Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยชั้นเรียน เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ด้วยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan)

รายงานการวิจัยชั้นเรียน เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ด้วยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan)

Published by wirongtong, 2021-01-19 14:40:42

Description: รายงานการวิจัยชั้นเรียน
เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
ด้วยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan)
ปีการศึกษา ๒๕๖๓
จัดทำโดย
นางสาววันวิสา ภาระวงษ์
ตำแหน่ง ครู
โรงเรียนอำนาจเจริญ
อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๒๙

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจยั ช้ันเรียน เรื่อง การวเิ คราะหผ์ ู้เรียนรายบุคคล ด้วยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ จดั ทำโดย นางสาววันวสิ า ภาระวงษ์ ตำแหนง่ ครู คศ.๑ โรงเรยี นอำนาจเจรญิ อำเภอเมืองอำนาจเจรญิ จังหวดั อำนาจเจรญิ สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธมศษึ าอบุ ลราชธานี เขต ๒๙

รายงานการวิจัยชนั้ เรยี น เรอื่ ง การวิเคราะหผ์ ู้เรยี นรายบุคคล ดว้ ยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan) ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จดั ทำโดย นางสาววันวสิ า ภาระวงษ์ ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โรงเรียนอำนาจเจรญิ อำเภอเมืองอำนาจเจรญิ จงั หวดั อำนาจเจรญิ สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต ๒๙

สารบัญ หนา้ ก เร่อื ง ข บทคัดย่อ ค กติ ตกิ รรมประกาศ สารบัญ 1 บทท่ี 1 บทนำ 2 2 ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา 3 วตั ถปุ ระสงคข์ องการการศกึ ษา 4 ขอบเขตของการศึกษา นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 5 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง 13 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 16 หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ 17 เอกสารท่ีเกย่ี วกับแบบทดสอบ 17 เอกสารเกี่ยวกับพฤตกิ รรม 18 งานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้อง 20 - งานวิจัยในประเทศ 21 - งานวิจยั ตา่ งประเทศ 21 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการศึกษา 21 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง 22 เครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการศึกษา ขนั้ ตอนการดำเนนิ การทดลอง 23 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 24 สถิติทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 28 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 29 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ภูมิหลงั ครอบครัว 29 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้านผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 30 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอาชพี ทีน่ กั เรียนใฝ่ฝนั ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ด้านความตอ้ งการให้การจดั กระบวกการเรยี นรู้ ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลต่อความร้สู ึกทชี่ อบในกลมุ่ สาระตา่ งๆ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ต่อความรู้สกึ ที่ไมช่ อบในกล่มุ สาระต่างๆ

สารบัญ (ต่อ) หนา้ เรอื่ ง บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล(ตอ่ ) 31 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพฤติกรรมของนักเรยี น 33 จากการทำแบบทดสอบออนไลน์ Habitscan 33 ผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียนตามแบบ SWOT Analysis ผลการวเิ คราะห์ PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach) 36 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 36 สรุปผล 37 อภิปรายผลการวิจัย 38 ขอ้ เสนอแนะ เอกสารอา้ งอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก ทมี่ าของปัญหา ภาคผนวก ข แบบบันทึกข้อมูลส่วนตัว ภาคผนวก ค นวตั กรรมแบบทดสอบออนไลน์ ภาคผนวก ง แบบสรปุ พฤติกรรมของนกั เรียน

ช่ือเรือ่ ง เรอ่ื งการวิเคราะห์ผ้เู รยี นรายบคุ คล ดว้ ยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan) นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจรญิ ผศู้ กึ ษา นางสาววนั วสิ า ภาระวงษ์ หน่วยงาน โรงเรยี นอำนาจเจริญ ปที ่รี ายงาน ปี 2563 บทคัดยอ่ การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ด้วยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อศึกษารู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล วิเคราะห์แยกแยะความพร้อมของ ผูเ้ รยี นรายบุคคล ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนอำนาจเจริญ ปีการศึกษา 2563 2.เพ่ือศึกษาจุดเด่น จุดด้อย ท่ีควรได้รบั การพัฒนาและปรบั ปรงุ ของนักเรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจริญ ปี การศึกษา 2563 3.เพื่อหาแนวทางการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ ความสามารถของผู้เรียนรายบุคคลให้สามารถพัฒนาตามธรรมชาติของแต่ละบุคคลเต็มตามศักยภาพ และ หาทางช่วยเหลือผู้เรียนที่มีข้อบกพร่องให้มีความพร้อมที่ดีขึ้น กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจรญิ อำเภอเมือง จงั หวดั อำนาจเจรญิ สำนกั งานเขตพ้นื ที่ มัธยมศึกษา เขต 29 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 44 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบ เจาะจง ( Purposive Sampling ) เครื่องมือที่ใช้ในการรายงานครั้งนี้ ได้แก่ แบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan) จำนวน 60 ข้อ ซึ่งมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด สถิติท่ีใช้ คือ แบบวิเคราะห์ผู้เรยี น รายบุคคล แบบสังเกต แบบสมั ภาษณ์ แบบบันทึกวเิ คราะห์ข้อมลู ดว้ ยคา่ สถติ ริ อ้ ยละ ,SWOTanalysis ,PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach) ผลการศกึ ษาคน้ คว้าพบว่า 1. สถานภาพของครอบครัวนักเรยี นนกั เรียนส่วนใหญ่ อยรู่ ่วมกัน ร้อยละ 72.73 2. ลักษณะที่พักของนกั เรยี นส่วนใหญ่ พกั บา้ นตนเอง ร้อยละ 97.73 3. ฐานะของครอบครวั ของนักเรียนสว่ นใหญ่ ปานกลาง ร้อยละ 88.64 4. วิชาทนี่ ักเรียนสว่ นใหญ่ชอบคอื สขุ ศึกษา ร้อยละ 25.00 5. วชิ าทีน่ กั เรยี นสว่ นใหญ่ควรพฒั นาคือ คณิตศาสตร์ รอ้ ยละ 45.45 6. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (GPA) เฉล่ีย ระหวา่ ง 3.00-4.00 ร้อยละ 59.09 เฉลี่ย ระหวา่ ง 2.00-2.99 ร้อยละ 31.82 เฉลี่ย ระหว่าง 1.00-1.99 ร้อยละ 6.82 7. นกั เรียนสว่ นใหญต่ ้องการใหค้ รูดูผลการเรยี นร้จู ากการจัดกระบวนการ ทักษะพสิ ยั ร้อยละ 68.17 8. นกั เรยี นส่วนใหญม่ ีเป้าหมายอาชีพคือ พนกั งานอิสระ ร้อยละ 38.62 9. นกั เรียนสว่ นใหญ่ประเมินพฤติกรรมตนเองได้สเี หลือง ร้อยละ 29.55

กิตติกรรมประกาศ รายงานการพัฒนาความสามารถในการลงน้ำหนักแสงเงาด้วยเส้นและสี สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/5 เล่มนี้ สำเร็จลงได้ด้วยความกรุณาจาก ว่าที่ร้อยโทวิเศษ แก้วมีศรี ผู้อำนวยการ โรงเรยี นอำนาจเจริญ และรองผู้อำนวยการโรงเรียนอำนาจเจริญ ทใ่ี ห้การสนบั สนนุ และอำนวยความสะดวก ในการศกึ ษาค้นคว้า ใหส้ ำเรจ็ ดว้ ยดี ผ้ศู ึกษาขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณผู้เช่ียวชาญ ได้แก่ ว่าที่ร้อยโทวิเศษ แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนอำนาจเจริญ และนายไพฑรู ย์ สนุ ทรักษ์ หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ โรงเรียนอำนาจเจรญิ และคณะครูกลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนอำนาจเจริญ ที่ได้ให้คำปรึกษา แนะนำและตรวจสอบแก้ไขเครื่องมือที่ใช้ในการ รายงาน ตลอดจนแนะนำแก้ไขข้อบกพร่องตา่ ง ๆ จนงานเสรจ็ สมบรู ณด์ ้วยดี ขอขอบคุณคณะครู นกั เรยี นโรงเรียนอำนาจเจรญิ และผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทกุ ท่าน ที่ให้ความรว่ มมอื ในการทำงานในคร้ังน้ี ประโยชน์และคุณค่าของรายงานเล่มนี้ ผู้ศึกษาขอมอบแด่ผู้มีพระคุณทุกท่านที่ช่วยให้ผู้รายงานได้มี โอกาสศึกษาและทำงานจนสำเรจ็

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ทร่ี ะบุไว้วา่ “มาตรา 22”การจดั การศึกษาต้องยดึ หลักว่า ผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้ และถือวา่ ผ้เู รยี นมคี วามสำคัญมากทสี่ ุด กระบวนการ จัดการศกึ ษาต้องส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศกั ยภาพ การวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล จึงมีความสำคัญมาก ประโยชน์ของการ วิเคราะห์ผู้เรียน คือการนำข้อมูลไปช่วยเหลือ แก้ไข ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้เรียนมีการพัฒนาได้อย่าง เหมาะสมตามศักยภาพของแต่ละบุคคล และมีความสขุ ครผู สู้ อนจงึ มีบทบาทสำคัญเกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง คิดเอง ปฏิบัติเอง เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง ผูศ้ กึ ษาได้รับมอบหมายใหท้ ำหน้าทป่ี ฏิบตั กิ ารสอน รายวชิ าศิลปะ 3 รหสั วชิ า ศ 22101 ระดับชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน ไดด้ ำเนนิ การวิเคราะห์ผู้เรยี นรายบุคคลท่ีได้รับมอบหมายในการจดั กิจกรรมการ เรียนการสอน ในปีการศึกษา 2563 เพ่ือใหท้ ราบขอ้ มลู พนื้ ฐานของผ้เู รยี น แล้วนำไปวางแผนในการจดั กิจกรรม การเรียนรู้ให้เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพของครูทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร กำหนดไว้ ในด้านการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญอยา่ งมีประสิทธภิ าพไว้ว่าในการปฏิบัติงาน สอนน้นั ครจู ะต้องทำกจิ กรรม 7 กจิ กรรม คือ 1. การวเิ คราะหห์ ลกั สูตร 2. การวิเคราะหผ์ เู้ รียนเป็นรายบุคคล 3. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย 4. การใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ แหลง่ และส่อื การเรยี นรู้ของตนเองและนักเรยี น 5. การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบด้าน เน้นองค์รวมและเนน้ พัฒนาการ 6. การใช้ผลการประเมนิ เพื่อแก้ไขปรบั ปรุง และพัฒนาการจดั การเรียนการสอน เพ่ือพัฒนา ผเู้ รยี นใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ 7. การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนานวตั กรรม เพื่อพัฒนาการเรียนรขู้ องนักเรียนและการ สอนของตนเอง จากมาตรฐานดังกลา่ ว ครูจงึ ตอ้ งวิเคราะหผ์ ู้เรยี นเปน็ รายบุคคล เพ่ือวางแผนการจดั การเรียนรู้ให้ เหมาะสมกับผเู้ รยี น

