ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่2 เ รื่ อ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ไ ด้ วิชางานถนอมอาหาร (ง 21204 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางปรียา หนูเอียด โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง
คำ นำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การถนอมอาหาร เป็นชุดกิจกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจและตามโอกาส ทำให้เกิดการเรียนรู้มี ประสบการณ์ในการทำงานตามขั้นตอนและกระบวนการ ทำงานด้วย ความมีประสิทธิภาพประกอบด้วยทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร ชุดที่ 2 เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้ในการถนอมอาหารได้ ชุดที่ 3 เรื่อง การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย ชุดที่ 4 เรื่อง การถนอมอาหารในท้องถิ่น ชุดการสอนที่ 4.1 เรื่อง การทำกล้วยตาก ชุดการสอนที่ 4.2 เรื่อง การทำไข่เค็มสมุนไพร ชุดการสอนที่ 4.3 เรื่อง การทำกล้วยเชื่อม ชุดการสอนที่ 4.4 เรื่อง การทำสับปะรดกวน ชุดการสอนที่ 4.5 เรื่อง การทำมะม่วงแช่อิ่ม ชุดการสอนที่ 4.6 เรื่อง การทำมันฉาบ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การ ถนอมอาหาร เล่มนี้คงเอื้อประโยชน์ แก่นักเรียนและผู้ที่สนใจเป็น อย่างดี ปรียา หนูเอียด
ส า ร บั ญ คำ นำ ก ส า ร บั ญ ข คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ห รั บ ค รู ค คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ นั ก เ รี ย น จ ขั้ น ต อ น ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ฉ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น 1 1 ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้ / ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ / ส ม ร ร ถ น ะ 3 2 ส า ร ะ สำ คั ญ 3 ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ 11 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น 14 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น แ ล ะ ห ลั ง เ รี ย น 15 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม 16
คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 1. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ก า ร ดำ เ นิ น ก า ร ใ น แ ต่ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ ล ะ เ อี ย ด 2. จัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 – 5 คน นักเรียนในแต่ละกลุ่ม มีการคละกัน ทั้งเก่ง ปานกลาง และ อ่อน เพื่ อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือกันและมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยมีการผลัดเปลี่ยนกันเป็นหัวหน้ากลุ่ม เพื่ อฝึกการทำงานร่วมกันเป็นทีม 3. เตรียมเอกสาร สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการเรียนรู้ใน แต่ละกิจกรรมให้ครบถ้วนและเพี ยงพอต่อจำนวนของ นั ก เ รี ย น 4. ศึกษาเอกสาร วิธีการใช้สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการ เรียนรู้ รวมทั้งเกณฑ์การวัดและ การประเมินผล ให้มีความ เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ก่ อ น นำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ 5. ทดลองอุปกรณ์ทุกชนิดก่อนการจัดกิจกรรมการเรียน รู้ ใ ห้ แ ก่ นั ก เ รี ย น 6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอนที่ กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้เพื่ อให้นักเรียนเกิดการ เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง 7. อธิบายหรือชี้แจงวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้ชัดเจน เพื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท ร า บ บ ท บ า ท ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต ร ง กันในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่ อดำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ โดย เน้นให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ ไม่คัดลอกเพื่ อน หรือให้ เพื่ อนทำให้หรือดูคำตอบก่อนในการทำชุดกิจกรรมการ เ รี ย น รู้
คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 8. กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ ทั้งในการปฏิบัติงานกลุ่ม และงานรายบุคคล และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของ นั ก เ รี ย น เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ห รื อ เ ป็ น ร า ย ก ลุ่ ม อ ยู่ กั บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ป ฏิ บั ติ ใ น บ า ง กิ จ ก ร ร ม อ า จ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ป ศึ ก ษ า ห รื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ต น เ อ ง น อ ก เ ว ล า เ รี ย น ไ ด้ 9. ครูคอยดูแล ชี้แนะ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่นักเรียนใน ขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งคอยสังเกตการณ์ ทำงานนของนักเรียนอย่างใกล้ชิด หากนักเรียนคนใดมี ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ไม่เข้าใจเนื้อหา ครูควรเข้าไปช่วย เ ห ลื อ ทั น ที 10. เวลาที่ใช้ในการเรียนหรือทำกิจกรรมจากชุดกิจกรรมการ เรียนรู้ของแต่ละคน อาจไม่เท่ากัน ครูผู้ควบคุมควรยืดหยุ่น ไ ด้ ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม 11. นักเรียนและครูร่วมอภิปราย เฉลย และตรวจคาตอบ ในแต่ละกิจกรรมหรือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับ นักเรียน เพื่ อให้นักเรียนได้ข้อสรุปและคาตอบที่ถูกต้อง ชัดเจนยิ่งขึ้นตามกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งได้ทราบ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง ต น เ อ ง 12. ถ้านักเรียนคนใดไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ70 ของคะแนนในแต่ละชุดกิจกรรม การเรียนรู้ ให้นักเรียน ซ่ อ ม เ ส ริ ม น อ ก เ ว ล า เ รี ย น จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ นั้ น จ น ก ว่ า จ ะ ผ่ า น เ ก ณ ฑ์ 13. ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนทั้งราย ก ลุ่ ม ห รื อ ร า ย บุ ค ค ล ใ น ทุ ก กิ จ ก ร ร ม 14. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการทำแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หลัง จ า ก ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ เ ส ร็ จ สิ้ น ทั้ ง ห ม ด
คำแนะนำการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน คำ ชี้ แ จ ง 1 . ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ เ รื่ อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ชั้น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร มี ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ดั ง นี้ 1 . 1 แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น 1 . 2 จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รีย น รู้ 1 . 3 กิ จ ก ร ร ม เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถนอมอาหาร 1 . 4 แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ 1 . 5 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 1 . 6 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น ห ลั ง เ รีย น 2 . ก่ อ น ศึ ก ษ า ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น เ พื่ อ วั ด ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น 3 . ศึ ก ษ า จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ส า ร ะ สำ คั ญ เ นื้ อ ห า ใ น ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร เ รีย น จ บ แ ล้ ว ใ ห้ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 4 . ต ร ว จ คำ ต อ บ จ า ก เ ฉ ล ย เ พื่ อ เ ป รีย บ เ ที ย บ พั ฒ น า ก า ร ท า ง ก า ร เ รีย น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ จ ะ ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง พั ฒ น า ก า ร ท า ง ด้ า น ค ว า ม คิ ด ค ว า ม รู้ค ว า ม เ ข้ า ใ จ จ า ก เ รื่ อ ง ที่ ศึ ก ษ า
ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ 9. ชี้แจงชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 10. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 11. นำเข้าสู่บทเรียน 12. กิจกรรมการเรียนรู้ 13. สรุป 14. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 15. ผ่านเกณฑ์ ศึกษาชุดกิจกรรม การเรียนรู้ชุดต่อไป 16. ไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่อม
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 2 เ รื่ อ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ถนอมอาหาร คำ ชี้ แ จ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมายถูก / หน้าคำตอบที่ถูกและกาเครื่องหมาย X หน้าคำตอบที่ผิด (.............) 1.ภาชนะที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารที่มีรสเปรี้ยวควร เป็นภาชนะอลูมิเนียม (............) 2.ภาชนะที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารแบบเค็มควรเป็น ภาชนะกระเบื้องเคลือบ (.............) 3.การชั่งตวงเป็นงานสำคัญในการถนอมอาหารทำให้ เกิดความเที่ยงตรงในรสชาติ (............) 4.ช้อนตวง 1 ชุดมี4 ขนาดขนาดใหญ่สุดกำหนดความ จุ 1 ช้อนชา (.............) 5.ถ้วยตวงของเหลวมีขีดบอก 4 ระดับคือ ¼ ถ้วย ½ ถ้วย ¾ ถ้วยและ 1 ถ้วย (............) 6.นมและเนยใช้อุปกรณ์การตวงเช่นเดียวกัน (.............) 7.การตวงน้ำตาลทรายใช้ถ้วยตวงอลูมิเนียมหรือช้อน ตวงก็ได้ (............) 8.ถ้วยตวงแก้วเหมาะสำหรับตวงของเหลวทุกชนิด (............) 9.การใช้ถ้วยตวงของเหลวควรถือไว้แล้วเทสิ่งที่ ต้องการตวงเพื่ อการมองที่ชัดเจน (............) 10.ตาชั่งน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ความละเอียดแต่ละช่อง เท่ากับ 100 กรัม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่2 เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้ในการ ถนอมอาหาร 1 . ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ นักเรียนสามารถบอกอุปกรณ์เครื่ องใช้ในการการ ถ น อ ม อ า ห า ร ไ ด้ 2 . จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ 2.1 ด้านความรู้ (KNOWLEDGE) - บอกหลักในการเลือกอุปกรณ์ในการถนอม อ า ห า ร แ ล ะ วิธี ก า ร ใ ช้ ง า น ไ ด้ - อุปกรณ์ในการชั่งตวง 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (PROCES ) - มีทักษะ กระบวนการแก้ปั ญหาในการ ทำ ง า น - มีทักษะในการแสวงหาความรู้ เรื่ อง อุปกรณ์เครื่ องใช้ในการถนอมอาหาร 2.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ATTITUDE) - มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวประกอบ อ า ชี พ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน - ซื่อสัตย์สุจริต 3.สมรรถนะ 3.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.2 ความสามารถในการคิด 3.3 ความสามารถในการแก้ปั ญหา
สาระ สำคัญ อุ ปกรณ์ถนอมอาหาร มีความสำคัญเพราะอาหารแต่ละชนิดมีลักษณะและรสชาติ ที่แตกต่างกัน เพราะความเป็นก รด ด่าง เกลือ ที่มีอยู่ในอาหารโดยจะทำปฏิกิริยากับอุปกรณ์ที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารหรือ ภาชนะบรรจุหลังจากทำอาหารเสร็จแล้ว ดังนั้น การเลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมจะทำให้อาหารเก็บไว้ได้นาน ไม่เสื่อมคุณภาพ และไม่ เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ซึ่งมีหลักในการเลือกใช้อุปกรณ์ถนอมอาหารดังนี้ 1.ภาชนะที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารที่มีรสเปรี้ยว เค็ม หวาน หรืออาหารที่เป็นน้ำ ถ้าวิธี การดอง การแช่อิ่ม เช่น มะม่วงดอง มะนาวดอง มะยมดอง มะดันแช่อิ่ม เป็นต้นควรเลือกใช้ ภาชนะที่เป็นแก้ว เช่นขวดโหล ขวดแก้วอัดความดัน ไม่ควรใช้กับภาชนะที่เป็นสังกะสี หรืออลูมิ เนียม เพราะอาหารจะกัดกร่อนเนื้อภาชนะและเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ 2.ภาชนะที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารแบบเค็ม อาหารแห้ง เช่น ตั้งฉ่าย หัวผักกาดเค็ม กะปิ ควรใช้อุปกรณ์ที่เป็นกระเบื้องเคลือบหรือดินเผาเคลือบ ไม่ควรใช้ภาชนะที่ทำด้วยอลูมิเนียม เพราะ จะกัดเนื้อภาชนะให้สึกกร่อนและผุได้ 3.ภาชนะที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารแบบตากแห้ง เช่น ปลาแห้ง เนื้อตากแห้ง ควรใช้ อุปกรณ์ที่เป็นกระด้งหรือกระจาดไม้ไผ่เพราะเป็นวัสดุธรรมชาติเลือกใช้อุปกรณ์ที่ไม่ทำปฏิกิริยา
การชั่งตวง ความสำคัญขอ งการชั่งตวง การปรุงอาหารของคนไทย แต่ตั้งเดิมในสมัย โบราณ นิยมใช้การคะเนสัดส่วนของเครื่องปรุงแต่ละชนิด ตามความเคยชินโดยอาศัยความสังเกตและประสบการณ์ที่ บอกเล่าต่อๆมาหรือใช้ภาชนะที่มีอยู่กะคะเน เช่น ใช้ ทะนาน(กะลามะพร้าว) กระป๋องนมหรือใช้กำมือ เรียกว่า หนึ่งกำมือ สองกำมือ ถ้าส่วนผสมที่มีจำนวนน้อย ก็จะใช้ ปลายนิ้วเรียกว่า หนึ่งหยิบมือ หรือสองหยิบมือ นอกจาก นั้นยังใช้ เทียบกับขนาดสิ่งของที่เรารู้จักทั่วไป เช่น ขนาด เท่าไข่ไก่ ขนาดเท่าหัวแม่มือ เป็นต้น ฉะนั้นการปรุงอาหาร ของคนไทยจึงเป็นเรื่องยาก ผู้ที่ได้ชื่อว่าปรุงอาหารรส อร่อย ต้องมีการฝึกฝนอย่างแท้จริง และมีประสบการณ์ การปรุงอาหารอย่างมากแต่ในปัจจุบันนี้นิยมการชั่งตวง สัดส่วนแน่นอนและมีมาตรฐาน โดยใช้เครื่องมือที่เป็น มาตรฐาน ดังนี้
อุปกรณ์ในการชั่งตวง ช้อนตวง ช้อนตวง มี 4 ขนาดดังรูปตวงได้ทั้งของแห้งและ ของเหลว ถ้วยตวง ถ้วยตวงของแห้ง มี 4 ขนาด ใช้กับของแห้งที่ใช้ ในปริมาณเยอะ ๆ ส่วนใหญ่มักจะใช้ตวงของ แห้งในการ ทำเบเกอรี อย่าง แป้ง น้ำตาล ธัญพืช เนยละลาย เป็นต้น วิธีตวงของแห้ง ของแห้งที่เป็นผงละเอียด เช่น แป้ง น้ำตาลทรายละเอียด หรือน้ำตาลทรายขาว น้ำตาลป่น นมผง โกโก้ ผงฟู เกลือ ฯลฯ ควรร่อนก่อนตวง ใช้ถ้วย ตวงของแห้งเวลาตวงให้ตักของที่จะตวงใส่ถ้วยตามขนาด ที่ต้องการให้พูน แล้วปาดส่วนเกินออกให้เสมอขอบถ้วย ตวง จะได้ปริมาตรที่ต้องการ ห้ามกด เขย่า หรือเคาะ
อุปกรณ์ในการชั่งตวง วิธีการตวง : ช้อนตวงหรือถ้วยตวงของแห้ง วิธีตวงของแห้ง ของแห้งที่เป็นผงละเอียด เช่น แป้ง น้ำตาลทรายละเอียด หรือน้ำตาลทรายขาว น้ำตาล ป่น นมผง โกโก้ ผงฟู เกลือ ฯลฯ ควรร่อนก่อนตวง ใช้ ถ้วยตวงของแห้งเวลาตวงให้ตักของที่จะตวงใส่ถ้วยตาม ขนาดที่ต้องการให้พูน แล้วปาดส่วนเกินออกให้เสมอขอบ ถ้วยตวง จะได้ปริมาตรที่ต้องการ ห้ามกด เขย่า หรือเคาะ
อุปกรณ์ในการชั่งตวง ถ้วยตวงของเหลว ใช้กับของเหลวที่ต้องใช้ในปริมาณเยอะ ๆ มักจะใช้ ในการตวง นม น้ำ หรือน้ำมันพืช วิธีการตวง : ถ้วยตวงของเหลว วิธีการตวง ก่อนจะเทวัตถุดิบลงไปในถ้วย ให้เรา วางถ้วยตวงลงกับโต๊ะหรือพื้นราบ เพื่อให้ปริมาณของ วัตถุดิบที่เราเทลงไปนั้นไม่คลาดเคลื่อนแต่คนส่วนใหญ่มัก ใช้วิธีการยกถ้วยตวงของขอเหลว ขึ้นมาอยู่ในระดับสายตา แล้วเทวัตถุดิบลงไป วิธีนี้จะทำให้ปริมาณที่ได้คาดเคลื่อนไป จากเดิม
อุปกรณ์ในการชั่งตวง ตาชั่ง หน้าจอขนาดใหญ่ชั่งน้ำหนักสงสุด 1 กิโลกรัม ความ ละเอียด 10 กรัม หน่วยที่ชั่งแสดงค่าเป็นกรัม(g.)และ กิโลกรัม (kg) ทำความสะอาดง่าย จานชั่ง จานกลม จาน ชั่งเป็นพลาสติกอย่างดี ใช้ชั่งในปริมาณน้อย ชั่งได้ทั้งของแห้งและของเหลวแต่ ของเหลวให้นำไปใส่ในภาชนะก่อนชั่ง วิธีชั่งเครื่อง ก่อนชั่ง ให้เข็มชี้น้ำหนักของเครื่องชั่ง ชี้ที่ตัวเลข 0 เสมอ ขณะชั่ง ต้องวางสิ่งของที่ต้องการชั่งไว้บนส่วน ของเครื่องชั่ง และเข็มชี้ตัวเลขตัวใด แสดงว่าเป็นน้ำหนัก ของสิ่งของนั้น
กระบวนการ ขั้น นำ เ ข้ า สู่ บ ท เ รี ย น ( W A R M U P ) จั ด ก า ร เ รีย น รู้ 1 . ค รู นำ ตั ว อ ย่ า ง ภ า ช น ะ อุ ป ก ร ณ์ ที ใ ช้ ใ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ม า ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้ ศึ ก ษ า 2 . ค รู ส อ บ ถ า ม นั ก เ รี ย น ถึ ง ก า ร ใ ช้ ง า น ภ า ช น ะ อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ที่ นั ก เ รี ย น เ ค ย พ บ เ ห็ น เ พื่ อ สำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ ไ ด้ ท ร า บ ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น ข อ ง ผู้ เ รี ย น ขั้น ฝึ ก ป ฏิ บั ติ ( P R A C T I C E ) 3 . นั ก เ รี ย น ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น แ บ บ ถู ก ผิ ด ( P r e - t e s t ) จำ น ว น 1 0 ข้ อ เ ว ล า 1 0 น า ที 4 . นั ก เ รี ย น แ บ่ ง ก ลุ่ ม ก ลุ่ ม ล ะ 4 – 5 ค น ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ชุ ด ที่ 2 เ รื่ อ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ต า ม หั ว ข้ อ - อุ ป ก ร ณ์ ถ น อ ม อ า ห า ร - ก า ร ชั่ ง ต ว ง - ค ว า ม สำ คั ญ ข อ ง ก า ร ชั่ ง ต ว ง 5 . นั ก เ รี ย น แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ ร ะ ด ม ค ว า ม รู้ แ ต่ ล ะ หั ว ข้ อ ที่ ศึ ก ษ า ม า 6 . นั ก เ รี ย น ฝึ ก ป ฏิ บั ติ เ รื่ อ ง ก า ร ชั่ ง ต ว ง 7 . นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ร ะ ด ม ส ม อ ง ช่ ว ย กั น วิ เ ค ร า ะ ห์ ส รุ ป เ พื่ อ นำ ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ใ น ง า น ป ฏิ บั ติ เ รื่ อ ง ก า ร ชั่ ง ต ว ง ต า ม สู ต ร ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ที่ กำ ห น ด ขั้น ส รุ ป ( W R A P U P ) 8 . นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ก ลุ่ ม ร่ ว ม กั น ส รุ ป เ รื่ อ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ใ น การถนอมอาหาร 9 . ค รู อ ธิ บ า ย เ พิ่ ม เ ติ ม เ กี่ ย ว กั บ จ า ก นั้ น ค รู เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ นั ก เ รี ย น ซั ก ถ า ม ข้ อ ส ง สั ย 1 0 . นั ก เ รี ย น ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น 1 1 . ค รู นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ร่ ว ม กั น
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 2 เ รื่ อ ง อุ ป ก ร ณ์ เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ถนอมอาหาร คำ ชี้ แ จ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมายถูก / หน้าคำตอบที่ถูกและกาเครื่องหมาย X หน้าคำตอบที่ผิด (.............) 1.ภาชนะที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารที่มีรสเปรี้ยวควร เป็นภาชนะอลูมิเนียม (............) 2.ภาชนะที่นำมาใช้ในการถนอมอาหารแบบเค็มควรเป็น ภาชนะกระเบื้องเคลือบ (.............) 3.การชั่งตวงเป็นงานสำคัญในการถนอมอาหารทำให้ เกิดความเที่ยงตรงในรสชาติ (............) 4.ช้อนตวง 1 ชุดมี4 ขนาดขนาดใหญ่สุดกำหนดความ จุ 1 ช้อนชา (.............) 5.ถ้วยตวงของเหลวมีขีดบอก 4 ระดับคือ ¼ ถ้วย ½ ถ้วย ¾ ถ้วยและ 1 ถ้วย (............) 6.นมและเนยใช้อุปกรณ์การตวงเช่นเดียวกัน (.............) 7.การตวงน้ำตาลทรายใช้ถ้วยตวงอลูมิเนียมหรือช้อน ตวงก็ได้ (............) 8.ถ้วยตวงแก้วเหมาะสำหรับตวงของเหลวทุกชนิด (............) 9.การใช้ถ้วยตวงของเหลวควรถือไว้แล้วเทสิ่งที่ ต้องการตวงเพื่ อการมองที่ชัดเจน (............) 10.ตาชั่งน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ความละเอียดแต่ละช่อง เท่ากับ 100 กรัม
บรรณานุกรม ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร . สื บ ค้ น จ า ก เ ว ป ไ ซ ต์ h t t p s : / / t h . w i k i p e d i a . o r g / w i k i วันที่สืบค้น4 พฤษภาคม 2562. การชั่งตวง. สืบค้นจากเวปไซต์https://www.wongnai.com/food- tips/cooking วันที่สืบค้น5 พฤษภาคม 2562.
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: