Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore logistic

logistic

Published by paschaya1109, 2020-10-27 07:58:36

Description: logistic

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยีสำ�หรบั โลจิสตกิ ส์ยคุ ใหม่ The Technology for New Era Logistics จรินทร์ อาสาทรงธรรม มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ บทคดั ยอ่ บทความน้ีน�ำเสนอเทคโนโลยีท่ีมีความส�ำคัญต่อการบริหารโลจิสติกส์ในองค์การ เพ่ือท�ำให้ผู้บริหารสามารถสร้างศักยภาพของ ธรุ กิจในการสร้างความไดเ้ ปรยี บส�ำหรบั การแข่งขันทเ่ี หนอื กวา่ คแู่ ขง่ โดยเทคโนโลยีทีส่ ำ� คัญในบทความนี้ ประกอบด้วย ระบบการแลก เปลย่ี นข้อมูลทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Data Interchange System: EDI) ระบบบารโ์ ค้ด (Barcode System) รหสั บ่งชีโ้ ดยใช้ความถ่ี ของคลืน่ วทิ ยุ (Radio Frequency Identification: RFID) ระบบกำ� หนดพิกัดทตี่ ้ังดาวเทียม (Global Positioning System: GPS) การ วางแผนทรพั ยากรองค์การโดยรวม (Enterprise Resource Planning: ERP) ระบบการจัดการคลังสนิ ค้า (Warehouse Management System: WMS) และระบบการจดั การการขนส่ง (Transportation Management System: TMS) Abstract This article presents the essential logistics technologies to be applied in an organization to build up business potential, which leads to a competitive advantage over its competitors. The new technologies in this article consist of Electronic Data Interchange System (EDI), Barcode System, Radio Frequency Identification (RFID), Global Positioning System (GPS), Enterprise Resource Planning (ERP), Warehouse Management System (WMS), and Transportation Management System (TMS). บทนำ� ในโลกของธุรกจิ ผบู้ ริหารท่ีมวี ิสัยทศั น์ตอ้ งมกี ารวางแผนนำ� เทคโนโลยีใหมๆ่ เขา้ มาใช้ในองคก์ าร โดยเฉพาะดา้ นโลจิสตกิ ส์ไดม้ ี การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยตี า่ งๆ ทท่ี นั สมยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซงึ่ Lambertetal.(1998) ไดก้ ลา่ ววา่ กจิ กรรมของโลจสิ ตกิ สป์ ระกอบ ด้วย การบรกิ ารลกู คา้ การจดั การคำ� ส่งั ซอ้ื ของลูกคา้ การพยากรณ์ความตอ้ งการของลกู ค้า การจัดซอื้ การบริหารสินค้าคงคลัง การ บริหารการขนสง่ การบรหิ ารคลงั สินคา้ และการจัดเกบ็ การจัดการโลจสิ ติกสแ์ บบย้อนกลบั การจัดเตรยี มอะไหลแ่ ละชิ้นส่วนต่างๆ การ เลอื กที่ตัง้ โรงงานและคลงั สนิ ค้า การเคล่อื นย้ายวัตถุดบิ และสนิ ค้า การบรรจภุ ัณฑแ์ ละหีบหอ่ การส่อื สารในการกระจายสนิ คา้ และการ กำ� จดั ของเสยี เพอื่ นำ� กลับมาใช้ใหม่ กจิ กรรมโลจสิ ตกิ สเ์ หลา่ นเี้ ปน็ พน้ื ฐานทผ่ี บู้ รหิ ารจะตอ้ งน�ำไปใชเ้ พอื่ สรา้ งประสทิ ธภิ าพในองคก์ าร โดยจะตอ้ งประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี ท่จี ำ� เป็นต่อโลจิสติกส์ บทความน้จี ะกลา่ วถึงเทคโนโลยที ่มี ีความจ�ำเปน็ ต่อการใช้งานโลจิสติกสใ์ นปจั จบุ นั ประกอบดว้ ย 1) ระบบการแลก เปลยี่ นขอ้ มลู ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Data Interchange System: EDI) 2) ระบบบารโ์ คด้ (Barcode System) 3) รหัสบง่ ชีโ้ ดยใช้ความถี่ ของคลืน่ วทิ ยุ (Radio Frequency Identification: RFID) 4) ระบบก�ำหนดพกิ ดั ท่ีตง้ั ดาวเทยี ม (Global Positioning System: GPS) 5) การ วางแผนทรพั ยากรองคก์ ารโดยรวม (Enterprise Resource Planning: ERP) 6) ระบบการจดั การคลงั สนิ คา้ (Warehouse Management System: WMS) และ 7) ระบบการจดั การการขนสง่ (Transportation Management System: TMS) ซงึ่ แตล่ ะระบบมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 8 Executive Journal

ระบบการแลกเปลยี่ นข้อมูลทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Data Interchange System: EDI) เป็นระบบเทคโนโลยีที่มีการแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างบริษัทคู่ค้า 2 ฝ่ายในรูปแบบมาตรฐานสากลจากคอมพิวเตอร์ เครอ่ื งหน่ึงไปยังคอมพวิ เตอรอ์ กี เครอ่ื งหน่งึ โดยจะมีการใชเ้ อกสารทเี่ ปน็ อเิ ลก็ ทรอนิกสม์ าแทนเอกสารทเี่ ป็นกระดาษ เช่น ใบส่งั ซอ้ื สนิ ค้า บัญชรี าคาสินคา้ ใบสง่ ของ รายงาน เป็นตน้ ภายใตม้ าตรฐานท่กี �ำหนดไว้ ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ อกสารมีการแลกเปลี่ยนกันได้ (โซลชู ัน่ คอรป์ , ม.ป.ป.) ปจั จบุ นั องคก์ ารหลายแหง่ ไดใ้ ชบ้ รกิ ารของผทู้ ใี่ หบ้ รกิ าร EDI(EDIServiceProvider) มากกวา่ ทจี่ ะสรา้ งเครอื ขา่ ยขนึ้ มาเอง เนอ่ื งจาก ตอ้ งใชเ้ งนิ ลงทนุ สงู ซงึ่ ผทู้ ใี่ หบ้ รกิ ารEDI จะเปน็ ตวั กลางบรกิ ารเชอ่ื มโยงขอ้ มลู เรยี กวา่ เครอื ขา่ ยเพม่ิ มลู คา่ VAN(ValueAddedNetwork: VAN) โดยจะมีการเกบ็ ค่าบรกิ ารเปน็ การเช่าโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ซง่ึ สามารถแสดงการสง่ ผ่านขอ้ มลู ของผใู้ ห้บรกิ าร EDI ไดด้ ังภาพที่ 1 Company A Company B Data Text ผใู้ ห้บรกิ าร Text Data A Format EDI Format B ภาพท่ี 1 รูปแบบการใหบ้ รกิ ารการแลกเปล่ยี นขอ้ มูลโดยผา่ นทางผู้ให้บรกิ าร EDI ส่วนประกอบท่ีจ�ำเปน็ ของระบบ EDI 1. ฮารด์ แวร์ (Hardware) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็นองคป์ ระกอบท่สี �ำคัญในการตดิ ต้ังสำ� หรับการติดต่อสอ่ื สาร โดย EDI จะเป็น ตวั ที่ชว่ ยสง่ ผ่านข้อมูลระหวา่ งคคู่ ้าใหส้ ามารถติดตอ่ กันได้ 2. เครือขา่ ยโทรคมนาคม (Telecommunication Network) เครือข่ายจะใช้สายโทรศพั ท์ (Telephone Line) ในการสง่ ผา่ นขอ้ มูล ระหวา่ งผสู้ ง่ และผูร้ บั โดยอาจมีการตดิ ตอ่ ผา่ นดาวเทยี มก็ได้ 3. ซอฟต์แวร์การติดต่อสื่อสาร (Communication Software) เป็นโปรแกรมท่ีใช้ในการส่งและรับข้อมูลซึ่งจะมีการใส่รหัสและ ถอดรหสั ขอ้ มูลระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยท้งั 2 ฝา่ ยจะสามารถตดิ ตอ่ กันได้ เนอ่ื งจากมีการกำ� หนดมาตรฐานสากลในการใช้งาน ประโยชนข์ อง EDI 1. ชว่ ยลดขอ้ ผดิ พลาด จากการบนั ทกึ ขอ้ มลู เขา้ ระบบ และเมอื่ ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งนำ� ไปใชง้ าน กจ็ ะไดข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง แมน่ ยำ� และรวดเรว็ มากขึน้ 2. ชว่ ยลดงบประมาณ ในเรอื่ งของเอกสาร และคูม่ อื การปฏบิ ัตงิ านท่ซี �้ำซ้อนขององคก์ าร 3. ชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน สามารถทำ� ใหผ้ ทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งโตต้ อบกบั คคู่ า้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ทด่ี ใี นการท�ำงานทงั้ 2 ฝา่ ย 4. ชว่ ยเพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั องคก์ ารทมี่ กี ารน�ำ EDI มาใชส้ ามารถชว่ ยใหผ้ บู้ รหิ ารตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และถกู ตอ้ ง ทำ� ให้มีความไดเ้ ปรียบทางการแขง่ ขนั มากกวา่ คู่แข่งขัน EDI ในปัจจบุ นั เนื่องจากธุรกจิ มกี ารเปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา และเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตมีบทบาทต่อการด�ำเนินงานขององค์การเป็นอยา่ งมาก จึงมีการสง่ ผ่านขอ้ มลู ของระบบEDI แทนการสร้างเครอื ขา่ ยส่วนตัว ทำ� ใหค้ า่ ใช้จา่ ยในการตดิ ตงั้ และบ�ำรุงรกั ษาระบบถกู ลงมากเม่ือเทยี บ กบั ในอดีต ดงั นนั้ ในปจั จบุ นั บรษิ ัทขนาดกลางและขนาดเลก็ จงึ สามารถติดตัง้ ระบบ EDI ไดง้ ่ายข้ึน และสามารถใชง้ านได้หลากหลาย เช่น สามารถรับส่งแบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างบริษัทจากโปรแกรมเว็บบราวเซอร์โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เป็นต้น EDI สามารถใชใ้ นการส่งขอ้ มลู ระหว่างฝ่ายในองคก์ าร อาทิ ฝา่ ยการเงิน ฝา่ ยจัดซื้อ ฝา่ ยขาย และฝ่ายจดั สง่ สนิ ค้าฯ เพ่ือใหก้ ระบวนการส่ัง ซื้อสินค้าและการช�ำระเงินเป็นไปโดยอัตโนมัติ ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายด้านเอกสารและบุคลากร ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อ 9Executive Journal

การจัดหาวัตถุดิบ หรือการโอนช�ำระเงินของลูกค้าหรือระหว่าง 3) เคร่อื งอ่านบาร์โค้ด เปน็ อุปกรณ์ทจี่ ะใชใ้ นการอ่านรหัส บริษัทคคู่ ้า ไดม้ กี ารนำ� ระบบ EDI มาใช้ท้งั ภาคเอกชน เชน่ ธุรกจิ แทง่ โดยมีการแบง่ ได้เป็น 2 กลมุ่ คือ แบบสัมผสั เช่น เคร่ืองอา่ น การเงิน ธุรกิจค้าปลีก ผู้นำ� เข้า-ส่งออก และภาครัฐ เช่น กรม แบบปากกา เครอื่ งอา่ นบตั ร เปน็ ตน้ และแบบไมส่ มั ผสั เชน่ เครอ่ื ง ศลุ กากร กระทรวงพาณชิ ย์ เป็นตน้ อ่านแบบ CCD (Charge Coupled Device Scanner) เครอื่ งอา่ น แบบเลเซอร์ เป็นต้น นอกจากน้ีเครื่องอ่านยังสามารถแยกตาม ระบบบาร์โคด้ (Barcode System) ลักษณะการเคล่ือนย้าย โดยแบ่งกลุ่มเป็นแบบเคล่ือนย้ายได้และ แบบยึดติดกับที่ โดยสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของ บาร์โค้ดหรือรหัสแท่งเป็นระบบบ่งชี้ท่ีมีการนำ� มาใช้งาน งาน มากทสี่ ดุ เมอื่ เทยี บกบั ระบบอน่ื ๆ เนอ่ื งจากเปน็ ทน่ี ยิ มในการตดิ บน 4) เครอ่ื งคอมพิวเตอรพ์ ร้อมซอฟต์แวร์ (Computer and ตวั สินคา้ เพ่ือตอ้ งการทราบรหสั หมายเลขประจ�ำตัว อันจะสง่ ผล Software) ที่ใช้ในการประมวลผล เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เมื่อได้มีการ ให้กิจการทราบข้อมูลอื่นๆ ของสินค้าได้รวดเร็ว เช่น ยอดขาย บันทึกหมายเลขประจ�ำตัวสินค้าแล้ว เพื่อท�ำให้ผู้บริหารได้ทราบ จำ� นวนสินค้าท่ีขาย จ�ำนวนสินคา้ ท่ีอย่ใู นคลงั สนิ ค้า เป็นตน้ ขอ้ มลู สำ� หรบั การตดั สนิ ใจวา่ ควรจะจดั การกบั สนิ คา้ นนั้ ๆ อยา่ งไร บารโ์ คด้ ไดม้ กี ารบรรจขุ อ้ มลู ตา่ งๆ ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การทำ� ธรุ กจิ เชน่ ควรผลติ สนิ ค้าเพมิ่ หรอื ไม่เน่ืองจากสนิ คา้ มจี ำ� นวนไม่มากใน โดยมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญอยู่ 3 ส่วน (พงษ์ชัย อธิคมรัตนกุล, คลงั สนิ คา้ เป็นต้น 2550, 140) คอื 1) หมายเลขประจำ� ตัวสินค้า ประกอบด้วยแทง่ สดี �ำและ ประโยชน์ของบาร์โคด้ ช่องว่างระหว่างแท่งจะเป็นสีขาว ซึ่งวางขนานไปในลักษณะแนว 1. ท�ำให้กระบวนการท�ำงานท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ข้อมูลสินค้า ต้งั ประกอบด้วยตวั เลข 13 หลกั ซึ่งเป็นมาตรฐานสากลทีใ่ ชอ้ า้ งอิง สามารถท�ำได้อยา่ งรวดเรว็ ถกู ตอ้ งมากข้นึ ไม่ว่าจะเป็นผผู้ ลิต ผู้ ทัว่ โลก โดยรหสั ถกู แบ่งออกเป็น 4 สว่ น คอื สว่ นแรกมีตวั เลข 3 จัดจ�ำหน่าย ผู้ซื้อ และผู้ให้บริการโลจิสติกส์สามารถใช้รหัสบาร์ ตวั ใชแ้ ทนรหสั ประเทศ สว่ นทสี่ องมตี วั เลข5 ตวั ใชแ้ ทนรหสั ประจ�ำ โคด้ ทำ� ธรุ กรรมรว่ มกันได้ ตัวบริษัท ส่วนที่สามมีตัวเลข 4 ตัวใช้แทนรหัสสินค้า และส่วน 2. คู่ค้าทุกระดับตั้งแต่ต้นน้�ำจนถึงปลายน�้ำ สามารถ สุดท้ายซ่ึงมีตัวเลข 1 ตัวจะใช้เป็นรหัสหรือตัวเลขที่ใช้ตรวจสอบ ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลาและปัญหาท่ีอาจเกิดจากข้อผิด ขององค์การที่ออกบารโ์ ค้ด ซึ่งสามารถแสดงดังภาพท่ี 2 พลาดในบันทกึ ขอ้ มูลตวั สินคา้ ได้ 3. สามารถต่อยอดขีดความสามารถทางด้านโลจิสติกส์ ภาพท่ี 2 บาร์โค้ดท่แี สดงหมายเลขประจำ� ตัวสนิ ค้า ด้านอ่ืนๆ เช่น ระบบบริหารคลังสินค้า ระบบการจัดซื้อ ระบบ ท่มี า: http://www.gs1thailand.org/index.php?option=com_ ขนสง่ สินค้า เป็นต้น content&view=article&id=47&Itemid=64 4. สามารถใช้โปรแกรมระบบการจัดการโลจิสติกส์สมัย 2) เครอื่ งพิมพแ์ ถบบาร์โคด้ ซึง่ กอ่ นเลือกเครื่องพมิ พ์ ต้อง ใหม่ได้ เช่น Cross-Docking, Just-in-Time (JIT), Vendor พจิ ารณาทง้ั อปุ กรณท์ ใี่ ชง้ านในปจั จบุ นั และเครอื่ งพมิ พท์ จี่ ะตอ้ งซอื้ Managed Inventory (VMI) เป็นต้น ใชง้ านในอนาคตวา่ มคี วามสอดคลอ้ งกนั หรอื ไม่ เพราะจะเปน็ การ 5. สามารถตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับของสินค้า ลงทนุ ทตี่ อ้ งผสมผสานอปุ กรณห์ ลายอยา่ งเขา้ ดว้ ยกนั และสามารถ (Traceability) ทำ� ให้ทราบวา่ สินคา้ ทราบน้ันมีแหลง่ วตั ถดุ บิ หรือ ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเทคโนโลยีที่นิยมใช้ คือ แบ แหล่งผลติ จากทีใ่ ดตลอดทงั้ ระบบห่วงโซ่อุปทาน บอิมแพค (Impact) แบบใช้อุณหภูมิ (Thermal) แบบเลเซอร์ (Laser) และแบบอิงค์เจ็ต (Ink-Jet) รหัสบ่งช้ีโดยใช้ความถ่ีของคลื่นวิทยุ (Radio Frequency 10 Executive Journal Identification: RFID) เป็นเทคโนโลยีท่ีระบุต�ำแหน่งของวัตถุ เช่น คน สัตว์ สงิ่ ของ เปน็ ตน้ ดว้ ยคลนื่ ความถว่ี ทิ ยุ โดยมกี ารตดิ ปา้ ย(RFIDTag) ท่ีวัตถุเหล่านั้น นอกจากนี้ RFID จะเป็นเทคโนโลยีท่เี ข้ามาแทนท่ี บารโ์ ค้ดในอนาคต เนือ่ งจากมคี วามสะดวกและประสิทธภิ าพการ ใชง้ านดีกวา่ แตเ่ นือ่ งจาก RFID ยงั มรี าคาสูง จงึ ท�ำให้บาร์โค้ดยงั

คงไดร้ ับความนิยมอยู่ อย่างไรก็ตาม การนำ� ระบบ RFID มาใช้ผู้ (Stock Keeping Unit: SKU) ชนิดเดยี วกนั บริหารต้องค�ำนึงข้อจ�ำกัดตา่ งๆ ของการใช้งาน เช่น กฎหมายท่ี - สามารถอ่านข้อมูลสินค้าจากแถบ RFID ได้พร้อมกัน เกยี่ วขอ้ งกบั ระเบยี บการใชค้ ลน่ื ความถวี่ ทิ ยแุ ละกำ� ลงั สง่ ของแตล่ ะ จ�ำนวนมาก ประเทศ หรอื สนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าในสภาพแวดล้อมท่ีแตกตา่ งกัน - ความเร็วในการอ่านข้อมลู จากแถบ RFID เร็วกว่าการ ของการใช้ เปน็ ต้น อ่านแถบจากบารโ์ คด้ สว่ นประกอบของ RFID - สามารถส่งขอ้ มูลไปยังเครือ่ งอา่ นได้ โดยไม่จำ� เป็นต้อง 1. ป้าย (RFID Tag) ป้ายนี้ประกอบด้วย ชิป (Chip) หรอื ไปนำ� อา่ นข้อมูลให้ใกลเ้ หมือนกบั บารโ์ ค้ด หน่วยความจำ� สายอากาศ แบตเตอรี่ (อาจจะมหี รือไม่มีก็ได)้ - สามารถเขียนข้อมลู ทบั ได้ จึงสามารถน�ำกลับไปใชใ้ หม่ 2. เคร่ืองอา่ น (RFID Reader) ประกอบดว้ ยสายอากาศ ได้ ซ่งึ ทำ� ใหล้ ดต้นทุนการผลิตปา้ ยสนิ ค้า โมดูลคลื่นวทิ ยแุ ละส่วนควบคุม - ความเสยี หายของปา้ ย (RFID Tag) นอ้ ยกวา่ บารโ์ ค้ด 3. ตัวควบคุม (Controler) ทำ� หนา้ ที่เปน็ ฐานข้อมลู เชื่อม เน่ืองจากไมจ่ �ำเปน็ ต้องติดไว้ภายนอกบรรจภุ ณั ฑ์ ระหวา่ งเครอื่ งอ่านและซอฟตแ์ วร์ทใี่ ชใ้ นการอา่ นปา้ ย - สามารถขจดั ปัญหาการอ่านขอ้ มลู ซำ�้ ทอ่ี าจเกิดขนึ้ จาก การสอ่ื สารระหวา่ งเคร่ืองอา่ นและป้าย จะเกิดขึ้นเมอ่ื วัตถุ ระบบบาร์โค้ด ที่ตดิ ปา้ ย RFID เข้าไปในบริเวณท่ีมสี ญั ญาณจากเคร่ืองอา่ นซึง่ จะ - ระบบความปลอดภัยสูง ยากต่อการเปลี่ยนแปลงและ เกิดคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ท�ำให้ป้ายสร้างพลังงานไฟฟ้าส่ง ลอกเลยี นแบบ ข้อมลู กลบั ไปยังเครือ่ งอ่านได้ เชน่ หมายเลข (Identification: ID) - ทนทานต่อความเปยี กชื้น แรงสน่ั สะเทือน การกระทบ วนั ทผ่ี ลิต วันหมดอายุ แหล่งที่ผลิต เปน็ ตน้ หลงั จากนน้ั เคร่อื ง กระแทก อา่ นก็จะส่งขอ้ มลู ไปยังตัวควบคุม เพอ่ื นำ� ขอ้ มูลท่ไี ด้ไปใช้ในงานที่ เกีย่ วขอ้ งต่อไป เชน่ การท�ำบญั ชรี ายการสนิ คา้ การส่งขอ้ มลู ไป ระบบก�ำหนดพิกัดที่ต้ังดาวเทียม (Global Positioning ฝา่ ยผลติ ฝ่ายจัดซอื้ ฝ่ายคลังสนิ คา้ ฝา่ ยขนสง่ เป็นตน้ (สถาบัน System: GPS) สง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางเทคโนโลยอี ารเ์ อฟไอดแี หง่ ประเทศไทย, ม.ป.ป.) ดงั ภาพที่ 3 เป็นระบบติดตามยานพาหนะแบบเรียลไทม์ที่ใช้กันอย่าง แพร่หลายในส่วนของงานการขนส่งสินค้าของธุรกิจ ซ่ึงผู้บริหาร ภาพที่ 3 สว่ นประกอบของ RFID อาจพบผู้ปฏิบัติงานมีการท�ำงานที่ไม่เป็นไปตามแผนงานของ ท่ีมา: http://www.rfid.or.th/th/technology/component.asp องคก์ าร เช่น มกี ารจดั สง่ สินคา้ ลา่ ชา้ มีการขนส่งสินค้าน้อยกวา่ ประโยชน์ของ RFID เป้าหมาย มกี ารเบกิ ค่าน�ำ้ มันมากกว่าปกติ มีการน�ำรถของธุรกิจ - ความถูกตอ้ งมคี า่ เฉลีย่ ถงึ ร้อยละ 99.5 แต่การอ่านจาก ไปใช้ในงานส่วนตัว เป็นต้น ซ่ึงในอดีตจะไม่สามารถตรวจสอบ บาร์โคด้ อยูท่ ีร่ ้อยละ 80 พฤตกิ รรมเหล่าน้ีได้ - มีความละเอียด และสามารถบรรจุข้อมูลได้มาก ซึ่ง ท้ังนี้ จะมีการติดต้ังอุปกรณ์ GPS อยู่กับตัวรถบรรทุก สามารถแยกความแตกต่างของสินค้าแต่ละช้ินได้ แม้เป็นสินค้า สนิ ค้า หรืออาจตดิ อย่กู ับตวั ตู้บรรทกุ สินคา้ เพอ่ื แสดงตำ� แหนง่ ทีต่ ้ัง ของรถบรรทุกหรือตู้บรรทุกสินค้า เพื่อควบคุมให้พนักงานขับรถ ปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นขอบเขตภารกจิ ขององคก์ าร การใชเ้ ทคโนโลยผี า่ น ดาวเทียมท�ำให้สามารถทราบต�ำแหน่งยานพาหนะได้ตลอดเวลา 24 ชว่ั โมง ดว้ ยสญั ญาณผา่ นดาวเทยี ม และสญั ญาณโทรศพั ท์GSM และมกี ารสง่ ขอ้ ความผา่ นทางเครอื ขา่ ยโทรศพั ท์ ซง่ึ สามารถแสดง ลกั ษณะการท�ำงานของ GPS ได้ดงั ภาพที่ 4 11Executive Journal

ภาพที่ 4 แสดงเครอื ขา่ ยระบบกำ� หนดพิกดั ที่ตัง้ ดาวเทยี ม (GPS) สนิ คา้ สำ� เรจ็ รปู การวเิ คราะหค์ วามสามารถในการทำ� กำ� ไร1.3) ชดุ ที่มา: http://www.pharm.chula.ac.th/webelarning/ ควบคุมองค์การ เป็นชุดท่ีใช้ติดตามปัจจัยความส�ำเร็จ และจุด elearning%20Computer53/GPS/map.gif ส�ำคญั ท่ีตอ้ งมีการควบคมุ เช่น ระบบข้อมลู ของผู้บรหิ าร ระบบ การรวบรวมการจดั การ บัญชีศนู ยก์ ลางก�ำไร เปน็ ตน้ 1.4) การ การวางแผนทรัพยากรองค์การโดยรวม (Enterprise จัดการเงินลงทุน เป็นชุดท�ำงานเพื่อวางแผนและจัดการโครงการ Resource Planning: ERP) เงินลงทนุ และงบประมาณและจัดการทรัพยส์ ินทม่ี ีตวั ตน 2. ชุดการท�ำงานระบบทรัพยากรมนุษย์ (Human ธรุ กจิ มีการใชท้ รพั ยากรทางการจดั การ ประกอบดว้ ย คน Resource Modules) ชุดการท�ำงานนี้สามารถจัดการทรัพยากร เครอ่ื งจักร วัตถุดิบ เงนิ และการจัดการ เพ่อื ท�ำให้การผลิตสนิ ค้า มนษุ ยใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตงั้ แตก่ ารสรรหาบคุ คลจนถงึ การประเมนิ และบริการ มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพอันจะ ผลงาน การจ่ายเงินเดือน การฝึกอบรม ชุดการท�ำงานระบบ ท�ำให้เกิดประสทิ ธผิ ลท่ดี ี และสามารถสรา้ งผลประโยชน์สงู สดุ แก่ ทรพั ยากรมนษุ ย์มกี ารแยกออกเป็นชดุ หลกั ๆ คือ 2.1) การบรหิ าร องคก์ ารได้ งานบคุ คล เปน็ ชดุ การทำ� งานทใ่ี ชส้ ำ� หรบั การวางแผนกำ� ลงั คน การ ERP เปน็ ชดุ ระบบสารสนเทศทนี่ ำ� แนวคดิ และวธิ กี ารบรหิ าร รบั สมคั รบคุ ลากร การจดั การเวลา และการจดั การผลตอบแทนทงั้ มาทำ� ใหเ้ กดิ เปน็ ระบบเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในองคก์ าร จงึ ชว่ ยใหผ้ บู้ รหิ าร คา่ จ้าง เงนิ เดือน โบนัส ฯลฯ 2.2) การพฒั นาบุคลากร เปน็ ชดุ วางแผน และบรณู าการกระบวนการหลากหลายหนา้ ทกี่ บั งานหลกั การทำ� งานทเ่ี กย่ี วกบั การพฒั นาบคุ ลากร การจดั การองคก์ าร การ ตา่ งๆ ในองคก์ ารERP จงึ เปน็ ซอฟตแ์ วรส์ ำ� เรจ็ รปู ทมี่ ชี ดุ การทำ� งาน จัดการอบรม/สมั มนา และการวางแผนการใช้หอ้ งประชุม หลายชุดและแต่ละชุดมีการท�ำงานที่เป็นมาตรฐาน ปัจจุบันชุด 3. ชุดการท�ำงานระบบโลจิสติกส์ (Logistics Modules) ท�ำงานทีเ่ ป็นแบบมาตรฐาน และพอเพยี งกับการใช้งาน มี 3 ชุด เปน็ ชดุ การทำ� งานทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ เพราะครอบคลมุ ระบบหว่ งโซอ่ ปุ ทาน ท�ำงาน คือ การเงิน (Finance) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ของสินค้า ตั้งแต่การจัดซ้ือวัตถุดิบจนถึงการจัดส่งสินค้าให้กับ (Human Resource) และโลจสิ ติกส์ (Logistics) แตอ่ งคก์ ารขนาด ลูกค้าคนสุดท้าย ชุดการท�ำงานนี้จะมีความสลับซับซ้อนเพราะมี ใหญ่อาจใช้ซอฟต์แวร์ ERP ท่ีมีลักษณะเฉพาะและมีรูปแบบชุด ความสัมพนั ธแ์ ละเชอ่ื มตอ่ กบั ทกุ ชดุ ท�ำงาน ทั้งการเงิน การผลิต ท�ำงานที่แตกต่างกันไปในแต่ละอุตสาหกรรม ธุรกิจควรเลือก การตลาด ทรพั ยากรมนษุ ย์ โดยโลจสิ ตกิ สส์ ามารถแบง่ เปน็ ชดุ ยอ่ ย ซอฟตแ์ วรท์ ีใ่ ช้งานเท่าท่จี ำ� เปน็ เท่านั้น เพราะถา้ ซอ้ื มากเกินความ ดังน้ี 3.1) โลจิสติกส์ทั่วไป จะเก่ียวข้องกับระบบสารสนเทศ จำ� เปน็ กจ็ ะเปน็ การเพมิ่ ตน้ ทนุ ใหก้ บั กจิ การ และอาจทำ� ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิ โลจสิ ติกส์ การพยากรณ์ เปน็ ตน้ 3.2) การจัดการวัสดจุ ะเกยี่ วขอ้ ง งานมคี วามสับสนมากขนึ้ ซงึ่ ชุดการท�ำงานทสี่ ำ� คัญ3 ชดุ (ค�ำนาย กบั ระบบการจดั การสนิ คา้ คงคลงั การจดั ซอ้ื การจดั การคลงั สนิ คา้ อภปิ รชั ญาสกลุ , 2553) ประกอบด้วย เป็นต้น 3.3) การวางแผนการผลิต จะเก่ียวข้องกับระบบการ 1. ชุดการท�ำงานทางการเงิน (Financial Modules) ชุด ประกอบตามค�ำสั่งซ้ือ การวางแผนความต้องการก�ำลังการผลิต การทำ� งานนที้ ำ� ใหเ้ หน็ ภาพรวมทางบญั ชแี ละการเงนิ สามารถสรา้ ง การวางแผนความต้องการวัสดุ การออกใบส่ังผลิต การวางแผน รายงานได้อยา่ งรวดเร็ว ท�ำใหผ้ ู้บริหารสามารถตดั สินใจไดอ้ ยา่ งมี การดำ� เนนิ งานและการขาย เป็นตน้ 3.4) การซอ่ มบ�ำรุงโรงงาน ประสทิ ธภิ าพ ชดุ การทำ� งานทางการเงนิ แยกออกเปน็ ชดุ หลกั ๆ อกี จะเกย่ี วขอ้ งกับระบบสารสนเทศซ่อมบ�ำรุงโรงงาน การบริหารการ คือ 1.1) ชุดบัญชีการเงิน มีชดุ ทำ� งานยอ่ ย เชน่ บัญชีแยกประเภท ซอ่ มบำ� รงุ การจดั การคำ� สงั่ ซอ่ มบำ� รงุ เปน็ ตน้ 3.5) ระบบโครงการ บัญชีลูกหนก้ี ารค้า บญั ชเี จ้าหนี้ บญั ชสี นิ ทรพั ย์ การรวมบัญชจี าก จะเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศโครงการ การวางแผนโครงการ บริษทั ในเครือ เปน็ ต้น 1.2) ชุดการควบคุม เป็นชดุ การท�ำงานที่ โครงสรา้ งการด�ำเนนิ งาน เป็นตน้ 3.6) ระบบการจดั การคุณภาพ สัมพันธ์กับต้นทุนฐานกิจกรรม การควบคุมต้นทุนการผลิตและ จะเกี่ยวข้องกับการประมวลผลการตรวจสอบ เคร่ืองมือในการ วางแผน การแจ้งเตือนด้านคุณภาพ เป็นต้น 3.7) การขายและ การจัดจ�ำหนา่ ยสินค้า จะเกย่ี วขอ้ งกบั ระบบใบเรียกเก็บเงนิ การ แลกเปลยี่ นข้อมูลทางอิเลก็ ทรอนิกส์ การค้ากบั ตา่ งประเทศ การ จดั สง่ การขาย การขนส่ง เป็นต้น 12 Executive Journal

คณุ สมบตั ทิ ด่ี ขี อง ERP 2. การจดั เกบ็ (PutAway) ระบบสามารถแนะนำ� ตำ� แหนง่ 1. โปรแกรมสามารถปรับตามการใช้งานของผู้ใช้ (User) ท่ีเหมาะสมในการจัดเก็บ และมีการยืนยันต�ำแหน่งท่ีจัดเก็บได้ เพราะเป็นระบบเปิด (Open Source) โดยปรับได้ตามความ อย่างถูกต้อง โปรแกรม WMS ในส่วนของการจัดเก็บ สามารถ ตอ้ งการของผูใ้ ช้ ท�ำงานร่วมกับ ERP และบาร์โค้ดสแกนเนอร์ เพื่อท�ำให้ทราบ 2. เปน็ ซอฟตแ์ วรส์ ำ� เรจ็ รปู ทม่ี ชี ดุ การทำ� งานหลายชดุ ซงึ่ มี ตำ� แหน่งทแี่ มน่ ย�ำ และชัดเจน ความสามารถสงู สำ� หรับทำ� งานหลักๆ รว่ มกนั ของธุรกิจได้ 3. การหยิบสินค้า (Picking) ระบบจะชว่ ยหาตำ� แหน่งของ 3. มีระบบสนบั สนุนการดแู ลและบำ� รุงรักษาระบบ สนิ คา้ ทมี่ กี ารจดั เกบ็ ไวไ้ ดอ้ ยา่ งงา่ ย ทำ� ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านสามารถหยบิ 4. มขี นั้ ตอนและวธิ กี ารในการตดิ ตงั้ ระบบERP ในองคก์ าร สนิ ค้าได้ถูกตอ้ งและรวดเรว็ ที่พรอ้ มและชดั เจน 5. สามารถพัฒนาในส่วนของงานท่ียังมีการใช้ระบบเดิม ระบบการจดั การการขนสง่ (Transportation Management อยแู่ ละสามารถใชข้ อ้ มลู รว่ มกบั โปรแกรมทม่ี อี ยใู่ นบรษิ ทั ไดโ้ ดยการ System: TMS) เช่ือมโยงขอ้ มลู เชน่ การวางแผน การบญั ชตี น้ ทุน บัญชเี งินเดือน การส่งออก เป็นต้น ปัจจุบันระบบการจัดการขนส่งนิยมใช้ซอฟต์แวร์ท่ีพัฒนา โดยมกี ารใชง้ านผา่ นทางเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และ ปัจจุบันองคก์ ารทงั้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก เอ็กซท์ ราเนต็ ซ่งึ ซอฟตแ์ วร์ TMS มีระบบยอ่ ยท่ีสำ� คัญ ประกอบ มคี วามมงุ่ มน่ั ทจี่ ะแกป้ ญั หาการจดั การองคก์ ารดว้ ยการน�ำ ERP มา ด้วย ใช้ แตเ่ พ่ือใหก้ ารนำ� ERP มาใชเ้ ปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ ง สงิ่ ท่ขี าดไมไ่ ด้ 1. การจดั การขนส่ง มีงานที่เกย่ี วขอ้ ง เชน่ การวางแผน ก็คือ การสร้างระบบสารสนเทศองค์การใหม่ ซึ่งต้องเริ่มจาก บรรทกุ การเลือกวิธีการขนส่ง การจัดซื้อในงานขนสง่ การจัดการ กิจกรรมเพื่อเปล่ียนแปลงจิตส�ำนึกให้เห็นความส�ำคัญของการ เสน้ ทางขนสง่ การควบคุมการขนส่ง การติดตามการจดั สง่ การ ปฏริ ูปองค์การ เพ่อื ท�ำให้เกดิ ความเข้าใจในแนวคิดของ ERP ท่วั จดั ทำ� รายงานและปรับตามความต้องการของลูกคา้ เปน็ ต้น ทงั้ องคก์ าร ตอ่ จากนนั้ ตอ้ งทบทวนหว่ งโซข่ องมลู คา่ (ValueChain) 2. การจัดการยานพาหนะ มีงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การ เดิมและสร้างระบบใหม่ขึ้น ให้สามารถสร้างมูลค่าเพ่ิมเพ่ือสนอง บรหิ ารยานพาหนะ การจัดการเชา่ ยานพาหนะ การจดั การน้�ำมนั ตอบความตอ้ งการของลกู ค้าได้ดยี งิ่ ข้นึ เชือ้ เพลิง การจดั การอุบัติเหตุ การจดั การบุคคล การซอ่ มบ�ำรุง ภายใน การจัดการอะไหล่ และการจัดการเรยี กเก็บเงนิ เปน็ ตน้ ระบบการจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management 3. การจดั การผรู้ บั ขน มีงานท่ีเกย่ี วข้อง เช่น การวางแผน System: WMS) ขนส่ง/เวลาในการบรรทุก การจัดตารางการขนส่ง การสรรหา พนกั งานขบั รถ การกำ� หนดชว่ั โมงพนกั งานขบั รถ การบ�ำรงุ รักษา ปัจจุบันการบริหารคลังสินค้าจ�ำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีใน ยานยนต์ และการสนบั สนุนการขนส่งสนิ คา้ ขากลบั เปน็ ต้น การปฏบิ ตั งิ าน เนอื่ งจากงานมปี รมิ าณและความซบั ซอ้ นทม่ี ากขน้ึ 4. การออกแบบเครอื ขา่ ย มงี านทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ การเลอื ก โดยได้มีการพฒั นาซอฟตแ์ วรข์ น้ึ มาเรียกว่า ระบบการจัดการคลงั ทำ� เลทตี่ ง้ั การกระจายสนิ คา้ ในระดบั ดที สี่ ดุ การวางแผนกำ� ลงั การ สินคา้ (Warehouse Management System: WMS) ทถ่ี กู พฒั นา ผลติ การใหบ้ รกิ ารคลงั สนิ คา้ แตล่ ะพน้ื ทใ่ี หด้ ที สี่ ดุ และการประเมนิ ข้ึนมาเพ่ือช่วยให้การปฏิบัติงานภายในคลังสินค้าและการ ผลกลยุทธ์โลจิสติกส ์ เป็นต้น บริหารสต็อกให้เป็นโดยอัตโนมัติ มีความถูกต้อง รวดเร็วและ แมน่ ย�ำมากข้นึ สามารถดำ� เนินการผ่านหน้าจอคอมพวิ เตอร์ โดย บทสรุป ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั งานทใี่ ชก้ ระดาษ(Paperless) ระบบการจดั การ คลงั สนิ ค้ามีความสามารถท่ีช่วยแก้ไข ปญั หาโลจิสตกิ ส์ ดงั นี้ เทคโนโลยที จ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั โลจสิ ตกิ สใ์ นยคุ ใหมท่ งั้ 7 ระบบ 1. การรบั สินค้า (Receiving) ระบบสามารถจองพ้นื ทว่ี า่ ง ในบทความน้ีประกอบด้วย 1) ระบบการแลกเปล่ียนข้อมูลทาง หรอื จองพน้ื ทไี่ วล้ ว่ งหนา้ เพอ่ื ชว่ ยในการวางแผนการจดั วางในคลงั อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange System: EDI) สินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ การรับสินค้าโดยไม่มีการวางแผน 2) ระบบบาร์โค้ด (Barcode System) 3) รหัสบง่ ชี้โดยใช้ความถ่ี การจดั เกบ็ จะมผี ลทำ� ให้ต้นทุนของกจิ การมากขนึ้ เพราะต้องเสีย ของคล่ืนวทิ ยุ (Radio Frequency Identification: RFID) 4) ระบบ เวลาในการคน้ หาสินค้าน้นั ๆ ก�ำหนดพิกดั ทต่ี ั้งดาวเทียม (Global Positioning System: GPS) 5) การวางแผนทรพั ยากรองค์การโดยรวม (Enterprise Resource 13Executive Journal

Planning: ERP) 6) ระบบการจัดการคลังสินค้า (Warehouse บรรณานุกรม Management System: WMS) 7) ระบบการจัดการการขนส่ง (Transportation Management System: TMS) ซ่ึงเทคโนโลยที ่ี คำ�นาย อภปิ รชั ญาสกลุ . (2553). การบรหิ ารระบบข้อมูล กล่าวมา เป็นเทคโนโลยีเบ้อื งต้นท่ผี บู้ รหิ ารควรพจิ ารณาก่อนทจ่ี ะ โลจสิ ตกิ ส.์ กรงุ เทพฯ: โฟกัสมเี ดีย แอนด์ พบั ลชิ ชิง่ . เร่ิมดำ� เนนิ การกจิ กรรมทางดา้ นโลจสิ ติกส์ อยา่ งไรก็ตามก่อนที่จะ โซลูชัน่ คอร์ป. (ม.ป.ป.). EDI คืออะไร?. สืบค้นเมื่อ 12 มกี ารจะเลอื กเทคโนโลยใี ดๆ มาใช้ จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ผใู้ ช้(User) ใน พฤศจกิ ายน 2553, จาก http://www.solutions - corp. องค์การก่อนว่ามีความพร้อมหรือไม่ เพราะผู้ใช้ระบบต่างๆ จะ co.th/edi.html ต้องปรับตัวและประยุกต์ให้เข้ากับบริบทการท�ำงานของแต่ละ พงษ์ชยั อธิคมรตั นกุล. (2550). โลจิสติกสก์ า้ วย่างประเทศ หน่วยงาน ซ่ึงจะตอ้ งมคี วามสอดคล้องกัน และเข้ากันไดท้ กุ หน่วย ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ. งาน มิฉะน้นั จะท�ำให้องค์การประสบปญั หาในการใชเ้ ทคโนโลยที ่ี สถาบันส่งเสริมความเปน็ เลิศทางเทคโนโลยีอารเ์ อฟไอดแี หง่ ไมเ่ หมาะสมองค์การ ประเทศไทย. (ม.ป.ป.). องค์ประกอบ RFID. สบื ค้น เม่อื 13 พฤศจกิ ายน 2553, จาก http://www.rfid.or. th/th/technology/component.asp อรุณ บรริ กั ษ์. (2553). บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในโซ่ อปุ ทาน. โลจิสตกิ ส์ไทยแลนด์. 8(90). 72-75. Lambert D.M., Stock J.R., & Elram L.M. (1998). Fundamentals of Logistics Management. Boston: McGraw-Hil/Irwin. 14 Executive Journal


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook