บทท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา การจดั การศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนษุ ยท์ ่ีสมบูรณ์ทั้ง รา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความรู้และคุณธรรม มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถอยู่รว่ มกับผู้อนื่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุข การ จดั การศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาต นเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญทีส่ ุด กระบวนการจดั การศึกษาต้องส่งเสริมให้ผูเ้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศกั ยภาพ (พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ. 2542) การจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 เปน็ การจัดการศึกษาทม่ี ุ่ง พฒั นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ เมื่อจบ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานแลว้ ผเู้ รียนต้องมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มี วินยั และปฏิบัติตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาขอ งเศรษฐกิจ พอเพยี ง มคี วามรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี มที กั ษะชวี ติ มีสุขภาพ กายและสุขภาพจติ ทีด่ ี มสี ขุ นิสัยและรกั การออกกาลังกายมีความรักชาติ มีจติ สานึกในความเปน็ พลเมืองไทย และพลโลก ยดึ มั่นในวถิ ชี ีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุขมี จติ สำนึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาสิง่ แวดลอ้ ม มีจติ สาธารณะทมี่ ุ่งทำ ประโยชนแ์ ละสร้างสิง่ ทดี่ งี ามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551: 3-4) หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กล่าวถงึ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะเป็น กลุ่มสาระท่ีช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงาม มี สนุ ทรยี ภาพ ความมีคุณคา่ ซึง่ มผี ลต่อคุณภาพชีวติ มนุษย์ กิจกรรมทางศลิ ปะช่วยพัฒนาผูเ้ รยี น ท้ังดา้ นร่างกาย จติ ใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนาไปส่กู ารพฒั นาสิ่งแวดล้อม สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมคี วามเชื่อมั่นใน ตนเอง อันเปน็ พนื้ ฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ โดยกลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะมุง่ พัฒนาให้ ผู้เรยี น เกิดความรู้ความเขา้ ใจ มที ักษะวิธกี ารทางศลิ ปะ เกิดความซาบซ้ึงในคณุ ค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ ผ้เู รียน แสดงออกอย่างอิสระในศลิ ปะแขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสำคัญ คือ ทัศนศิลป์ ดนตรี และ นาฏศิลป์ โดยใน สว่ นของทัศนศลิ ปม์ ุ่งเน้นใหผ้ เู้ รียน มีความรูค้ วามเขา้ ใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้าง และนาเสนอผลงานทาง ทัศนศิลปจ์ ากจนิ ตนาการ โดยสามารถใชอ้ ุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมท้ังสามารถใช้ เทคนคิ วิธีการของศลิ ปินในการ สร้างงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (กรมวิชาการ 2551: 182) 1
การเรียนการสอนศลิ ปศึกษา นอกจากต้องทำ ความเข้าใจกับหลกั สูตร เปา้ หมายการเรียนรู้ และ กจิ กรรมแล้ว ยังตอ้ งทาความเข้าใจกับวุฒภิ าวะและความพร้อมของเด็กแตล่ ะวยั หรอื แตล่ ะตวั บุคคล เพื่อให้ สามารถจัดกิจกรรม สภาพแวดล้อม และสอ่ื การสอนได้อย่างเหมาะสม (วิรณุ ต้งั เจรญิ 2539:107) การเรียน การสอนศิลปะ เรามกั พบวา่ เนอ้ื หาสาระตวั อย่างและส่อื ดลใจต่อการเรียนรูข้ องเด็ก มีสภาพเป็นนามธรรมมาก สภาพนามธรรมเช่นนจ้ี ะมลี กั ษณะเลื่อนลอยตอ่ ความรูต้ ่อความเข้าใจและความคดิ ของเขา ทาให้การเรยี นรูก้ ็ เปน็ ไปอยา่ งเล่อื นลอย และไม่ได้ผลสมบรู ณ์ ส่อื การสอนทด่ี จี ะเปน็ ตวั การสำคญั ท่ที าใหน้ ักเรียนมีความรู้ความ เข้าใจและความคดิ อยา่ งเป็นรปู ธรรมขนึ้ ทาใหก้ ารเรยี นรมู้ ีประสิทธภิ าพ (วริ ณุ ตงั้ เจรญิ 2539: 111) วิชาศลิ ปะ เปน็ วิชาที่วา่ ด้วยความเป็นเหตเุ ป็นผล พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ นอกจากนยี้ งั สามารถใช้ เปน็ เคร่อื งมือในการศึกษาศาสตรอ์ ื่น ๆ เพราะศลิ ปะมีลักษณะเป็นภาษาสากลท่ีทกุ คนสามารถเข้าใจไดต้ รงกัน ในการสื่อสาร การส่ือความหมาย และสาระของศลิ ปะยงั มคี วามสัมพนั ธ์กนั อยา่ งตอ่ เน่อื ง ทาใหผ้ ้เู รยี นจาเป็น ตอ้ งมีพืน้ ความรู้ในสาระเบื้องต้น ความเข้าใจในเรื่องของทัศนธาตุองค์ประกอบศิลป์ ก็เป็นองค์ประกอบ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ศิลปะ และสร้างผลงานที่มีคุณค่า ดังท่ีมานพ ถนอมศรี (2546: 45) กล่าวถึงการ สรา้ งสรรค์ผลงานทศั นศลิ ปใ์ ห้เกดิ ความงดงามจาเปน็ ต้องอาศยั การจดั วางส่วนประกอบต่าง ๆ ไดแ้ ก่ เส้น รูปรา่ ง รูปทรง สี และพนื้ ผวิ ใหเ้ กดิ ความประสานกลมกลนื กันอย่างลงตัวประกอบกบั ชลดู นมิ่ เสมอ (2542: 27) กล่าวว่าการสร้างงานศลิ ปะนัน้ ความคดิ หรอื อารมณ์ทตี่ อ้ งการแสดงออกนบั เป็นสง่ิ สำคญั ท่ีสุดอันดับแรก ทศั นธาตุเปน็ สื่อสุนทรยี ภาพที่จะนามาประกอบใหเ้ ข้ากนั เป็นรูปทรง เพื่อสื่อความหมายตามแนวเร่อื ง การ ประกอบกัน หรือจดั ระเบยี บของทศั นธาตุ จึงเป็นปัญหาท่ีสำคัญท่สี ดุ อนั ดับตอ่ มาทัศนธาตุเหล่านีจ้ ะรวมตัว และเก่ียวเน่อื งกันอยู่ ท้ังในรูปทรงที่ศลิ ปินสรา้ งขน้ึ และในสิ่งต่าง ๆ ท่ีมอี ยู่ในธรรมชาติ เราจาเปน็ ที่ตอ้ งแยก ทัศนธาตุออกเปน็ อยา่ ง ๆ เพอื่ ศกึ ษา วเิ คราะหใ์ หช้ ดั เจนถึงคุณลักษณะและหน้าทเี่ ฉพาะตวั ของแตล่ ะทศั นธาตุ ตลอดจนบทบาททซี่ ้อนกัน และรว่ มกนั กบั ธาตอุ ื่น ๆ ซงึ่ สอดคล้องกับตวั ชวี้ ดั ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ กำหนดใหผ้ ู้เรียนสามารถจำแนกทัศนธาตุของส่ิงตา่ ง ๆ ใน ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเร่ืองเส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่วา่ งได้ (กระทรวงศกึ ษา 2551: 11) วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 1.เพอื่ พัฒนาความสามารถทกั ษะการลงน้ำหนกั แสงเงาด้วยเส้นและสีของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/7 ให้มีคะแนนสูงขน้ึ ร้อยละ 80 2.เพื่อเปรยี บเทียบความความสามารถของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/7 ในการแสดงวิธีทำการลง นำ้ หนักแสงเงาด้วยเสน้ และสีก่อนฝึกและหลังฝึก 2
สมมุตฐิ านของการวิจยั 1.การแสดงวิธีทำการลงน้ำหนกั แสงเงาดว้ ยเสน้ และสีของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2/7 ให้มี คะแนนสงู ขึน้ ร้อยละ 80 2.ความสามารถในการแสดงวธิ ีทำการลงนำ้ หนกั แสงเงาดว้ ยเส้นและสีหลังฝกึ สูงกว่าก่อนฝึก ขอบเขตของการวิจยั การวจิ ัยครงั้ นมี้ ีขอบเขต ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้ คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/7 โรงเรียน อำนาจเจริญ อำเภอเมืองอำนาจเจรญิ จังหวัดอำนาจเจรญิ ทก่ี ำลังเรยี นอยู่ใน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 1 ห้องเรียน ทั้งหมดจำนวน 41 คน 1.2 กลมุ่ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจยั ในครั้งนี้ คอื นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 โรงเรียน อำนาจเจริญ อำเภอเมืองอำนาจเจรญิ จงั หวัดอำนาจเจริญ ท่กี ำลังเรยี นอยู่ใน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2559 ซึ่งได้จากการสมุ่ ตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Samping) จำนวน 41 คน 2. ตัวแปรที่ศกึ ษา 2.1 ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ แบบฝกึ ทักษะการลงน้ำหนักแสงเงาด้วยเสน้ และสี 2.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ความสามารถในการลงน้ำหนกั แสงเงาดว้ ยเสน้ และสี ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/7 3. เน้อื หาทใี่ ช้ในการศกึ ษา เน้อื หาทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ในครง้ั น้ี เปน็ วิชาศลิ ปะ เรื่อง การลงนำ้ หนกั แสงเงาดว้ ยเสน้ และสี กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะสอนในระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2/7 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มเี นอ้ื หาดงั ตอ่ ไปน้ี - การลงน้ำหนักแสงเงา ด้วยเสน้ - การลงนำ้ หนกั แสงเงา ด้วยสี 4. ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ การทดลองในครั้งน้ดี ำเนนิ การทดลองในภาคเรยี นท่ี 2 ปี การศึกษา 2559 ใช้เวลาในการดำเนิน กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามเน้อื หา 3 คาบ แบง่ เป็น ทดสอบกอ่ นเรยี น 1 คาบ และทดสอบหลังเรยี น 1 คาบ รวม 5 คาบ คาบละ 50 นาที 3
5.นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 5.1 แบบฝกึ ทักษะการลงนำ้ หนกั แสงเงาดว้ ยเส้นและสี หมายถึง แบบฝึกทักษะการลงน้ำหนกั แสง เงาดว้ ยเส้นและสี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2/7 ทผี่ ูร้ ายงานสร้างขึ้นเพอื่ ใช้ในการลง นำ้ หนักแสงเงาดว้ ยเสน้ และสี จำนวน 9 แบบฝึก 5.2 นักเรียนหมายถึง นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/7 โรงเรียนอำนาจเจริญ สำนักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษาเขต 29 ปีการศกึ ษา 2559 จำนวน 41 คน 5.3 แบบทดสอบหมายถงึ แบบทดสอบการลงน้ำหนกั แสงเงาดว้ ยเส้นและสี ท่ีผู้รายงานสร้างขึน้ เพอื่ ทดสอบนักเรียนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน 5.4 การลงน้ำหนกั แสงเงาด้วยเส้นและสี ค่าน้ำหนกั คอื ค่าความอ่อนแก่ของบรเิ วณทถ่ี กู แสงสว่าง และบริเวณท่ีเป็นเงาของวัตถุหรือ ความออ่ น- ความเข้มของสีหนึ่ง ๆ หรอื หลายสี เช่น สแี ดง มคี วามเข้มกว่าสีชมพู หรอื สแี ดงออ่ นกว่าสีนำ้ เงิน เปน็ ตน้ นอกจากน้ียังหมายถงึ ระดบั ความเขม้ ของแสงและระดับ ความมืดของเงา ซ่ึงไลเ่ รียงจากมืดท่สี ุด (สี ดำ)ไปจนถึงสว่างทสี่ ดุ (สขี าว) นำ้ หนกั ท่อี ย่รู ะหว่างกลางจะเป็นสเี ทา ซ่งึ มีต้งั แต่เทาแกท่ ่ีสุด จนถงึ เทาออ่ น ทสี่ ดุ การใช้ค่านำ้ หนกั จะทำใหภ้ าพดูเหมอื นจรงิ และมคี วามกลมกลนื ถ้าใชค้ ่านำ้ หนักหลาย ๆ ระดับจะทำ ให้มีความกลมกลนื มากย่งิ ขึน้ และถ้าใชค้ ่าน้ำหนกั จำนวนนอ้ ยทแี่ ตกตา่ งกันมาก จะทำให้เกดิ ความแตกตา่ ง ความขดั แย้ง แสงและเงา (Light & Shade) เป็นองคป์ ระกอบของศลิ ป์ทอ่ี ย่คู ู่กนั แสง เมื่อส่องกระทบ กับ วตั ถุ จะทำให้เกดิ เงา แสงและเงา เป็นตัวกำหนดระดบั ของคา่ นำ้ หนกั ความเขม้ ของเงาจะขนึ้ อยูก่ ับความเขม้ ของแสง ในท่ีท่ีมีแสงสว่างมาก เงาจะเขม้ ขึน้ และในที่ทมี่ ีแสงสวา่ งนอ้ ย เงาจะไม่ชัดเจน ในทที่ ่ีไม่มแี สงสว่าง จะไมม่ เี งา และเงาจะอย่ใู นทางตรงขา้ มกบั แสงเสมอ คา่ นำ้ หนักของแสงและเงานทเี่ กดิ บนวตั ถุตา่ ง ๆ ไดด้ ังน้ี 1. บริเวณแสงสวา่ งจดั (Hi-light) เปน็ บริเวณท่อี ยใู่ กลแ้ หล่งกำเนิดแสงมากทส่ี ดุ จะมี ความสวา่ ง มากทส่ี ดุ ในวตั ถทุ ่มี ีผวิ มันวาวจะสะทอ้ นแหล่งกำเนิดแสงออกมาให้เหน็ ได้ชดั 2. บริเวณแสงสวา่ ง (Light) เป็นบรเิ วณท่ีได้รบั แสงสว่าง รองลงมาจากบรเิ วณแสงสว่าง จัด เนื่องจากอย่หู า่ งจากแหล่งกำเนดิ แสงออกมา และเริม่ มคี ่านำ้ หนกั อ่อน ๆ 3. บริเวณเงา (Shade) เป็นบรเิ วณท่ไี มไ่ ด้รบั แสงสว่าง หรือเป็นบรเิ วณทถ่ี ูกบดบงั จากแสงสว่าง ซ่ึงจะมคี ่านำ้ หนกั เข้มมากขน้ึ กว่าบรเิ วณแสงสวา่ ง 4. บรเิ วณเงาเข้มจดั (Hi-Shade) เปน็ บรเิ วณท่ีอยู่หา่ งจากแหล่งกำเนดิ แสงมากทีส่ ุด หรอื เปน็ บรเิ วณ ทถี่ กู บดบงั มาก ๆ หลาย ๆ ชัน้ จะมีค่าน้ำหนักทเ่ี ข้มมากไปจนถงึ เข้มทสี่ ดุ 5. บรเิ วณเงาตกทอด เป็นบริเวณของพื้นหลงั ทเ่ี งาของวตั ถุทาบลงไป เป็นบรเิ วณเงาที่อยู่ ภายนอก วตั ถุ และจะมีความเขม้ ของค่าน้ำหนักข้นึ อยู่กับ ความเข้มของเงา น้ำหนักของพ้นื หลัง ทศิ ทางและระยะของ เงา 4
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. ได้ แบบฝกึ ทักษะการลงนำ้ หนักแสงเงาดว้ ยเสน้ และสี ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพเป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกำหนด สามารถใช้จัดการเรียนการสอนเร่อื ง สไี ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2. ได้แนวทางในการจัดการเรยี นรู้วชิ า ศิลปะ โดยแบบฝึกทกั ษะการลงนำ้ หนกั แสงเงาดว้ ยเส้นและสี กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม กิจกรรมการสอนโดยใช้แบบฝึก ทกั ษะการลงนา้ หนกั แสงเงาดว้ ย ทักษะการลงนา้ หนักแสงเงาดว้ ย เส้นและสี ของนักเรยี นชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/7 เสน้ และสี ความสามารถในการวาดรูประบายสีโดยใช้วรรณะสี ภาพประกอบ 1 ภาพกรอบแนวคิด 5
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: