คอมพิวเตอร” ในภาษาไทยเรียกวา “คณิตกรณ” ในภาษาองั กฤษเรยี กวา “COMPUTER” ซ่ึงมาจากคาํ วา “COMPUTARE” ซง่ึ เปนภาษาละติน ท่ีแปลวาการคํานวณ คอมพิวเตอรเปนอุปกรณทางไฟฟาชนิดหนึ่งที่ถูกสรางขึ้นมาเพ่ือใชทํางานแทนมนุษยในดา นการคาํ นวณและจดจําขอมลู

61.2 วิวฒั นาการของคอมพิวเตอร ตงั้ แตส มัยโบราณมนษุ ยใชนิว้ มือนิ้วเทา ชวยในการนับ แตม ีขอจาํ กัดตรงทนี่ ิ้วมือนิ้วเทาเมื่อนับรวมกันไดแค 20 น้ิวเทานั้น มนุษยจึงตองหาส่ิงของใกลตัวมาชวยในการนับ เชน กอนหินกอนกรวด กิ่งไม ทอนไม เปนตน หลังจากนั้นมนุษยไดคิดคนเคร่ืองมือสําหรับชวยในการนับและการคาํ นวณ และพัฒนากลไกตาง ๆ จนมาเปน คอมพวิ เตอรใ นปจจุบนั การคิดคน เคร่ืองมือสําหรับชวยในการนับและการคํานวณ จึงเปนจุดกําเนิดของคอมพิวเตอรซ่ึงสามารถสรุปววิ ัฒนาการในการคิดคน เคร่อื งมอื ในการคํานวณของมนษุ ยออกเปนยุค ดังนี้ 1.2.1 ยุคกอนเครื่องจักรกล (Premechanical) เริ่มต้ังแต 300 ปกอนคริสตกาลจนถึงปค.ศ.1622 เมื่อมนุษยอยูรวมกันเปนกลุมเปนชุมชน มีความเจริญมากขึ้น มีการคาขายแลกเปลี่ยนสินคา ระหวางกันมากข้นึ มนุษยจึงมีการประดิษฐ อักษร ตัวเลข ภาษา เพ่ือการส่ือสาร การนับโดยใชน้ิวมอื นิว้ เทา และกอ นหิน เพอ่ื ชวยในการคํานวณ เริ่มมขี อ จาํ กดั มากขึ้น มนุษยจึงเริ่มประดิษฐคิดคนเครื่องมือสําหรับใชใ นการคํานวณแทนนิ้วมือ น้วิ เทา และกอนหิน ดงั น้ี 1.2.1.1 แผนหินออนซาลามิส (Salamis Tablet) ไดถูกสรางข้ึนเมื่อประมาณ 300 ปกอนคริสตกาล โดยชาวบาบิลอน บนเกาะซาลามิส สําหรับชวยนับ (Counting board) โดยมีขนาดความยาวประมาณ 149 เซนติเมตร ความกวางประมาณ 75 เซนติเมตร และหนาประมาณ4.5 เซนติเมตร ทําจากหินออน บนแผนหินมีกลุมเสนบรรทัดวางเรียงกันเปนกลุม ๆ แตละกลุมมีเสนบรรทัดลากตั้งฉากแบงออกไป กลุมของสัญลักษณตัวเลขเขียนอยูตรงกลางในสวนของขอบแผนหินรอบ ๆ ท้ังดานซา ย ดานขวาและดานลาง เพ่ือเอาไวช วยทาํ เครือ่ งหมายในการนบั ตวั เลข 1.2.1.2 ลูกคิด (Abacus) ถูกสรางขึ้นในป ค.ศ. 1200 ในประเทศจีน สําหรับชวยในการนับใหงายและรวดเร็วย่ิงข้ึน ลูกคิดประกอบดวยโครงส่ีเหล่ียม และมีแกนรอยตัวลูกคิดกลม ๆสําหรับใชนับเลข สามารถเล่ือนขึ้นลงได ลูกคิดมีหลายแบบ ซึ่งมีรูปแบบแตกตางกันออกไปตามภมู ิภาค เชน บาบิโลน โรมัน จีน ญี่ปุน เปนตน ชาวจีนเรียกลูกคิดวา “suan-pan” ลูกคิดเปนที่นิยมใชแ พรหลายมาจนถึงปจ จุบนั 1.2.1.3 แทงคํานวณของเนเปยร (Napier’s bone) ถูกสรางข้ึนในป ค.ศ. 1612 โดยนักคณิตศาสตรชาวสก็อตชื่อ จอหน เนเปยร (John Napier) แทงคํานวณประกอบดวยแทงไมตีเสนเปนตารางคํานวณหลาย ๆ แทงเอาไวใชสําหรับคํานวณ แตละแทงจะมีตัวเลขเขียนกํากับไวเมือ่ ตองการผลลัพธกจ็ ะหยิบแทงที่ใชระบุตัวเลขแตละหลักมาอานกับแทนดรรชนี (Index) ท่ีมีตัวเลข0-9 กจ็ ะไดคาํ ตอบ 1.2.1.4 ไมบรรทัดคํานวณ (Slide Rule) ถูกสรางข้ึนในป ค.ศ. 1622 โดยจอหนวิลเลียม ออดเทรด (John William Oughtred) โดยนําเอาหลักการลอกาลิทึมของเนเปยร ซ่ึงเปนการคูณอยางงายบนแทงไม โดยนําเอาคาตาง ๆ มาเขียนไวบนแทงไมสองอัน เมื่อมาเล่ือนตอกันก็สามารถหาผลลัพธตาง ๆ ที่ตองการได ตัวเลขหรือคาท่ีเอามาเขียนน้ันจะกําหนดเปนอัตราสวนระยะทาง (Long scale) ซ่ึงสามารถวัดหรือหาคาไดโดยงาย นับไดวาเปนตนแบบของการพัฒนาคอมพวิ เตอรแ บบอนาลอ็ กท่อี าศัยหลกั การวัดซึง่ นิยมใชก ันในเวลาตอ มา

7 ภาพที่ 1-2 ยคุ กอนเครื่องจักรกล (Premechanical) ท่ีมา : https://pt.slideshare.net/NutchaDarad/ch01-slide-53320183 1.2.2 ยุคเคร่ืองจักรกล (Mechanical) เร่ิมต้ังแตป ค.ศ. 1623 จนถึงป ค.ศ. 1889เม่ือมนุษยมีประชากรมากข้ึน ทําใหมีความตองการเคร่ืองอุปโภค บริโภค ปริมาณมากขึ้น จนใชแรงงานคนผลิตไมท ัน มนุษยจึงคดิ คน เครือ่ งมอื เคร่ืองจักรกล สําหรับชวยแบงเบาแรงงานคน เปนยุคทปี่ ระดษิ ฐเ ครอ่ื งกลใหท ํางานดว ยมอเตอรและฟนเฟอง ดงั นี้ 1.2.2.1 นาฬิกาคํานวณ (Calculating Clock) ถูกสรางขึ้นในป ค.ศ. 1623 โดยวิลเฮลม ชิคการด (Wilhelm Schickard) แหงมหาวิทยาลัยเทอรบิงเจน (University of Tubingen)ประเทศเยอรมันนี โดยนําเอาหลักการลอกกาลิทึมของเนเปยรมาประยุกตใช การทํางานของเครื่องอาศยั ตัวเลขตาง ๆ บรรจุบนทรงกระบอกหกชุด แลวใชฟนเฟองเปนตัวหมุนทดเวลาคูณเลข ซึ่งถือไดวาวิลเฮลม ชิคการด (Wilhelm Schickard) เปน ผทู ่ีประดษิ ฐเคร่อื งกลไกสาํ หรบั คาํ นวณเปนคนแรก 1.2.2.2 เคร่ืองคํานวณของปาสคาล (Pascaline Calculator) เปนเคร่ืองมือสําหรับชวยบวกลบเลขไดอัตโนมัติ ถูกสรางข้ึนในป ค.ศ. 1642 โดย เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal)นักคณิตศาสตรชาวฝรงั่ เศส โดยมีลักษณะเปน กลองส่ีเหล่ียม หลกั การคํานวณอาศัยการหมุนฟนเฟองเมื่อวงลอเล็กหมุนครบรอบจะทําใหฟนเฟองไปเก่ียววงลอใหญถัดไปในเศษ 1 สวน 10 รอบเชน เดยี วกับการทดเลข สําหรับผลการคาํ นวณดไู ดท ี่ชอ งดา นบน ซึ่งทําไดเ ฉพาะการหาผลบวกและลบเทาน้นั 1.2.2.3 เครื่องคํานวณของไลบนิช (Leibniz Wheel) หรือ Stepped Reckoner ถูกสรางขึ้นในป ค.ศ. 1674 โดยกอตตฟรีด วิลเฮลม ไลบนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz)นกั คณิตศาสตรช าวเยอรมนั ทาํ การปรบั ปรงุ เครอ่ื งคํานวณของปาสคาลใหม ีความสามารถคูณและหารและมีประสิทธิภาพมากข้นึ 1.2.2.4 เครื่องทอผาของแจคการด (Jacquard’s loom) เปนหูกทอผากึ่งอัตโนมัติถกู สรา งขึ้นในป ค.ศ. 1801 โดยโจเซฟ มารี แจคการด (Joseph Marie Jacquard) นักประดิษฐชาวฝรั่งเศส ไดพัฒนาเคร่ืองทอผาใหสามารถควบคุมลวดลายตามที่ตองการไดโดยอัตโนมัติ เพียงแตนําเอาตัวบัตรเจาะรูที่เปนแมแบบของลวดลายผาใสเขาไปในตัวเคร่ืองนี้ แนวความคิดนี้ที่กอใหเกิดการสรา งคอมพิวเตอรใ หไดทาํ งานตามชดุ คําสง่ั ในเวลาตอ มา

8 1.2.2.5 เครื่องหาผลตาง (Difference Engine) สรางขึ้นในป ค.ศ. 1822 โดยชารลสแบบเบจ (Charles Babbge) นักวทิ ยาศาสตรช าวอังกฤษแหงมหาวิทยาลัยเคมบริดจ (University ofCambridge) เปนบุคคลท่ีไดพยายามเสนอแนวคิดใหเครื่องจักรกลสามารถทํางานไดตามคําส่ังและผิดพลาดนอ ยทส่ี ุด โดยเฉพาะการคํานวณในงานท่ีซับซอนมาก ๆ แตการพัฒนาเคร่ืองหาผลตางยังไมเสร็จโดยสมบูรณ เน่ืองจากยังมีขอผิดพลาดของการทํางานภายในตัวเคร่ืองอยูอีกมาก ประกอบกับเทคโนโลยีของอุปกรณการผลิตในสมัยน้ันยังไมดีพอที่จะผลิตตามแบบท่ีแบบเบจเสนอไวได แนวคิดดังกลาวจึงถูกพักและถูกยกเลิกไปในที่สุด เครื่องหาผลตางท่ีผลิตออกมาน้ันจึงทํางานไดเพียงแคบางสว นเทานั้น 1.2.2.6 เคร่ืองวิเคราะห (Analytical Engine) สรางข้ึนในป ค.ศ. 1834 โดยสรางเคร่ืองจักรกลชนดิ ใหมต ามแนวคิดของชารล ส แบบเบจ เพื่อตองการใหคํานวณไดกับงานแทบทุกชนิดและตองทํางานตามคําส่ังได (programmable) โดยอาศยั แนวคดิ ของโจเซฟ มารี แจคการด (JosephMarie Jacquard) ท่ีเอาบัตรเจาะรูมาชวยควบคุมลวดลายการทอผา ซ่ึงการทํางานของเครื่องวเิ คราะห ประกอบไปดว ยช้นิ สวนท่ีสาํ คญั 4 สวน ดังนี้ 1) สวนเก็บขอมูล (Input Device) เปนสวนที่ใชในการเก็บขอมูลนําเขาและผลลพั ธท ่ีไดจ ากการคาํ นวณ โดยอาศัยบตั รเจาะรใู นการนําขอมูลเขาสูตวั เคร่อื ง 2) สวนประมวลผล (Arithmetic Processor) เปนสวนที่ใชในการประมวลผลทางคณิตศาสตร เพ่อื หาผลลพั ธ 3) สวนควบคุม (Control Unit) เปนสวนที่ใชในการควบคุมและตรวจสอบงานทจ่ี ะนําออกวา ไดผลลัพธท ถ่ี ูกตองหรือไม 4) สวนความจํา (Memory) เปนสวนสําหรับเก็บตัวเลข เพ่ือรอการประมวลผล แนวคิดดังกลาวของชารลส แบบเบจ เปนเสมือนตนแบบของคอมพิวเตอรในยคุ ปจจุบนั เขาจงึ ไดร บั การยกยอ งวาเปน “บิดาแหง คอมพวิ เตอร” ภาพท่ี 1-3 บดิ าแหง คอมพิวเตอร ชารล ส แบบเบจ (Charles Babbge) ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/Charles_Babbage

9 เนื่องจากเทคโนโลยีสมัยน้ันไมเอ้ืออํานวย การดําเนินงานเพ่ือสรางเครื่องดังกลาวก็ไมเปนไปอยางท่ีเขาคาดหวัง วิศวกรและทีมงานชางที่ทําการผลิตไมเห็นดวย เพราะคิดวาเปนไปไมได ดังนั้นการสรางเครื่องดังกลาวจึงไมเกิดขึ้น จนกระท่ังเขาเสียชีวิต หลังจากนั้นในปค.ศ. 1910 ลูกชายของเขาชื่อเฮนร่จี ึงไดนาํ เอาแนวคิดของพอมาสรา งตอจนเปน ผลสําเรจ็ ในป ค.ศ.1842 เลดี้ออกุสตา เอดา ไบรอน (Augusta Ada Byron)นักคณิตศาสตร นําเอาหลักการของ แบบเบจ มาใช โดยนําเคร่ือง Analytical Engine มาแกปญหาทางวิทยาศาสตรไดสําเร็จโดยสรางคําส่ังของเครื่อง เขียนและตรวจสอบชุดคําสั่งงานของเครื่องไวลวงหนา ซ่ึงเปนแนวคิดท่ีคลายคลึงกับการเขียนโปรแกรมในปจจุบันมากท่ีสุด ดวยเหตุนี้เธอจึงไดรับคาํ ยกยองวาเปน “โปรแกรมเมอรคนแรกของโลก” ซึ่งตอมาเธอไดเสยี ชีวิตลงดว ยวัยเพยี งแค 37 ป ภาพท่ี 1-4 โปรแกรมเมอรค นแรกของโลก เลดีอ้ อกุสตา เอดา ไบรอน (Augusta Ada Byron) ท่ีมา : http://history-computer.com/ModernComputer/thinkers/Ada.html ภาพท่ี 1-5 ยคุ เคร่ืองจักรกล (Mechanical) ที่มา : https://pt.slideshare.net/NutchaDarad/ch01-slide-53320183

10 1.2.3 ยุคเคร่ืองจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส (Electronechanical) เปนยุคที่เร่ิมต้ังแตปค.ศ. 1890 จนถึงป ค.ศ. 1945 เปนยุคที่ตัวเคร่ืองใชเครื่องจักรกลรวมกับระบบกระแสไฟฟาในการทํางาน โดยอาศัยวงจรท่ีประกอบดวยหลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) ซึ่งมีอายุการใชงานท่ีส้ันและตองมีการเปล่ียนหลอดอยูบอย ๆ ทําใหเปลืองตนทุนในการบํารุงรักษามากพอสมควรเครอ่ื งจักรกลระบบอิเลก็ ทรอนกิ สในยุคน้ี มีดังนี้ 1.2.3.1 เคร่อื งทาํ ตารางขอมลู (Tabulating Machine) สรางข้ึนในป ค.ศ. 1890 โดยดร.เฮอรแมน ฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) นักสถิติในสํานักงานสถิติแหงชาติของสหรัฐอเมริกาไดพัฒนาระบบโดยเก็บขอมูลลงบนบัตรเจาะรู (punch card) ท่ีทํางานรวมกันกับเคร่ืองทําตารางขอมูล เพ่ือใชประมวลผลสําหรับการสํามะโนประชากรของประเทศสหรัฐข้ึน ระบบน้ีสามารถชวยประหยัดเวลา ลดคาใชจาย และประมวลผลไดเร็วกวาการทํางานจากเดิม ตอมา ดร.เฮอรแมนฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) ไดต้ังบริษัทข้ึนในป ค.ศ. 1896 เพ่ือผลิตและจําหนายอุปกรณการประมวลผลดว ยบตั รเจาะรู และไดขยายงานเพ่ือจัดตั้งบริษัทใหมขึ้นมา เรียกวา CTR (Computing –Tabulating – Recording Company) หลังจากนนั้ ไดหันไปรว มทุนจัดตั้งบริษัทใหมรวมกับบุคคลอ่ืนและเปลยี่ นชอื่ เปน IBM (International Business Machines) เมอื่ ป ค.ศ. 1924 1.2.3.2 อตานาซอฟฟ-เบอรรี คอมพิวเตอร (Atanasoff-Berry Computer : ABC)เปนเครื่องคํานวณดิจิทอลอิเล็กทรอนิกสเคร่ืองแรกของสหรัฐอเมริกา สรางขึ้นในป ค.ศ. 1942 โดยดร.จอหน วี อตานาซอฟฟ (John V. Atanasoff) อาจารยสาขาฟสิกสแหงมหาวิทยาลัยไอโอวา(Iowa State University) รวมกับลูกศิษยคือ คลิฟฟอรด เบอรรี่ (Clifford Berry) สรางเคร่ืองมือท่ีอาศัยการทาํ งานของหลอดสญุ ญากาศเพ่ือนาํ มาชวยในงานประมวลผลทัว่ ไป 1.2.3.3 โคลอสซัส (Colossus) สรางข้ึนในป ค.ศ. 1943 โดย อลัน ทัวริ่ง (AlanTuring) โดยนักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ รวมกับทีมงานกลุมหนึ่งประกอบดวย ทอมมี่ ฟลาวเวอร(Tommy Flowers) และ เอ็ม เอช เอ นิวแมน (M.H.A. Newman) คิดคนเคร่ืองจักรคํานวณที่เรียกวา Colossus ข้ึน เพื่อถอดรหัสลับของฝายทหารเยอรมันท่ีใชในการติดตอส่ือสารกัน และนําไปใชประโยชนในการทําสงคราม ซ่ึงตนแบบการทํางานของเคร่ืองก็จะคลายกับเคร่ืองวิเคราะหของแบบเบจ 1.2.3.4 ฮารวารดมารควัน (Harvard Mark I : Mark I) หรือ IBM AutomaticSequence Controlled Calculator สรางข้ึนในป ค.ศ. 1944 โดย ศาสตราจารยโฮวารด ไอเคน(Howard Aiken) แหงมหาวิทยาลัยฮารวารด (Havard University) ไดใชหลักการของแบบเบจมาสรางเคร่ืองจักรระบบอิเล็กทรอนิกสข้ึนเปนผลสําเร็จ โดยตัวเครื่องมีขนาดสูง 8 ฟุตและมีความยาวมากถึง 55 ฟุต ประกอบดวยฟนเฟองในการทํางานและใชบัตรเจาะรูเปนส่ือในการนําขอมูลเขาสูเครื่องประมวลผล ซึ่งถือไดวาเปนเคร่ืองคํานวณท่ีสามารถทํางานแบบอัตโนมัติไดดีมากในยุคน้ันแตผูใชยังตองปอนขอมูลคําส่ังโดยผานบัตรเจาะรู เพราะตัวเคร่ืองไมสามารถเก็บชุดคําสั่งไวได จึงทําใหย งุ ยากและเสยี เวลาทาํ งาน

11 ภาพท่ี 1-6 ยคุ เครื่องจักรกลระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส (Electronechanical) ทมี่ า : https://pt.slideshare.net/NutchaDarad/ch01-slide-53320183 1.2.4 ยุคเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส (Electronechanical) หรือ คอมพิวเตอรยุคท่ี 1 เริ่มตั้งแตปค.ศ. 1946 จนถงึ ป ค.ศ. 1958 เปนยุคท่ใี ชหลอดสุญญากาศ และรีเลยเปนอุปกรณหลักในวงจรแทนแบบจักรกลและฟนเฟอง โดยอาศัยหลักการการทํางานของสวิทซไฟฟา (เปด-ปดวงจร) ซ่ึงมีความนาเชื่อถือและความเร็วกวาการใชสวิตซจักรกลถึง 1,000 เทา แตหลอดสุญญากาศนี้มีขอเสียคือตองการพลังงานมาก มีขนาดใหญ อายกุ ารใชง านสนั้ และตองมีการเปล่ียนหลอดบอย ซ่ึงถือเปนความไมสมบูรณของคอมพิวเตอรในยุคน้ี หนวยวัดความเร็วของคอมพิวเตอรในยุคนี้วัดเปนวินาที(Second) ภาษาทีใ่ ช คอื ภาษาเคร่ือง (Machine Language) คอมพิวเตอรในยุคน้ี ไดแก Univac I,IBM 650, IBM 700, IBM 704, IBM 705, IBM 709, MARK I เปน ตน 1.2.4.1..อีนีแอ็ก (Electronics Numerical Integrator and Computer : ENIAC)สรา งขึ้นในป ค.ศ. 1946 โดย ดร.จอหน ดับบลิว มอชลี่ (John W. Mauchly) และจอหน เพรสเปอรเอ็คเคิรท (John Presper Eckert) แหงมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย (University of Pennsylvania)ไดรับการสนับสนุนจากกองทัพสหรัฐอเมรกิ า เพือ่ ใชสําหรับคํานวณวิถีกระสุนของปนใหญ แตเคร่ืองมีขนาดใหญและใชกระแสไฟฟาในการทํางานมาก ทําใหเครื่องจะมีความรอนสูง ทําใหตองติดตั้งตัวเครื่องไวในหองปรับอากาศเพื่อชวยระบายความรอน นับไดวาเปนคอมพิวเตอรท่ีสรางขึ้นดวยระบบไฟฟาหรืออิเล็กทรอนิกส และสามารถใชงานไดอยางสมบูรณ จึงถือวาเปน “คอมพิวเตอรแบบดิจติ อลเครอ่ื งแรกของโลก” ทีโ่ ดยอาศัยแนวคิดในการสรางมาจากเคร่อื งเอบีซี 1.2.4.2 อีดีเอสแอ็ก (Electronics Delay Storage Automatic Calculator :EDSAC) สรางข้ึนในป ค.ศ. 1949 โดย มัวริซ วิลคส (Maurice Wikes) แหงมหาวิทยาลัยเคมบริดจ(University of Cambridge) โดยไดนําแนวคิดของ ดร. จอหน ฟอน นิวแมนน (John VonNeumann) ที่มีความเห็นวา เพื่อใหคอมพิวเตอรมีการทํางานงายย่ิงขึ้น ควรมีการพัฒนาเครื่องใหสามารถเกบ็ ขอ มลู และชดุ คาํ สั่งไวภายใน (Stored Program) โดยไมตองปอนขอมูลเขาไปใหมทุกคร้ังจึงไดตีพิมพเผยแพรหลักการดังกลาว ซ่ึงมีชื่อวา “First Draft of a Report on the EDVACDesign” โดยสามารถเก็บชุดคําสั่งเพื่อทํางานภายใน และมีการเขียนชุดคําส่ังการทํางานออกเปนสวนยอย ๆ (Subroutines) เพือ่ ชว ยในการทํางาน

12 1.2.4.3 อีดีวีเอซี (Electronics Discrete Variable Autometic Computer :EDVAC) เปนคอมพิวเตอรเคร่ืองใหมที่ ดร. จอหน ฟอน นิวแมนน (John Von Neumann) เสนอแนวคิดเพื่อเขารวมทีมสรางกับ ดร.จอหน ดับบลิว มอชล่ี (John W. Mauchly) และจอหน เพรสเปอร เอ็คเคิรท (John Presper Eckert) สรางขึ้นในป ค.ศ. 1951 จนกระทั่งมาสําเร็จอยางสมบูรณในป ค.ศ. 1952 โดยมีรปู แบบตรงตามการออกแบบของ ดร. จอหน ฟอน นิวแมนน ทุกประการ และเปน “คอมพิวเตอรตามแนวสถาปตยกรรมของ ดร. จอหน ฟอน นวิ แมนน” อยางแทจรงิ 1.2.4.4 ยูนิแวก (Universal Automatic Computer : UNIVAC) หรือ สรางขึ้นในปค.ศ. 1951 โดยบริษัทเรมิงตันแรนด ซึ่งเปนบริษัทของ ดร.จอหน ดับบลิว มอชล่ี และจอหน เพรสเปอร เอ็คเคิรท เดิมไดพัฒนาเครื่องยูนิแวก เพื่อใชงานในเชิงธุรกิจเปนคร้ังแรก โดยนํามาใชสําหรับทํานายผลการเลือกต้ังประธานาธิบดีคนที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา เคร่ืองนี้ใชหลอดสุญญากาศ 5,000หลอด แตมีความเร็วในการทํางานสูงกวาคอมพิวเตอรที่ผลิตกอนหนาน้ีมาก สามารถเก็บตัวเลขหรือตัวอักษรไวในหนวยความจําไดถงึ 12,000 ตัว นบั วา เปน “คอมพวิ เตอรเคร่ืองแรกทใี่ ชในเชงิ ธรุ กจิ ” ภาพที่ 1-7 ยคุ เคร่อื งอิเลก็ ทรอนกิ ส (Electronechanical) ทมี่ า : https://pt.slideshare.net/NutchaDarad/ch01-slide-53320183 1.2.5 ยุคทรานซิสเตอร (Transistor) หรือ คอมพิวเตอรยุคที่ 2 เริ่มต้ังแตป ค.ศ. 1958จนถึงป ค.ศ. 1964 เปนยุคท่ีประดิษฐทรานซิสเตอรข้ึนมาใชแทนหลอดสุญญากาศ เพราะทรานซิสเตอรมีขนาดเล็กกวาหลอดสุญญากาศ 200 เทา ทําใหคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลง กินไฟนอยลง ราคาถูกลง ทํางานไดเร็วขึ้น ความเร็วในการทํางานเทากับ 1/103 วินาที (Millisecond) ไดผลลัพธทถี่ ูกตอ งมากกวา และมกี ารสรา งวงแหวนแมเหล็ก (Magnetic core) มาใชแทนดรัมแมเหล็ก(Magnetic drum) เปน หนวยความจําภายในซง่ึ ใชใ นการเก็บขอ มูลและชุดคําสั่ง ภาษาคอมพิวเตอรที่ใชเขียนโปรแกรมในยคุ น้ี คอื ภาษาแอสแซมบลี (Assembly) และภาษาฟอรแทรน (Fortran) ซ่ึงเปนภาษาท่ีใชส ัญลักษณแทนคําส่ังตา ง ๆ ทาํ ใหเ ขียนโปรแกรมไดงายกวาภาษาเครื่องคอมพิวเตอรในยุคนี้ไดแ ก IBM 1620, IBM 1401, CDC 6600, NCR 315, Honey Well เปนตน

13 ภาพท่ี 1-8 ยคุ ทรานซิสเตอร (Transistor) ทม่ี า : https://sites.google.com/site/advprohocbp/generation2 1.2.6 ยุคแผงวงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ คอมพิวเตอรยุคท่ี 3 เร่ิมตั้งแตปค.ศ. 1965 จนถึงป ค.ศ. 1970 เปนยุคที่ใชแผงวงจรรวม ซึ่งเปนวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ถูกบรรจุลงในแผน ซิลิคอน (silicon) หรือ ซิป (Chip) ภายในซปิ แตละตัวประกอบดวยวงจรอิเล็กทรอนิกสหลายพันตวั จงึ ทาํ ใหค อมพิวเตอรมีขนาดเล็กลงกวาเดิม กินไฟนอย ราคาถูก ทํางานไดเร็วขึ้น ความเร็วในการทํางานเทา กับ 1/106 วนิ าที (Microsecond) ความรอ นลดลง และประสทิ ธภิ าพในการทํางานเพ่ิมข้ึนภาษาคอมพวิ เตอรท ีใ่ ชเขยี นโปรแกรมในยุคนี้ คือ COBOL, PL/1, RPG, BASIC นอกจากน้ียังมีการพัฒนาโปรแกรมระบบปฏิบัติการข้ึนมาเปนตัวกลางของระบบคอมพิวเตอร และยังมีการใชโปรแกรมสาํ เร็จรปู ซ่ึงทาํ ใหก ารทาํ งานของคอมพิวเตอรมคี วามสะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึ้น คอมพิวเตอรในยุคน้ี ไดแก IBM 360, CDC 3300, UNIVAC 9400, BURROUGH 7500, PDP1 เปนตน ภาพท่ี 1-9 ยคุ แผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuit) ท่มี า : https://www.build-electronic-circuits.com/integrated-circuit/

14 1.2.7 ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ (Large Scale Integrated : LSI) และแผงวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) หรือ คอมพิวเตอรยุคท่ี 4 เร่ิมต้ังแตป ค.ศ.1971 จนถงึ ป ค.ศ. 1990 เปน ยุคทมี่ ีการพฒั นาเอาวงจรหลาย ๆ วงจรมารวมเปนแผงวงจรรวมขนาดใหญลงในซิปแตละอัน โดยบริษัทอินเทลเปนผูคิดคนไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) ข้ึนมาใหมในป ค.ศ. 1970 ทําใหสามารถบรรจุวงจรทรานซิสเตอรจํานวนหลายพันตัวลงบนแผนซิลิคอนขนาด 1/6 ตารางนิ้ว และในป ค.ศ. 1975 สามารถเพิ่มปริมาณวงจรหลายหม่ืนวงจรลงบนซิลิคอนขนาดเทาเดิมในแผงวงจรรวมความจุสูงมาก ปจจุบันแผงวงจรรวมความจุสูงมากทําหนาท่ีเปนหนวยประมวลผลกลางของคอมพวิ เตอร ทาํ ใหคอมพวิ เตอรมขี นาดเลก็ ลง จนสามารถต้ังบนโตะทํางาน และเปนอุปกรณพกพา หนวยวัดความเร็วในยุคน้ีวัดเปนพันลานวินาที (Nanosecond) และลานลานวินาที (Picosecond) ภาษาคอมพิวเตอรท่ีใชเขียนโปรแกรมในยุคนี้ คือ ภาษาซี (C), ภาษาปาสคาล(PASCAL) คอมพิวเตอรใ นยคุ นี้ ไดแก IBM 370 เปนตน ภาพที่ 1-10 ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ (LSI และ VLSI) ทม่ี า : http://myelectronicnote.blogspot.com/2016/08/sirkuit-terpadu.html 1.2.8 ยุคเครือขาย (Network) หรือ คอมพิวเตอรยุคที่ 5 เริ่มต้ังแตป ค.ศ. 1990 จนถึงปจจุบัน ยุคนี้คอมพิวเตอรสามารถเช่ือมโยงขอมูลเขาดวยกันและทํางานรวมกัน สามารถสงเอกสารขอ ความระหวา งกนั สามารถประมวลผล รูปภาพ เสียง และวีดีทัศน ทํางานกับสื่อหลายชนิด เรียกวาสอ่ื ประสม (Multimedia) ถกู ออกแบบมาเพื่อชวยในการตัดสินใจ และแกปญหาไดดีย่ิงขึ้น มีการเก็บความรูตาง ๆ เขาไวในเครื่อง ผูใชสามารถคนควาหาความรูและนํามาใชประโยชนจากการเชื่อมโยงระบบเครือขาย จึงเปนยุคแหงผลจากวิชาการดานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI)ทําใหคอมพิวเตอรมีขีดความสามารถสูงขึ้น ทํางานไดเร็วย่ิงขึ้น สามารถจัดการประมวลผลขอมูลไดครัง้ ละหลาย ๆ โปรเซส สามารถทํางานหลาย ๆ งาน พรอม ๆ กัน (Multitasking) สามารถเชื่อมโยงขอ มลู เปนระบบเครือขายเฉพาะพ้ืนที่ (Local Area Network : LAN) การเชื่อมตอหลาย ๆ กลุมของระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในองคกรเขาดวยกันเรียกวา อินทราเน็ต (Intranet) สวนการเช่อื มโยงเครอื ขา ยคอมพิวเตอรระหวางเครือขายหลาย ๆ เครือขายทั่วโลก โดยผูใชสามารถสื่อสารถึงกันไดห ลาย ๆ ทาง เชน เว็บบอรด อเี มล เรยี กวา อินเทอรเนต็ (Internet)

15 ภาพท่ี 1-11 ยุคเครอื ขาย (Network) ทม่ี า : http://digphone.ru/esli-zavtra-wi-fi/1.3 การทํางานของคอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอรมี 3 ข้ันตอน คือ คอมพิวเตอรสามารถทําการรับขอมูล (Data)เปน ตวั เลข และตัวอักษรทปี่ อนเขา ไปพรอมดว ยคาํ ส่ัง หรือชุดคําสั่ง (Program) ใหทําการประมวลผลตามคําสั่งที่ไดรับเพื่อคํานวณผล และแสดงผลลัพธออกมาในรูปแบบตาง ๆ ตามคําส่ังที่ผูใชส่ังดวยความรวดเรว็ ถูกตอง และแมน ยํา การทาํ งานของคอมพวิ เตอรแ ตละขน้ั ตอนมรี ายละเอียด ดงั นี้ 1.3.1 รับขอมูลเขา (Input) เปนการนําขอมูลเขาคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถผานทางอุปกรณชนิดตาง ๆ แลวแตชนิดของขอมูลท่ีจะปอนเขาไป เชน ถาเปนการพิมพขอมูลจะใชแผงแปนพิมพเพ่ือพมิ พข อความ ถา เปนการพมิ พขอ มลู จะใชแ ผงแปน พิมพ เพ่ือพมิ พขอ ความหรือโปรแกรมคําสั่งเขาเคร่ือง ถาเปนขอ มูลภาพจะใชอปุ กรณร บั ภาพจากสแกนเนอร ถาเปนขอมูลเสียงจะใชอุปกรณรับเสียงจากไมโครโฟน เปนตน 1.3.2 ประมวลผลขอมูล (Process) เม่ือนําขอมูลเขามาแลว คอมพิวเตอรจะดําเนินการกับขอมูลตามคําส่ังหรือชุดคําสั่งท่ีไดรับมาเพื่อทําการประมวลผลใหไดผลลัพธตามที่ตองการ การประมวลผลอาจมีหลายรูปแบบ เชน นําขอมูลมาหาผลรวม นําขอมูลมาจัดกลุม นําขอมูลมาเปรียบเทียบหาคา มากท่สี ดุ หรือนอยท่สี ุด เปน ตน 1.3.3 แสดงผลลัพธ (Output) เปนการนาํ ผลลพั ธจ ากการประมวลผลมาแสดงทางอุปกรณที่กาํ หนดไว โดยทว่ั ไปแสดงผลลพั ธผานทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยท่ัวไปวา \"จอมอนิเตอร\" หรือพิมพขอมลู ออกทางกระดาษโดยใช “เครอื่ งพมิ พ”รIับNขPอ UมTลู ปPรRะOมCวEลSผSล แสOดUงTผPลUลTัพธ ภาพที่ 1-12 การทาํ งานของคอมพิวเตอร

16 สรุปไดวา การทํางานของคอมพิวเตอรมี 3 ขั้นตอน คือ รับขอมูลเขา (Input) ผานทางอุปกรณรับขอมูล ประมวลผลขอมูล (Process) เพื่อใหไดผลลัพธตามที่ตองการ แสดงผลลัพธ(Output) ทางอปุ กรณแสดงผล1.4 ลักษณะสาํ คญั ของคอมพวิ เตอร ลักษณะเดนในการทํางานของคอมพิวเตอรที่เห็นไดชัด คือ มีความรวดเร็ว มีความถูกตองแมนยํา มีความนาเชื่อถือในการทํางาน มีความสามารถในการทํางานซํ้า ๆ และมีลักษณะสําคัญที่แตกตางจากเคร่ืองคํานวณโดยทั่วไปในดานการคํานวณและเปรียบเทียบ จึงสรุปลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอรมรี ายละเอยี ดดังน้ี ดังน้ี 1.4.1 ความเปนอัตโนมัติ (Self-Acting) ความสามารถในการประมวลผลของคอมพิวเตอรนัน้ จะทาํ งานตามลําดับข้ันตอน และตอ เนือ่ งโดยอัตโนมตั ิ ภายใตคาํ ส่งั ทีไ่ ดถูกกําหนดไว 1.4.2 ความเร็ว (Speed) ความเร็วในการประมวลผลงานของคอมพิวเตอร เม่ือเทียบกับการประมวลผลโดยใชแรงงานมนุษย หรือเครื่องคํานวณประเภทอ่ืน ๆ ซึ่งใหผลลัพธท่ีลาชากวาคอมพวิ เตอรม าก หนวยทีใ่ ชว ดั ความเรว็ ในการทาํ งานของคอมพิวเตอรมี ดงั นี้ 1.4.2.1 หนว ยในพนั ของวินาที (Millisecond : ms) เทากับ 1/102 หรอื 1/1000 1.4.2.2 หนวยในลานของวินาที (Microsecond : μs) เทากับ 1/106 หรือ1/1000000 1.4.2.3 หนวยในพันลานของวินาที (Nanosecond : ns) เทากับ 1/109 หรือ1/1000000000 1.4.2.4 หนวยในลานลานของวินาที (Picosecond : ps) เทากับ 1/1012 หรือ1/10000000000000 1.4.3 ความถูกตอง แมนยํา (Accuracy) ความสามารถในการทํางานของคอมพิวเตอรน้ันมีความถูกตองแมนยําและใหผลลัพธที่มีความผิดพลาดนอยกวาการใชแรงงานมนุษย เพราะในการทํางานของมนษุ ยเ ม่อื ตองทํางานเปน เวลานาน อาจเกดิ การผิดพลาดได เนื่องมาจากความออนลา 1.4.4 ความนาเชอื่ ถอื (Reliability) การประมวลผลขอ มูลทไ่ี ดจากคอมพิวเตอรในปจจุบันมีความผิดพลาดนอยมากหรือแทบไมเกิดข้ึนเลย จึงทําใหขอมูลที่ไดจากการประมวลผลของคอมพิวเตอรมีความนา เชอ่ื ถอื สูง สามารถนาํ ไปใชประโยชนอ ืน่ ๆ ตอไปได 1.4.5 การจัดเก็บขอมูล (Storage Capability) คอมพิวเตอรสามารถเก็บขอมูลทั้งขอมูลท่ีเปนขอความ ตัวเลข ตัวอักษร เพลง ภาพถาย วิดีโอ หรือไฟลหลากหลายรูปแบบ โดยมีหนวยเก็บขอ มูลเฉพาะในรูปแบบของตน ชว ยใหก ารจัดเก็บและถายเทขอ มลู ทําไดส ะดวกมากยง่ิ ขึ้น 1.4.6 ทาํ งานซาํ้ ๆ ได (Repeatability) สามารถทํางานท่มี ลี กั ษณะงานซ้ํา ๆ แบบเดิม ๆ ไดหลายรอบและรวดเร็ว ชวยลดปญหาเร่ืองความออนลาและความผิดพลาดตาง ๆ จากการทํางานของมนุษย

17 1.4.7 การติดตอสื่อสาร (Communication) ในปจจุบันดวยเทคโนโลยีที่กาวหนาสามารถเชื่อมโยงขอมูลของคอมพิวเตอรหลาย ๆ เคร่ืองเขาหากันเปนเครือขายได ไมวาจะเปนเครือขายภายในองคกรขนาดเล็ก หรือภายในองคกรขนาดใหญ เชน อินเทอรเน็ต ทําใหการประมวลผลไมไดจํากัดอยูแ คพนื้ ทีห่ น่ึงอีกตอ ไป 1.4.8 การเปรียบเทียบ (Comparability) คอมพิวเตอรมีหนวยคํานวณและตรรกะที่ใชในการคาํ นวณผลตาง ๆ และใชใ นการเปรยี บเทียบขอมูล ซ่ึงความสามารถในการเปรียบเทียบขอมูลของคอมพิวเตอรนเี้ อง ที่ทาํ ใหคอมพิวเตอรแตกตา งจากเคร่อื งคํานวณชนดิ อืน่ ๆ1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร ปจจุบันคอมพิวเตอรมีใหเลือกใชมากมายหลายประเภทดวยกัน มีความสามารถในการคํานวณเหมือนกัน ซึ่งแตละประเภทมีวิธีการใชงานแตกตางกันไป การแบงประเภทของคอมพิวเตอรนั้น สามารถจาํ แนกออกไดเปน 3 กลุมหลกั ดังนี้ 1.5.1 คอมพวิ เตอรแ บง ตามหลกั การประมวลผลเปน 3 ประเภท คือ 1.5.1.1 คอมพิวเตอรแบบอนาล็อก (Analog Computer) เปนคอมพิวเตอรท่ีประมวลผลขอมูลโดยอาศัยหลักการวัด รับขอมูลในลักษณะของปริมาณที่มีคาการเปล่ียนแปลงแบบตอเน่ือง แสดงผลลัพธในรูปแบบการวัด การเปรียบเทียบคาดวยสเกลหนาปด และเข็มช้ี เชนการวัดคา กระแสไฟฟา การวัดคาความเรว็ ของรถยนต เปน ตน ภาพท่ี 1-13 คอมพิวเตอรแบบอนาลอ็ ก ท่ีมา : http://us.profinet.com/from-analog-computers-to-davenport-and-boston/ 1.5.1.2 คอมพิวเตอรแบบดิจิตอล (Digital Computer) เปนคอมพิวเตอรท่ีประมวลผลขอมูลโดยอาศัยหลักการนับ รับขอมูลในลักษณะของสัญญาณไฟฟาที่มีลักษณะการเปล่ียนแปลงแบบไมตอเน่ือง รับขอมูลและประมวลผลเปนระบบเลขฐานสองคือ 0 และ 1 สามารถนับขอ มลู ใหคาความละเอียดสูง มีความสามารถในการคํานวณและเปรียบเทียบขอมูลไดอยางรวดเร็วใหผลลัพธแมนยํา และเปนท่ีนาเช่ือถือ เปนคอมพิวเตอรท่ีใชในการทํางานทั่ว ๆ ไป ไดแกไมโครคอมพิวเตอร

18 1.5.1.3 คอมพิวเตอรแบบลูกผสม (Hybrid Computer) เปนคอมพิวเตอรท่ีประมวลผลขอมูลท่ีอาศัยเทคนิคการทํางานแบบผสมผสานระหวางคอมพิวเตอรแบบอนาล็อก และแบบดิจิตอล เหมาะกับงานเฉพาะดาน โดยเฉพาะงานดานวิทยาศาสตร และอุตสาหกรรม เชนคอมพวิ เตอรสําหรับควบคุมการเดินทางของยานอวกาศ เปน ตน ภาพที่ 1-14 คอมพวิ เตอรแบบลูกผสม ทม่ี า : http://www.technikum29.de/en/computer/analog 1.5.2 คอมพิวเตอรแบง ตามวัตถปุ ระสงคข องการใชงานไดเปน 2 ประเภท คือ 1.5.2.1 คอมพิวเตอรเพ่ืองานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) เปนค อ ม พิ ว เ ต อ ร ท่ี ถู ก อ อ ก แ บ บ สํ า ห รั บ ป ร ะ ม ว ล ผ ล ข อ มู ล ใ น ง า น อ ย า ง ใ ด อ ย า ง ห นึ่ ง โ ด ย เ ฉ พ า ะเชน คอมพิวเตอรสําหรับชวยในการตรวจวินิจฉัยโรคภายในโรงพยาบาล คอมพิวเตอรควบคุมสญั ญาณไฟจราจร เปนตน ภาพท่ี 1-15 คอมพิวเตอรเพ่ืองานเฉพาะกิจ ทม่ี า : http://kavindaseasath.blogspot.com/2015/10/assignment-01.html

19 1.5.2.2 คอมพิวเตอรเพื่องานอเนกประสงค (General Purpose Computer) เปนคอมพิวเตอรทไ่ี ดรับการออกแบบใหมคี วามยืดหยุนในการทํางาน สามารถประยุกตใชในงานประเภทตา ง ๆ ไดโดยสะดวก ไดแก ไมโครคอมพวิ เตอร ท่ใี ชในการทํางานทว่ั ๆ ไป 1.5.3 คอมพิวเตอรแบง ตามความสามารถของระบบแบง เปน 4 ประเภท คือ 1.5.3.1 ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Super Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงท่ีสุด เหมาะสมกับงานที่มีความซับซอนและตองการความเร็วสูงในการประมวลผล เชน งานวิจัยทางวิทยาศาสตร งานพยากรณอากาศ งานสื่อสารดาวเทียมงานโครงการอวกาศ เปนตน ภาพท่ี 1-16 ซุปเปอรค อมพิวเตอร ท่ีมา : https://en.wikipedia.org/wiki/Supercomputer 1.5.3.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีความสามารถในการประมวลผลสูง แตมีสวนความจําและความเร็วนอยกวาซุปเปอรคอมพิวเตอร มีราคาสูง นิยมใชในธุรกิจขนาดใหญ เชน ธนาคาร สําหรับเชื่อมตอไปยังตู ATM และสาขาของธนาคาร เปน ตน ภาพที่ 1-17 เมนเฟรมคอมพิวเตอร ท่ีมา : https://en.wikipedia.org/wiki/Mainframe_computer

20 1.5.3.3 มินิคอมพิวเตอร (Mini Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดกลางที่มีความสามารถในการประมวลผลขอมูล หนวยความจํา ความเร็วนอยกวาเคร่ืองเมนเฟรม และมีราคาถูกกวา เปน คอมพิวเตอรทส่ี ามารถใชง านไดห ลายคนพรอม ๆ กัน สามารถทํางานรวมกับอุปกรณที่มีความเร็วสูง เหมาะสําหรับหนวยงานและธุรกิจขนาดกลาง ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัยหางสรรพสินคา โรงแรม โรงพยาบาล เปน ตน ภาพที่ 1-18 มนิ ิคอมพวิ เตอร ท่ีมา : https://www.pinterest.com/pin/155937205820512810/ 1.5.3.4 ไมโครคอมพิวเตอร (Micro Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็กท่ีมีความสามารถในการประมวลผลขอมูล หนวยความจํา ความเร็วนอยที่สุด สามารถใชงานไดคนเดียวเรียกวา คอมพวิ เตอรส วนบุคคล (Personal Computer : PC) บรษิ ทั แอปเปล คอมพิวเตอร เปนบริษัทแรกทผ่ี ลิตไมโครคอมพวิ เตอรอ อกจาํ หนายจนประสบความสําเร็จ ป จ จุ บั น ไ ม โ ค ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง ก ว า ใ น ส มั ย ก อ น ม า กนอกจากน้ันยังราคาถูกลงมาก ดังนั้นจึงเปนท่ีนิยมใชมากท้ังตามหนวยงานและบริษัทหางรานตลอดจนตามโรงเรียน สถานศกึ ษา และบานเรือน ซึ่งไมโครคอมพิวเตอร จําแนกออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1) แบบติดต้ังใชงานอยูกับท่ีบนโตะทํางาน (Desktop Computer)คอมพิวเตอรแบบต้ังโตะ เปนคอมพิวเตอรขนาดตั้งโตะท่ีพบเห็นกันไดทั่วไป เชน ในสํานักงานหองปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร ซึ่งไมเ หมาะกบั การเคลือ่ นยายบอ ย 2) แบบเคล่ือนยายได (Portable Computer) หรือคอมพิวเตอรแบบพกพาสามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟาจากแบตเตอร่ีจากภายนอก สวนใหญมักเรียกตามลักษณะของการใชง าน ไดแก (1) แล็ปท็อปคอมพิวเตอร (Laptop Computer) จัดเปนไมโคร-คอมพิวเตอรขนาดเล็กที่วางใชงานบนตักได มีขนาดหนาจอ 14-17 น้ิว จอภาพท่ีใชเปนแบบแบนราบชนดิ จอภาพผนกึ เหลว (Liquid Crystal Display : LCD)

21 ภาพท่ี 1-19 Laptop Computer (2) คอมพวิ เตอรแบบกระเปา หว้ิ (Notebook) เปน คอมพวิ เตอรขนาดพกพา เปนไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาดและความหนามากกวาแล็ปท็อป มีขนาดหนาจอประมาณ12-14 น้ิว จอภาพแสดงผลเปนแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี โนตบุกท่ีมีขายทั่วไปมีประสิทธภิ าพและความสามารถเหมือนกับแลป็ ท็อป ภาพท่ี 1-20 Notebook Computer (3) ปาลมท็อปคอมพิวเตอร (palmtop computer) และเพนเบสคอมพิวเตอร (Pen-Based Computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรสําหรับทํางานเฉพาะอยางเหมาะสาํ หรับผูท ่ที าํ งานภาคสนาม ตองออกเกบ็ ขอ มลู ตามสถานทตี่ าง ๆ หรือในโกดังตรวจสอบสินคาจะมปี ากกาไฟฟาทําหนาที่บันทึกขอมูลแทนการใชคียบอรด เชน เปนพจนานุกรม เปนสมุดจนบันทึกประจําวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บขอมูลเฉพาะบางอยางที่สามารถพกพาติดตัวไปมาไดส ะดวก

22 ภาพท่ี 1-21 ปาลม ทอ็ ปคอมพิวเตอร ทมี่ า : http://www.egospodarka.pl/3572,Acer-palmtop-n10,1,15,1.html (4) แทบ็ เล็ต พีซี (Tablet personal computer : Tablet PC ) เปนคอมพิวเตอรสว นบคุ คลทส่ี ามารถพกพาไดแ ละใชห นาจอสัมผัสในการทํางานเปนอันดับแรก ออกแบบใหสามารถทํางานไดดวยตัวมัน แท็บเล็ต พีซี แตกตางจากคอมพิวเตอรตั้งโตะ (laptops) ตรงท่ีอาจไมมีแปนพิมพ (keyboard) ในการใชงาน แตอาจใชแปนพิมพเสมือนจริงในการใชงานแทน โดยมีแปนพิมพปรากฏบนหนาจอใชการสัมผัสในการพิมพ แท็บเล็ต พีซี ทุกเครื่องจะมีอุปกรณไรสายสําหรับการเชอ่ื มตออินเตอรเนต็ และระบบเครือขา ยภายใน ภาพที่ 1-22 แทบ็ เลต็ พซี ี ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/Microsoft_Tablet_PC (5) โมบายคอมพิวเตอร (Mobile computer) หรือ สมารทโฟน(Smart Phone) พีดีเอ (Personal Digital Assistant) มีขนาดเล็ก วางบนฝามือได ใชงานแบบ PCมือถือ รวมทั้งเปน เพนเบสคอมพิวเตอร ในตัวคือมีปากกาไฟฟาบันทึกขอมูลได รวมทั้งยังสามารถบรรจุแผงวงจรการทํางานของโทรศัพทเคล่ือนที่แบบเซลลูลาได เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสขนาดเล็กพกพาได มีความสามารถใกลเคียงกับคอมพิวเตอร มีความสามารถในการพูดคุยติดตอสื่อสาร และเชือ่ มโยงผานเครอื ขายอินเทอรเ น็ตไรส าย

23 ภาพท่ี 1-23 Mobile computer หรือ Smart Phone1.6 ประโยชนของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรมีลักษณะเดนหลายประการ ทําใหคอมพิวเตอรถูกนํามาใชประโยชนในการทํางานและการดําเนินชีวิตประจําวันในสังคมเปนอยางมาก เชน ใชในการพิมพเอกสาร พิมพจดหมาย รายงาน เอกสารตาง ๆ ซึ่งเรียกวา งานประมวลผล (Word processing) นอกจากนี้ยังมีการประยกุ ตใชค อมพิวเตอรในงานดา นตาง ๆ อกี หลายดาน ดังตอไปน้ี 1.6.1 งานธรุ กจิ บริษัท หาง ราน ตลอดจนโรงงานในอุตสาหกรรมตาง ๆ ใชคอมพิวเตอรในการดําเนินงาน ไดแก งานบัญชี งานเอกสาร และตดิ ตอกับหนวยงานภายนอกผานระบบโทรคมนาคมนอกจากนี้ในโรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญยังใชคอมพิวเตอรชวยในการควบคุมการผลิต ทําใหกระบวนการผลิตมีความสะดวกรวดเร็ว มีคุณภาพดีข้ึน สวนงานธนาคารมีการนําคอมพิวเตอรมาใหบ รกิ ารฝากถอนเงินผานตฝู ากถอนเงนิ อัตโนมัติ (ATM) 1.6.2 งานวิทยาศาสตร การแพทย และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอรมาใชในสวนของการคํานวณท่ีคอนขางซับซอน นับเปนอุปกรณสําหรับการตรวจรักษาโรคซ่ึงใหผลที่แมนยํากวาการตรวจแบบเดิม และทาํ ใหท ราบผลการตรวจรกั ษาไดรวดเรว็ ยิ่งขนึ้ 1.6.3 งานคมนาคมและส่ือสาร สามารถใชคอมพิวเตอรในการจองวัน-เวลา การสํารองที่นั่งรถทัวร สายการบนิ หรอื การจองตั๋วหนัง ตั๋วคอนเสิรต ซ่ึงมีการเชื่อมโยงขอมูลทางอินเตอรเน็ต ทําใหมีความสะดวกไมตองเสียเวลา คอมพิวเตอรยังมีบทบาทในการควบคุมระบบการจราจร เชนไฟสญั ญาณจราจร การจราจรทางอากาศ ในดานการสื่อสารคอมพิวเตอรถูกใชในควบคุมวงโคจรของดาวเทยี มเพ่อื ใหอยใู นวงโคจร ชวยสงผลตอ การสง สญั ญาณใหระบบการสือ่ สารใหค วามชดั เจน 1.6.4 งานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใชคอมพิวเตอรในการออกแบบ หรือจําลองสภาวการณตาง ๆ โดยคอมพิวเตอรสามารถคํานวณสถานการณใกลเคียงความเปนจริงใชในการควบคุมและติดตามความกาวหนาของโครงการตาง ๆ เชน บุคคลากรเครือ่ งมือ ผลการทาํ งาน

24 1.6.5 งานราชการ เปน หนวยงานทม่ี ีการใชค อมพวิ เตอรหลายรูปแบบ ทั้งน้ีขึ้นอยูกับบทบาทและหนาที่ของหนวยงานน้ัน ๆ เชน กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ มีการใชระบบประชุมทางไกล และมีการจัดระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพ่ือเชือ่ มโยงไปยังสถาบันตา ง ๆ 1.6.6 การศึกษา ทางดานการเรียนการสอน มีการนําคอมพิวเตอรมาใชเปนสื่อการเรียนการสอนในลกั ษณะบทเรียน CAI หรอื งานขอมูลดา นงานทะเบียน ทําใหสะดวกตอการเก็บขอมูล และการคนหาขอ มูลสรุป ในปจจุบันคอมพิวเตอร เปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีบทบาทสําคัญในการดําเนินงานเพือ่ อํานวยความสะดวกรวดเรว็ ใหแ กผูใ ชง าน และมีความถกู ตองแมนยาํ มนุษยไดคิดคนเครื่องมือสําหรับชวยในการนับ การคํานวณ และพัฒนากลไกตาง ๆ จนวิวฒั นาการมาเปน คอมพิวเตอรใ นปจจบุ ัน การดําเนินงานหลายอยางจึงตองอาศัยคอมพิวเตอรมาชวย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทาํ งาน โดยเฉพาะงานท่ีมีความซบั ซอนท่ีตอ งมีการวิเคราะหคํานวณผล และงานฐานขอมูล งานธุรกิจการแพทย การส่ือสาร การศึกษา งานวศิ วกรรมตาง ๆ เหลาน้ี ไดนําคอมพิวเตอรมาเขามาประยุกตใชทําใหการดาํ เนนิ งานมปี ระสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ

25 เอกสารอางอิงกุลยา นิม่ สกุล. (2535) ความรพู นื้ ฐานทางคอมพิวเตอร กรุงเทพมหานคร : ฟสิกสเ ซน็ เตอร.ราชบัณฑิตยสถาน. (2543) ศัพทคอมพิวเตอรฉบับราชบัณฑิตยสถานแกไขเพิ่มเติม. พิมพคร้ัง ท่ี 5. กรงุ เทพมหานคร : อรุณการพิมพ. . (2556) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน 2554. พมิ พคร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : นานมีบคุ สพ ับวิเคช่นั ส.คณาจารยภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร. (2537) ระบบคอมพิวเตอรเบ้ืองตน กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคาํ แหงจุฑาพร เรืองฤทธ์ิ และเศรษฐชัย ชัยสนิท. (2552) คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : วังอักษร.นิมิตร จิวะสันติการ. (2527) ความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร กรุงเทพมหานคร : แสงจันทรการ พิมพ.มนัสชัย กีรติผจญ และพรพรรณ โสภาพล. (2558) ระบบปฏิบัติการเบ้ืองตน กรุงเทพมหานคร : เอมพนั ธ.รัตนาวรรณ เจริญเสียง. (2546) คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการเบื้องตน กรุงเทพมหานคร : พฒั นาวชิ าการ.วโิ รจน ชยั มูล และสุพรรษา ยวงทอง. (2558) ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี สารสนเทศ พมิ พครงั้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : โปรวิชน่ั .โอภาส เอี่ยมสิริวงศ และสมโภชน ชื่นเอ่ียม. (2558) การใชงานระบบปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร : ซเี อด็ ยเู คชน่ั .BuildElectronicCircuits. Integrated Circuit. [Online]. 2014. [Cited Feb 21, 2016]. Available from : https://www.build-electronic-circuits.com/integrated- circuit/Dalakov Georgi. History of Computers. [Online] (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : http://history-computer.com/ModernComputer/thinkers/ Ada.htmlDarad Nutcha. Introduction to computer and information technology. [Online]. 2015. [Cited Feb 19, 2016]. Available from : https://www.slideshare.net/ NutchaDarad/ch01-slide-53320183DigPhone. Computer Network. [Online]. 2013. [Cited Feb 21, 2016]. Available from : http://digphone.ru/esli-zavtra-wi-fi/eGospodarka.pl. Palmtop. [Online]. 2003. [Cited Feb 21, 2016]. Available from : http://www.egospodarka.pl/3572,Acer-palmtop-n10,1,15,1.htmlElectronic Note. Integrated Circuit. [Online]. 2014. [Cited Feb 21, 2016]. Available from : http://myelectronicnote.blogspot.com/2016/08/sirkuit-terpadu.html

26 เอกสารอางอิง (ตอ )Google Sites. The History of Computers. [Online]. (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : https://sites.google.com/site/advprohocbp/generation2PI North America. Analog Computer. [Online]. 2009. [Cited Feb 21, 2016]. Available from : http://us.profinet.com/from-analog-computers-to-davenport-and- boston/Pinterest. Minicomputer IBM AS/400. [Online]. (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : https://www.pinterest.com/pin/155937205820512810/Seasath Kavinda. Computer system. [Online]. 2015. [Cited Feb 21, 2016]. Available from : http://kavindaseasath.blogspot.com/2015/10/assignment-01.htmlTechnikum29. Analog and hybrid computers. [Online]. (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : http://www.technikum29.de/en/computer/analogWikipedia. Charles Babbage. [Online]. (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : https://en. wikipedia.org/wiki/Charles_BabbageWikipedia. Mainframe computer. [Online]. (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : https://en.wikipedia.org/wiki/Mainframe_computerWikipedia. Supercomputer. [Online]. (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : https://en.wikipedia.org/wiki/SupercomputerWikipedia. Microsoft Tablet PC. [Online]. (n.d.). [Cited Feb 21, 2016]. Available from : https://en.wikipedia.org/wiki/Microsoft_Tablet_PC

27 คาํ ศัพททค่ี วรทราบหนว ยที่ 1 ความรูท่วั ไปเกยี่ วกับคอมพวิ เตอรวิชา ระบบปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร รหสั วิชา 2204 - 20021. Electronic Computer เครอ่ื งอิเล็กทรอนิกสแ บบอตั โนมตั ิ2. Data ขอมูล3. Program ชดุ คาํ สั่ง4. Processing การประมวลผล5. Output แสดงผล6. Millisecond หนวยในพนั ของวนิ าที7. Microsecond หนว ยในลา นของวนิ าที8. Nanosecond หนวยในพันลานของวินาที9. Picosecond หนวยในลานลา นของวนิ าที10. Comparability การเปรยี บเทยี บ11. Reliability ความนา เชอื่ ถือ12. Communication การติดตอส่ือสาร13.Analog Computer คอมพวิ เตอรแบบอนาลอ็ ก14.Digital Computer คอมพวิ เตอรแบบดิจติ อล15.Hybrid Computer คอมพิวเตอรแบบลูกผสม

28 ใบงาน วิชา ระบบปฏิบัตกิ ารเบ้ืองตนหนวยท่ี 1 ความรเู บื้องตน เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร รหัสวิชา 2204-2002ชือ่ งาน หลกั การทาํ งานและลักษณะสาํ คัญ เวลา 2 คาบ แผน ที่ 1/2ของคอมพวิ เตอร1. จุดประสงคเชงิ พฤติกรรม 1.1 บอกความหมายของคอมพิวเตอรได 1.2 อธิบายหลกั การทํางานของคอมพวิ เตอรได 1.3 บอกลกั ษณะสาํ คัญของคอมพิวเตอรได 1.4 บอกประโยชนข องคอมพิวเตอรได 1.5 มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีดีในการใชคอมพิวเตอร โดยมีความรับผิดชอบความสนใจในการเรียน ความมวี ินัย ความซื่อสัตย และความรักสามคั คี2. เครื่องมอื และวสั ดุอปุ กรณ 2.1 เครือ่ งคอมพวิ เตอร 2.2 ระบบเครือขายอนิ เทอรเ นต 2.3 เคร่อื งฉายภาพมัลตมิ ีเดีย (Projector) 2.4 โปรแกรมนาํ เสนอขอมูล (PowerPoint) 2.5 เอกสารประกอบการเรยี น หนว ยท่ี 1 ความรูท่วั ไปเก่ียวกับคอมพิวเตอร 2.6 อุปกรณการเรียน เชน สมุด ปากกา ยางลบ3. ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน 3.1 นกั เรยี นแบง กลุม ๆ ละ 6 คน แตล ะกลุมจับฉลากเพ่ือศึกษาคน ควา เน้ือหาเพ่ิมเตมิ จากหนว ยการเรยี น และรว มกนั คิดวิเคราะห ตามหัวขอเน้ือหาสาระ ดงั น้ี 3.1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร 3.1.2 หลักการทาํ งานของคอมพวิ เตอร 3.1.3 ลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอร 3.1.4 ประโยชนของคอมพวิ เตอร 3.2 นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาคนควาขอมูลตามหัวขอท่ีไดรับมอบหมาย จากเอกสารประกอบการเรยี น วชิ าคอมพิวเตอรและระบบปฏิบตั กิ ารเบื้องตน และจากอนิ เทอรเน็ต 3.3 นกั เรยี นแตละกลมุ รวมกันสรุปเนือ้ หาสาระสําคัญ และเตรียมการนาํ เสนอดวยโปรแกรมPower Point 3.4 นกั เรยี นแตละกลมุ สงตวั แทนนาํ เสนอหนาชัน้ เรยี น โดยใชสื่อประกอบการนาํ เสนอ กลมุละ 5-10 นาที

29 ใบงาน วชิ า ระบบปฏบิ ตั ิการเบื้องตนหนวยที่ 1 ความรเู บ้ืองตน เก่ียวกบั คอมพิวเตอร รหสั วิชา 2204-2002ชอ่ื งาน หลกั การทํางานและลกั ษณะสาํ คัญ เวลา 2 คาบ แผนที่ 2/2ของคอมพิวเตอร3.5 ครแู ละนกั เรียนรว มกันซักถาม แสดงความคิดเหน็ และใหข อเสนอแนะเพม่ิ เติม3.6 นักเรียนทกุ คนสรุปเนื้อหาทุกหัวขอลงในสมดุ และนําสงครูผสู อนในครั้งตอไป4. ขอควรระวัง/ขอ เสนอแนะ 4.1 ตรวจสอบอปุ กรณคอมพิวเตอรก อ นการใชงานทกุ ครงั้ 4.2 ปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน 4.3 การสรปุ ความรขู องแตละกลมุ อาจตกลงกนั ไมได ดงั น้ันผทู ีท่ ําหนาทีห่ ัวหนากลุมจะตอ งเปน ผูพิจารณาตัวแทนกลมุ หรอื เปนผูนาํ เสนอสรปุ ความรเู รอื่ งนั้นของกลุม5. การประเมนิ ผล 5.1 แบบประเมนิ พฤติกรรมนักเรยี นในชน้ั เรียนรายบุคคล 5.2 แบบประเมินผลนักเรยี นการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลมุ

30 แบบฝกหัดที่ 1.1 หนวยท่ี 1 ความรูท่วั ไปเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอรวิชา ระบบปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร รหสั วชิ า 2204 - 2002คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกรูปภาพเก่ียวกับวิวัฒนาการของคอมพิวเตอรในแตละยุค โดยการนําตวั อกั ษรใตภาพมาใสใ นชองวา งหนาขอ ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอรใ นแตล ะยคุNetwork Integrated Circuit Analytical Engine Abacus (A) (B) (C) (D)Harvard Mark I Large Scale Integrated TRADIC EDVAC (E) (F) (G) (H) 1. ยคุ กอ นเคร่ืองจักรกล 2. ยคุ เคร่อื งจักรกล 3. ยุคเคร่อื งจักรกลระบบอเิ ล็กทรอนิกส 4. ยคุ เครื่องอิเล็กทรอนิกส 5. ยุคทรานซิสเตอร 6. ยุคแผงวงจรรวม 7. ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ 8. ยุคเครอื ขาย

31 แบบฝก หดั ที่ 1.2หนว ยที่ 1 ความรทู ัว่ ไปเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอรวชิ า ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร รหสั วชิ า 2204 - 2002คาํ ชแ้ี จง ใหน ักเรยี นเติมชอ่ื ประเภทของคอมพิวเตอรต ามความสามารถของระบบใตภ าพตอไปนี้1. ……………………………………… 2. .……………………………… 3. ………………………………………4. ……………………………………… 5. .……………………………… 6. ………………………………………7. ……………………………………… 8. .……………………………… 9. ………………………………………

32 แบบฝกหัดที่ 1.3หนว ยท่ี 1 ความรูท ัว่ ไปเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรวชิ า ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร รหสั วชิ า 2204 - 2002จงตอบคําถามขอ ตอไปนีใ้ หถ ูกตอ ง 1. จงบอกความหมายของคําวา คอมพิวเตอร มาพอเขา ใจ2. ววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอรแบงออกเปน ยคุ อะไรบา ง3. จงอธบิ ายหลักการทาํ งานของคอมพวิ เตอรมาพอเขาใจ

334. จงบอกลักษณะทีส่ าํ คัญของคอมพิวเตอรมาพอเขา ใจ5. ประเภทของคอมพิวเตอรจาํ แนกออกไดเ ปน 3 กลมุ อะไรบาง6. จงบอกประโยชนข องคอมพิวเตอรมาพอเขาใจ

34 แบบทดสอบหลังบทเรียนหนวยท่ี 1 ความรูท วั่ ไปเก่ียวกับคอมพิวเตอรวชิ า ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร รหัสวิชา 2204 - 2002ขอสอบจาํ นวน 15 ขอ (15 คะแนน) เวลา 15 นาทีคําส่ัง จงเลือกคําตอบที่ถูกตองท่ีสุดเพียงขอเดียวแลวทําเครื่องหมายกากบาท (X) ลงใน กระดาษคาํ ตอบ1. คาํ วา “คอมพิวเตอร” ศพั ทบญั ญตั ิในภาษาไทยตรงกบั ขอ ใด (Obj.1.1) ก. คณติ ศร ข. คณติ กรณ ค. คณิตสารน ง. คณติ การณ2. คอมพวิ เตอรมีความหมายตรงกบั ขอใด (Obj.1.1) ก. การคํานวณ ข. โปรแกรมชดุ คําสั่ง ค. แผงวงจรไฟฟา ชนดิ หนึง่ ง. เครือ่ งอเิ ลก็ ทรอนิคสแบบอัตโนมตั ิ ทําหนาทเ่ี หมอื นสมองกล3. ขอใดเปน คอมพิวเตอรแบบดจิ ติ อลเคร่ืองแรกของโลก (Obj.1.2) ก. อีนีแอ็ก ข. เคร่อื งวเิ คราะห ค. ฮารวารดมารค วัน ง. อตานาซอฟฟ-เบอรรี คอมพวิ เตอร4. ผูใดไดร บั การยกยองใหเปนบดิ าแหงคอมพวิ เตอร (Obj.1.2) ก. จอหน เนเปย ร ข. ชารล ส แบบเบจ ค. วลิ เฮลม ชิคการด ง. โจเซฟ มารี แจคการด5. ลําดบั การทํางานของคอมพวิ เตอรต รงกับขอใด (Obj.1.3) ก. รบั ขอมลู  แปลขอมูล  แสดงผลขอมลู ข. รับขอมลู  อานขอมลู  แสดงผลขอมูล ค. รบั ขอ มูล  ประมวลผลขอ มูล แสดงผลขอมลู ง. อานขอมูล  ประมวลผลขอมลู  แสดงผลขอ มลู

356. คําวา “PROCESS” มีความหมายตรงกับขอใด (Obj.1.3) ก. รบั ขอมลู ข. แปลขอ มูล ค. แสดงผลขอมูล ง. ประมวลผลขอมูล7. ขอ ใดเปนลกั ษณะสําคญั ของคอมพิวเตอรใ นดานการติดตอสือ่ สาร (Obj.1.4) ก. การลดความผดิ พลาดตา ง ๆ ข. การทาํ งานไดอยางตอเน่อื งและซํา้ ๆ ค. คํานวณและหาผลลพั ธท่ีมลี กั ษณะซ้ํา ๆ ง. การเชอ่ื มตอเปนเครอื ขา ยและการใชอนิ เทอรเ นต็8. ขอ ใดเปน ลักษณะสาํ คัญของคอมพิวเตอรในดานความถูกตอ ง แมน ยํา (Obj.1.4) ก. การทาํ งานตามลาํ ดับข้ันตอนไดอ ยางตอเน่อื ง ข. การเชอื่ มตอเปน เครอื ขายและการใชอนิ เทอรเ นต็ ค. ความสามารถในการจัดเกบ็ ขอมูลไดหลากหลายรปู แบบ ง. ผลลัพธทีไ่ ดม ีความผิดพลาดนอยกวา การใชแ รงงานมนุษย9. ขอ ใดเปน คอมพวิ เตอรทม่ี ีขนาดเลก็ ที่สุด (Obj.1.5) ก. มนิ คิ อมพิวเตอร ข. ไมโครคอมพิวเตอร ค. ซุปเปอรคอมพวิ เตอร ง. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร10. ขอใดเปนประเภทคอมพิวเตอรทีแ่ บง ประเภทตามหลักการประมวลผล (Obj.1.5) ก. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร ข. คอมพวิ เตอรแบบลูกผสม ค. คอมพิวเตอรเพ่ืองานเฉพาะกิจ ง. คอมพิวเตอรเ พ่ืองานอเนกประสงค11. ขอ ใดเปน ประเภทคอมพิวเตอรต ามวตั ถปุ ระสงคของการใชงาน (Obj.1.5) ก. คอมพิวเตอรแบบพกพา ข. คอมพิวเตอรแบบลูกผสม ค. คอมพิวเตอรแบบอนาล็อก ง. คอมพิวเตอรเพื่องานเฉพาะกิจ12. ขอ ใดเปน ประเภทคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ (Obj.1.5) ก. มนิ คิ อมพิวเตอร ข. คอมพิวเตอรแบบอนาล็อก ค. คอมพิวเตอรเพ่ืองานเฉพาะกิจ ง. คอมพวิ เตอรเ พ่ืองานอเนกประสงค

3613. ขอ ใดเปน ประโยชนข องคอมพวิ เตอรใ นดานงานวิศวกรรมและสถาปตยกรรม (Obj.1.6) ก. การจองตั๋วเครือ่ งบนิ ข. การตรวจวินิจฉัยโรค ค. การควบคมุ การสญั ญาณจราจรทางอากาศ ง. การออกแบบ หรอื จําลองสภาวการณตา ง ๆ14. ประโยชนท่นี ักเรียนไดรับมากทีส่ ดุ จากการใชง านคอมพวิ เตอร (Obj.1.6) ก. ดานสขุ ภาพ ข. ดานความบนั เทิง ค. ดานการเงิน การธนาคาร ง. ดานการศึกษา ดานความรู ดานการใชงาน15. ขอใดเปนประโยชนข องคอมพวิ เตอรใ นดา นการแพทย (Obj.1.6) ก. ดานความบนั เทิง ข. การจองตัว๋ เครอ่ื งบิน ค. การตรวจวินิจฉยั โรค ง. การควบคุมการสญั ญาณจราจรทางอากาศการประเมินผลจากการทาํ แบบทดสอบหลังเรยี น หนว ยท่ี 1 ความรูท ัว่ ไปเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอรรวมคะแนนทไ่ี ดหลังเรียน .......................................................คะแนนหมายเหตุ ครูใหนักเรียนสลับกันตรวจ เพ่ือฝกความซื่อสัตย และความรับผิดชอบ การยอมรับซ่ึงกันและกนั พรอมสรุปคะแนนลงในใบประเมินและลงช่อื กํากับการตรวจ