สงิ่ ทีต่ ้องการทราบ 1.นกั เรียนแต่ละคนมลี ักษณะสำคัญอยา่ งไร 2.นกั เรยี นแตล่ ะคนมจี ดุ เด่น จดุ ที่ควรพัฒนาและจดุ ที่ควรปรบั ปรงุ แก้ไขในเร่ืองใดบา้ ง 3.ครูควรออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างไรใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพของผู้เรียน รายบุคคลได้สอดคล้องตามสภาพปญั หาของแต่ละบคุ คล วตั ถุประสงค์ 1.เพอื่ ศกึ ษารูจ้ กั ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล วเิ คราะห์แยกแยะความพร้อมของผูเ้ รียนรายบุคคล ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจริญ ปกี ารศึกษา 2563 2.เพ่ือศกึ ษาจดุ เดน่ จดุ ด้อย ที่ควรได้รบั การพฒั นาและปรบั ปรุงของนักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนอำนาจเจรญิ ปีการศกึ ษา 2563 3.เพ่อื หาแนวทางการออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้สอดคล้องกบั ความสามารถของผู้เรยี น รายบุคคลใหส้ ามารถพฒั นาตามธรรมชาตขิ องแต่ละบุคคลเต็มตามศักยภาพ และหาทางช่วยเหลอื ผ้เู รียนที่มี ข้อบกพร่องให้มีความพรอ้ มที่ดีข้ึน ประโยชนท์ ่ีได้รับ 1.ได้ข้อมูลพื้นฐานของนักเรยี น ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจริญ ปกี ารศกึ ษา 2563 2.ได้ข้อมูลในการพฒั นาและปรบั ปรุงนักเรียน ในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจรญิ 3.ไดแ้ นวทางการออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคลในการ จัดการเรยี นรู้ที่มีประสิทธภิ าพและเหมาะสมตามจุดเน้นคุณภาพผู้เรียน ขอบเขตของการวิจัย การวิจยั คร้ังน้ีมีขอบเขต ดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียน อำนาจเจริญ อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ ที่กำลังเรียนอยู่ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 1 หอ้ งเรียน ทงั้ หมดจำนวน 44 คน

1.2 กลุม่ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียน อำนาจเจริญ อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ ที่กำลังเรียนอยู่ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ซ่งึ ได้จากการสมุ่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Samping) จำนวน 44 คน 2. ตวั แปรทศ่ี ึกษา 2.1 ตัวแปรตน้ ได้แก่ แบบทดสอบออนไลน์ ผา่ นเวบ็ ไซต์ https://www.habitscode.com 2.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ความสามารถในการทำแบบทดสอบออนไลน์ ผา่ นเว็บไซต์ https://www.habitscode.com ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/5 3. เนอื้ หาทีใ่ ช้ในการศกึ ษา เนือ้ หาทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ในครัง้ น้ี แบบทดสอบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ https://www.habitscode.com คือโปรแกรมวเิ คราะหน์ ิสยั ดว้ ยระบบทดสอบบุคลิกภาพและสมรรถนะ รายบคุ คล โดยเนน้ การคน้ หามิติดา้ นนสิ ยั เป็นหลัก เพ่ือช่วยสะทอ้ นตัวตนของบคุ คลน้ันออกมาตามความเปน็ จรงิ วา่ แทจ้ รงิ แล้วบคุ คลน้นั มนี สิ ยั อยา่ งไร มีพรสวรรค์อะไร มีจดุ แขง็ จดุ ออ่ นใดบ้าง มีข้อบกพรอ่ งใดท่ีควร แก้ไข มีความชอบเรื่องอะไร มีอารมณค์ วามรู้สึกแบบใด เป็นตน้ 4. ระยะเวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้ การทดลองในครัง้ น้ีดำเนินการทดลองในภาคเรยี นที่ 1 ปี การศึกษา 2563 ใชเ้ วลาในการดำเนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอนตามเน้ือหา 3 คาบ แบง่ เป็น ทดสอบก่อนเรยี น 1 คาบ และทดสอบหลงั เรียน 1 คาบ รวม 5 คาบ คาบละ 50 นาที 5.นิยามศพั ท์เฉพาะ 5.1 แบบทดสอบออนไลน์ ผา่ นเวบ็ ไซต์ https://www.habitscode.com หมายถงึ แบบทดสอบ วิเคราะห์นสิ ัยระดับจิตใตส้ ำนึก ทมี่ จี ำนวน 60 ข้อ ในแตล่ ะข้อมี 3 ตวั เลือก 5.2 นักเรยี นหมายถงึ นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจรญิ สำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษาเขต 29 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 44 คน 5.3 พฤติกรรม 6 แบบ 6 สี สีเหลอื ง คือ ผเู้ สยี สละกลมเกลยี ว , สสี ้ม คอื ผสู้ นุ ทรยี ์ รักอสิ ระ , สีแดง คอื ผู้กล้าหาญ ริเริม่ , สมี ่วง คอื ผูม้ ีปญั ญา ชา่ งคิด , สนี ้ำเงนิ คือ ผมู้ ีแบบแผน คมุ กฎ , สเี ขยี ว คือ ผู้จรงิ ใจ รักสงบ 5.4 HabitScan คือการวเิ คราะห์นสิ ยั และบอกผลการวิเคราะหจ์ ะบอก ลกั ษณะการเรียนรู้ นิสยั พรสวรรค์ จุดแข็ง จดุ อ่อน ขอ้ บกพร่องที่ควรแก้ไข ความชอบ อารมณ์ความร้สู ึก

ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั 1.ได้ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นอำนาจเจริญ ปีการศึกษา 2563 2.ได้ข้อมูลในการพัฒนาและปรบั ปรุงนกั เรียน ในระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนอำนาจเจรญิ 3.ไดแ้ นวทางการออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลในการ จดั การเรียนรทู้ ี่มีประสิทธภิ าพและเหมาะสมตามจดุ เนน้ คุณภาพผู้เรียน กรอบแนวคดิ ในการวิจัย ตวั แปรตาม ตัวแปรต้น ความสามารถในการทาแบบทดสอบ ออนไลน์ ผา่ นเวบ็ ไซต์ แบบทดสอบออนไลน์ ผา่ นเวบ็ ไซต์ https://www.habitscode.com https://www.habitscode.com ของ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 2/5 ภาพประกอบ 1 ภาพกรอบแนวคดิ

บทที่ 2 เอกสาร และงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง ในการวจิ ัยในครงั้ น้ี ผู้วจิ ัยได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง และไดน้ ำเสนอตามหัวขอ้ ต่อไปน้ี 1. หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืน ฐาน พุทธศักราช 2551 1.1 วสิ ยั ทัศน์ของหลักสตู ร 1.2 หลกั การของหลกั สตู ร 1.3 จดุ หมายของหลกั สูตร 1.4 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1.5 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.6 มาตรฐานการเรยี นรู้ 2. กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ 2.1 ทำไมต้องเรยี นศลิ ปะ 2.2 เรยี นรอู้ ะไรในศลิ ปะ 2.3 มาตรฐานการเรียนร้กู ลมุ่ สาระทัศนศิลป์ 2.4 ตัวช้ีวดั 2.5 คุณภาพผ้เู รยี น 3. เอกสารที่เกีย่ วขอ้ งกบั ความรเู้ รอื่ งศิลปะ 3.1 ความหมายของศิลปะ 3.2 ความหมายของทัศนศลิ ป์ 3.3 ความหมายของทัศนธาตุ 4. แบบทดสอบ 4.1 ความหมายของแบบทดสอบ 4.2 ประเภทของแบบทดสอบ 4.3 การสรา้ งแบบทดสอบ 4.4 ข้อดีและข้อเสยี ของแบบทดสอบ 5.พฤตกิ รรม 5.1 ความหมายของพฤติกรรม 5.2 พฤติกรรมภายนอก 5.3 พฤติกรรมภายใน 6. วจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้อง 6.1 วจิ ัยในประเทศ 6.2 วิจัยต่างประเทศ 1.หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่พัฒนามาจากหลักสูตรขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่จะมีความเหมาะสม ชัดเจน ในการนำหลักสูตรไปใช้ในสถานศึกษา ทั้งการ กำหนดเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนำไปสู่การปฏิบัติในระดับเขต พื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้ีวัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นทศิ ทางในการจัดทำหลกั สตู ร การเรียนการสอนในแต่ละระดับนอกจากนั้นได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ำของแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความ พร้อมและจดุ เน้น อีกทง้ั ไดป้ รบั กระบวนการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียน เกณฑก์ ารจบการศึกษาแต่ละระดับและ เอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อการ นำไปปฏบิ ัติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2551:2) 1.1 วิสยั ทศั น์ของหลักสตู ร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนทกุ คน ซ่งึ เปน็ กำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี ความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลเมืองโลก ยึดม่ัน ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ท่ีจำเปน็ ตอ่ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ บนพ้นื ฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ศักยภาพ 1.2 หลักการของหลักสูตร หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มหี ลักการทสี่ ำคัญดงั น้ี 1.เปน็ หลักสตู รทางการศกึ ษาเพ่อื ความเปน็ เอกภาพของชาติ มจี ุดหมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็ เปา้ หมายสำหรับพฒั นาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความเป็น ไทยควบคู่กบั ความเปน็ สากล 2.เป็นหลักสตู รการศึกษาเพ่อื ปวงชนท่ีประชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมี คุณภาพ 3.เป็นหลกั สตู รการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา ให้ สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถิน่ 4.เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่ีมโี ครงสรา้ งยืดหย่นุ ทงั้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้ 5.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั 6.เปน็ หลกั สตู รการศึกษาสำหรับการศกึ ษาในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลุมทกุ กลุม่ เปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ 1.3 จดุ หมายของหลกั สตู ร

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ม่งุ พัฒนาผเู้ รียนให้เปน็ คนดี มีปญั ญา มีความสุข มีศกั ยภาพ ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จึงกำหนดเปน็ จดุ หมายเพอื่ ให้เกิดกบั ผ้เู รยี น เมอื่ จบการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ดังน้ี 1.มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทพี่ ึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มวี นิ ยั และปฏบิ ัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นเองนบั ถอื ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.มีความรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทกั ษะชีวติ 3.มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกำลงั กาย 4.มีความรกั ชาติ มจี ิตสำนึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวติ และการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข 5.มีจติ สำนึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนุรักษแ์ ละพัฒนาสิง่ แวดล้อม มีจติ สาธารณะทม่ี ุ่งทำประโยชน์และสร้างสงิ่ ที่ดงี ามในสงั คม และอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสขุ 1.4 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มงุ่ ให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปญั หาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรบั หรอื ไม่รับข้อมลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลือกใชว้ ธิ ีการสอื่ สาร ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพอื่ การตดั สินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หา และมีการตดั สนิ ใจทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทเ่ี กิดขึน้ ต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง ประสงคท์ ่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม 1.5 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพอ่ื ให้ สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อน่ื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ 1) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2) ซื่อสตั ย์สจุ รติ 3) มวี ินัย 4) ใฝเ่ รยี นรู้ 5) อยอู่ ย่างพอเพียง 6) มงุ่ ม่ันในการทำงาน 7) รัก ความเป็นไทย 8) มีจิตสาธารณะ นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถกำหนดคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ิมเตมิ ให้สอดคล้องตามบรบิ ทและจุดเนน้ ของตนเอง 1.6 มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์3) วิทยาศาสตร์ 4) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5) สุขศึกษาและพลศึกษา 6) ศิลปะ 7) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8) ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนด มาตรฐานการเรียนร้เู ป็นเปา้ หมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรยี นรู้ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึง รู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้น มาตรฐานการเรียนรู้ยังเปน็ กลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้ จะสะท้อนใหท้ ราบว่าตอ้ งการอะไร จะสอนอยา่ งไร และประเมินอย่างไร รวมทัง้ เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกัน คุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่ มาตรฐานการเรียนรูก้ ำหนดเพยี งใด (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2551 : 4-8) 2. กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ 2.1 ทำไมต้องเรียนศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรม ทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่การพัฒนา สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ (กระทรวงศกึ ษาธิการ,2551 : 182)

2.2 เรยี นรอู้ ะไรในศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิด ความซาบซึ้งในคุณคา่ ของศลิ ปะ เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วย สาระสำคญั คือ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,2551 : 182-183) 1. ทัศนศลิ ป์ มีความรู้ความเขา้ ใจองค์ประกอบศิลป์ ทศั นธาตุ สรา้ งและนาเสนอผลงาน ทางทศั นศิลป์ จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้าง งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทยและสากล ช่ืนชม ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั 2.ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็น เก่ยี วกบั เสยี งดนตรี แสดงความรสู้ ึกท่ีมีต่อดนตรีในเชิงสุนทรยี ะ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณี วัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัตศิ าสตร์ 3.นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ ศัพท์เบื้องต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สรา้ งสรรค์การเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยกุ ตใ์ ชน้ าฏศลิ ป์ ในชวี ติ ประจาวนั เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง นาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทย และสากล 2.3 มาตรฐานการเรียนร้กู ล่มุ สาระทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ไว้ทั้งหมด 6 มาตรฐาน ประกอบด้วย สาระ ทัศนศิลป์ 2 มาตรฐาน สาระดนตรี 2 มาตรฐาน และสาระนาฏศิลป์ 2 มาตรฐาน ในสาระทัศนศิลป์กำหนด มาตรฐานไว้ 2 ขอ้ ดังน้ี (กระทรวงศึกษาธกิ าร,2551 : 18) มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่างาน ทัศนศลิ ป์ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ภูมิปัญญาไทยและสากล

2.4 ตวั ชว้ี ดั ตัวชว้ี ดั ในมาตรฐานการเรยี นรสู้ าระทัศนศิลป์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 มาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละข้อ มีการกำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางไว้เพื่อให้การ จัดการเรียนการสอนของสถานศกึ ษาทุกสถานศึกษาทั่วประเทศเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกันและในมาตรฐานการ เรียนรู้สาระทัศนศิลป์ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ได้มกี ารกำหนดตัวชี้วดั ไวด้ ังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ,2551 : 190-194) สาระท่ี 1 ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 1.1 สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปต์ ามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ณุ ค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอิสระ ชื่นชมและประยุกตใ์ ช้ใน ชีวติ ประจำวัน ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.2 1. อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบ • รปู แบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงาน และแนวคิดของงานทัศนศิลป์ทเี่ ลือกมา ทศั นศลิ ป์ 2. บรรยายเกีย่ วกบั ความเหมือนและความ • ความเหมอื นและความแตกต่างของ แตกตา่ งของรปู แบบการใช้วสั ดอุ ุปกรณใ์ น รูปแบบการใช้วสั ดุ อปุ กรณใ์ นงานทศั นศลิ ป์ งานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปนิ ของศลิ ปิน 3. วาดภาพดว้ ยเทคนคิ ทห่ี ลากหลาย ใน • เทคนคิ ในการวาดภาพสื่อความหมาย การสอื่ ความหมายและเรือ่ งราวตา่ ง ๆ 4. สรา้ งเกณฑ์ในการประเมนิ และวิจารณ์ • การประเมินและวจิ ารณ์งานทัศนศิลป์ งานทศั นศิลป์ 5. นำผลการวจิ ารณ์ไปปรับปรงุ แก้ไขและ • การพัฒนางานทัศนศลิ ป์ พฒั นางาน • การจัดทำแฟม้ สะสมงานทศั นศิลป์ 6. วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะ ของตัว • การวาดภาพถ่ายทอดบคุ ลกิ ลักษณะ ละคร ของตวั ละคร 7. บรรยายวิธกี ารใชง้ านทัศนศลิ ป์ ในการ • งานทศั นศิลป์ในการโฆษณา โฆษณาเพ่อื โนม้ นา้ วใจ และนำเสนอตัวอยา่ ง ประกอบ

มาตรฐาน ศ 1.2 เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างทศั นศลิ ป์ ประวตั ิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมเหน็ คุณคา่ งานทัศนศิลป์ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรมภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ัญญาไทย และสากล ม.2 1. ระบุ และบรรยายเก่ียวกับวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ที่ • วัฒนธรรมทส่ี ะทอ้ นในงานทัศนศิลป์ปจั จบุ นั สะท้อนถึงงานทศั นศลิ ป์ในปัจจบุ นั 2. บรรยายถงึ การเปลี่ยนแปลงของ งาน • งานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยคุ สมยั ทศั นศิลปข์ องไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถงึ แนวคดิ และเน้ือหาของงาน 3. เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงาน • การออกแบบงานทัศนศิลป์ในวฒั นธรรมไทย ทัศนศิลป์ท่ีมาจาก วัฒนธรรมไทยและสากล และสากล 2.5 คุณภาพผเู้ รียน คุณภาพผ้เู รยี นเมื่อจบช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 (ชว่ งชัน้ ท่ี 3 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-3) จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 รแู้ ละเข้าใจเร่ืองทัศนธาตแุ ละหลักการออกแบบและเทคนิคท่ีหลากหลายในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มติ ิ เพือ่ สอื่ ความหมายและเร่ืองราวต่าง ๆ ได้อย่างมคี ณุ ภาพ วิเคราะห์รูปแบบเน้ือหาและประเมิน คุณค่างานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิก ในการนำเสนอข้อมูลและมีความรู้ ทักษะที่จำเป็นด้านอาชีพท่ี เกี่ยวข้องกนั กบั งานทัศนศลิ ป์ ร้แู ละเขา้ ใจการเปลี่ยนแปลงและพฒั นาการของงานทศั นศิลปข์ องชาตแิ ละท้องถ่นิ แตล่ ะยคุ สมัย เห็น คณุ ค่างานทัศนศลิ ปท์ ีส่ ะทอ้ นวฒั นธรรมและสามารถเปรยี บเทยี บงานทัศนศิลป์ท่ีมาจากยุคสมัยและวัฒนธรรม ตา่ ง ๆ 3. เอกสารท่ีเกีย่ วข้องกับความรู้เรือ่ งศลิ ปะ 3.1 ความหมายของศลิ ปะ (Art) สกลธ์ ภงู่ ามดี (2545 : 54) ไดก้ ล่าววา่ ศิลปะคือ ส่ิงทสี่ ื่อทางความชอบหรือไมช่ อบของผู้ปฏบิ ตั กิ าร ทางศิลปกรรม ซง่ึ แสดงออกด้วยความชำนาญหรอื ไมช่ ำนาญ ทสี่ ะท้อนในรปู แบบของปฏิกริ ิยาการรับรู้โดย ผู้ชม วนิดา ขำเขยี ว (อา้ งถึงใน มยั ตะติยะ 2547 : 20) ไดก้ ลา่ วว่า ศิลปะ มาจากคำว่า “สปิ ปะ”เปน็ ภาษา บาลี ที่มคี วามหมายต่อไปนี้ 1.การแสดงออกซึ่งความคิดมนุษย์ 2.ส่อื ทใี่ ช้ตดิ ต่อกัน 3.การแสดงออก

4.การแสดงออก 5.การสรา้ งสรรค์ สุชาติ เถาทอง และคณะ (2545 : 54) ได้กล่าวว่า ศิลปะ หมายถึง ผลแหง่ ความคดิ สรา้ งสรรคข์ อง มนุษยท์ แ่ี สดงออกมาในรูปลกั ษณะต่างๆใหป้ รากฏซึ่งสุนทรียภาพ ความประทบั ใจ หรอื ความสะเทือนอารมณ์ ตามประสบการณ์ รสนยิ ม ทักษะของแตล่ ะบุคคล มยั ตะตยิ ะ (2547 : 22) ได้ให้ความหมายของ ศิลปะ ส่ิงที่มนษุ ย์สร้างสรรค์ขึ้นดว้ ยความประทบั ใจ และสะเทือนใจจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบดว้ ยหลกั เกณฑ์ 4 ข้อ ได้แก่ 1.ต้องเปน็ ส่ิงท่ีมนษุ ยส์ ร้าง ด้วยสติปญั ญาปกติ 2.มคี วามงาม ประณีต คุณคา่ และมปี ระโยชนต์ ่อมนษุ ย์ 3.มนุษย์และสงั คมยอมรับ 4.ไม่มี พษิ ภัยตอ่ มนษุ ย์และสังคมนน้ั ๆ จากข้อความดงั กล่าวข้างต้นพอสรุปไดว้ า่ ศลิ ปะ หมายถงึ การถ่ายทอดการแสดงของมนุษย์ทเ่ี กิด จากอารมณ์ ความประทบั ใจ สะเทอื นใจ จากธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ประสบการณแ์ ละทักษะของบคุ คล เป็นผลงานท่สี รา้ งสรรค์ 3.2 ความหมายของทศั นศิลป์ ชะลูด นิม่ เสมอ (2531 : 4) ไดก้ ล่าวถึงความหมาย ทัศนศิลป์ ว่า เป็นศิลปะที่รบั สัมผัสด้วยการเหน็ ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และสถาปตั ยกรรม สกลธ์ ภงู่ ามดี ( 2545 : 56) ไดก้ ล่าวถงึ ความหมาย ทศั นศิลป์ ว่าเป็นผลงานการสร้างสรรคท์ างศลิ ปะ เพ่ือสนองการรบั รู้ทางประสาทตา เช่น จติ รกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย งานส่ือผสม ศิลปะการจดั วาง และหัตถศิลป์ บุญเยีย่ ม แย้มเมือง (อา้ งถึงในมัย ตะติยะ 2547 : 54) ได้กลา่ วถงึ ความหมาย ทัศนศิลป์ วา่ เป็น ผลงานทางศลิ ปะทมี่ นุษยไ์ ดส้ รา้ งสรรคข์ นึ้ มา และมนุษย์สามารถทีจ่ ะรบั รู้ได้ด้วยการผ่านประสาทสัมผสั ทาง สายตาเป็นอนั ดับแรก แลว้ เกิดอารมณ์ความรู้สกึ ประการต่อมา เราจงึ เรยี กว่างานทัศนศิลป์ด้วยภาษาง่ายๆวา่ ศลิ ปะท่ีมองเห็น สุชาติ เถาทอง (อ้างถึงในมยั ตะตยิ ะ 2547 : 54) ได้กลา่ วถงึ ความหมาย ทศั นศลิ ป์ ไว้ว่า เป็นศลิ ปะ ท่ีมองเห็นและมีกระบวนการถา่ ยทอดท่ีเป็นลกั ษณะเฉพาะการเห็นเป็นกระบวนการทีเ่ กิดจากความรู้สกึ การ เลอื กสรร และการรบั รู้ มยั ตะติยะ (2547 : 22) ได้กลา่ วถงึ ความหมาย ทศั นศิลป์ ไวว้ า่ ศิลปะทส่ี ามารถสมั ผัสรับร้ทู าง สายตา ลักษณคะการมองเห็นรปู ทรงเป็นสามมติ ิ และอาจสัมผสั จับตอ้ งได้ คำนงึ ถึงคุณคา่ ทางความงาม ความ เชอื่ ทางศาสนาและสงั คมเป็นหลัก สนองมนุษย์ด้านจติ ใจ และอารมณไ์ ด้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตั ยกรรม จากที่กล่าวมาขอ้ งต้นสรปุ ไดว้ ่า ทศั นศลิ ป์ หมายถงึ ศิลปะท่ีมนษุ ย์สร้างขน้ึ จากความเชื่อทางศาสนา และสังคม สนองความต้องการด้านจิตใจ อารมณ์ และสัมผัสรับร้ไู ด้ทางสายตา ไดแ้ ก่ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม

3.3 ความหมายของทศั นธาตุ สาเริง ฮวดสิงโต (2551) ทัศนธาตุ หมายถงึ สว่ นประกอบต่างๆ ท่ีเราใชเ้ ขยี นทาให้เกิดภาพตา่ งๆ ข้ึน หลักการวาดภาพจะตอ้ งนาเอาทศั นธาตตุ ่างๆ เหล่าน้ีมาสร้างงานใหเ้ กิดความสมดุล โดยกาหนดใชเ้ ส้น แสง- เงา รปู ร่าง รูปทรง ชลูด นมิ่ เสมอ (2553) ทัศนธาตุ หมายถงึ สอ่ื สุนทรียภาพท่ีศิลปนิ นามาประกอบกนั ใหเ้ ป็นรูปทรง เพ่อื ส่ือความหมายตามแนวเรือ่ งหรือแนวคดิ ที่เป็นจุดหมายนั้น สุชาติ เถาทอง (2554) ทัศนธาตุ หมายถึง ส่วนสาคญั ท่ีเป็นโครงสร้างของงานทัศนศิลป์หรือที่ปรากฏ ในงานออกแบบหรือสิ่งท่ีเป็นสว่ นสาคัญในผลงานทัศนศิลป์ กล่าวโดยสรุปไดว้ ่า ทัศนธาตุ หมายถึง ปัจจัยท่ีทา ให้เกิดการเรียนรู้ให้เกิดความรู้สึก อารมณ์และสัมผัสทางตา ทาให้เห็นเป็นรูปร่างของสิ่งต่างๆ ประกอบด้วย จุด เส้น สี รูปรา่ ง รปู ทรง พ้นื ผิว บริเวณว่าง สุชาติ เถาทอง และคณะ (2545 : 6) ได้กลา่ วถึงความหมาย ทศั นธาตุ ไวว้ ่าสงิ่ ทเ่ี ป็นปัจจัยของการ เห็น หรือสง่ิ ทเี่ ปน็ สว่ นประกอบสำคญั ทีเ่ หน็ ได้เป็นเบ้ืองตน้ ในงานทศั นศลิ ป์อนั ประกอบด้วย จดุ เส้น รูปรา่ ง – รปู ทรง ท่ีวา่ ง นำ้ หนกั ออ่ น – แก่ พน้ื ผิวและสี จากข้อมลู ดังกลา่ วสรุปได้วา่ ทศั นธาตุ หมายถึง ปจั จยั ท่ีทำให้เกดิ การรับรู้ ให้ความร้สู ึกอารมณ์ และ สมั ผสั ได้ทางสายตา ทำใหเ้ ห็นรูปร่างของสง่ิ ต่างๆ ประกอบด้วย จดุ เสน้ รปู รา่ ง – รปู ทรง ท่วี า่ ง น้ำหนัก อ่อน – แก่ พนื้ ผวิ และสี 4. เอกสารทเ่ี กีย่ วข้องกับแบบทดสอบ 4.1 ความหมายของแบบทดสอบ ได้มผี ูใ้ หค้ วามหมายของแบบทดสอบ ไว้ มากมาย ดงั น้ี นภิ า เมธธาวชี ยั ( 2533, หนา้ 24 ) ได้กล่าวว่า แบบทดสอบ ( Test ) เปน็ ชุดของคำถาม หรือ ข้อสอบ ( Item) ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นสิ่งเร้า (Stimulus) ให้ผู้ถูกทดสอบแสดงพฤติกรรม อย่างใดอย่างหน่ึง เพือ่ ตอบสนอง (Response) ออกมาโดยผู้ทำการทดสอบสามารถสงั เกตไดห้ รือวัดได้ บุญชม ศรีสะอาด (2535, หน้า 50 ) ได้กล่าวว่า แบบทดสอบ คือชุดของคำถาม(Item) หรือ ชุดของงานใด ๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อนำไปเร้าหรือชักนำให้กลุ่มตัวอย่างตอบสนองออกมา การตอบอาจอยู่ในรูป ของการเขียนตอบ การพดู การปฏิบตั ิ ที่สามารถสงั เกตไดห้ รอื วดั ให้ปรมิ าณได้ สมนึก ภทั ทยิ ธนี (2537, หน้า 45 ) ไดก้ ลา่ ววา่ แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคำถาม (Items) หรอื งานชุดใด ๆ ทส่ี ร้างขน้ึ เพื่อนำไปเร้า หรือชักนำใหบ้ ุคคลแสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมาและ สามารถสังเกตหรือวัดได้ ภัทรา นิคมานนท์ (2538, หน้า 11 ) ได้กล่าวว่า แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคำถาม (Item) หรือกลุ่มของงานใด ๆ ที่สร้างขึ้นมาแล้วนำไปเร้าให้เด็กหรือผู้สอบแสดงพฤติกร รมตามที่ต้องการ ออกมา โดยผสู้ อนสามารถสงั เกตและวดั ได้ การตอบสนองโดยการเดา เชน่ ปดิ ตาเดก็ แลว้ ทายกระดาษสีต่าง ๆ เช่นนีไ้ มถ่ อื ว่าเป็นการสอบ

สมบูรณ์ ตันยะ (2538, หน้า 139) ได้กล่าวว่า แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของคำถามหรือกลุ่ม งานใด ๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำให้ผู้ถูกทดสอบ แสดงพฤติกรรมหรือปฏิกิริยาโต้ตอบ ย่างใดอย่างหนึ่งออกมา ใหส้ ามารถสังเกตได้ วัดได้ จากความหมายตามทีน่ ักวชิ าการได้กล่าวไว้ สามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ แบบทดสอบ (Test) หมายถงึ ชดุ ของคำถามทีต่ ้องการเร้าให้ผ้สู อบได้แสดงความรู้หรือพฤติกรรม ที่เป็นการบ่งบอกถึงความรู้หรือระดับสติปัญญา (Cognitive Domain) ในด้านความจำ ความเข้าใจ การ นำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า โดยรูปแบบในการตอบอาจจะเป็นการให้เลือด ตอบ เขียนตอบ การถามตอบสอบปากเปลา่ หรอื การใหน้ กั เรยี นได้ปฏบิ ัตงิ าน 4.2 ประเภทของแบบทดสอบ การแบ่งประเภทของแบบทดสอบ สามารถแบ่งได้หลายประเภท ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย หรือ การนำแบบทดสอบนั้นไปใช้ จงึ ขอสรปุ รูปแบบการแบง่ แบบทดสอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี แบ่งตามสมรรถภาพของการวดั แบ่งได้เปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดผลการเรียนรู้ ทางการเรียน แบง่ ออกเป็นประเภทได้ดังนี้ 2. แบบทดสอบวัดความถนัด (Attitude Test) เป็นแบบทดสอบที่ต้องการจะดูความถนัด ของผสู้ อบเพื่อนำไปใชใ้ นการทำนายพฤติกรรมในอนาคต 3. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคม (Personal Social Test) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัด บุคลกิ ภาพและการปรับตวั เขา้ กับสงั คมของบุคคล แบ่งตามรปู แบบของการถามตอบ แบ่งได้เปน็ 2 ประเภท 1. แบบทดสอบความเรียง (Essay Test) แบบทดสอบประเภทนี้จะกำหนดคำถามให้ผู้ตอบ จะต้องเขยี นคำตอบเปน็ ภาษาร้อยกรองโดยการเรยี บเรียงคำตอบเอง 2. แบบทดสอบแบบตอบสั้นและเลือกตอบ (Short Answer and Multiple Choice) ลกั ษณะของแบบทดสอบประเภทนีจ้ ะกำหนดคำตอบสั้น ๆ ให้ โดยท่วั ไปจะแบง่ เปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี 1. แบบให้ตอบสั้น เป็นลักษณะของแบบทดสอบที่ผู้ออกจะเว้นช่องว่างถ้าผู้สอบได้เพิ่มคำ หรอื ประโยชนใ์ ห้สมบรู ณ์เหมาะท่จี ะใชก้ ับวิชาคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์มากทีส่ ุด 2. แบบถูก ผิด เป็นแบบทดสอบที่ผู้เขียนกำหนดข้อความมาให้และให้ผู้ตอบทำ เคร่ืองหมายถูกหรอื ผดิ ตามความร้ทู ่มี อี ยูเ่ หมาะกบั วัดความจำ 3. แบบจับคู่ เป็นแบบทดสอบที่มีคอลัมภ์ทางซ้ายและทางขวาให้ คอลัมภ์ทางขวาควรมี จำนวนตัวเลือกมากกว่าคอลัมภท์ างซา้ ยประมาณ 3-4 ตัวเลือก 4. แบบเลอื กตอบ ลักษณะของข้อสอบท่ปี ระกอบดว้ ยข้อคำถาม และตัวเลอื กประมาณ 3 – 5 ตัวเลือกขึ้นอยู่กับวัยของผู้สอบและในตัวเลือกก็จะมีตัวถูกและตัวลวง โดยตัวที่ถูกที่สุดต้องมีเพียงตัวเดียว เทา่ นนั้

4.3 การสร้างแบบทดสอบ การสร้างแบบทดสอบ ผู้วิจัยต้องมีการวางแผนในการสร้างแบบทดสอบ โดยต้องดำเนินการ ตามลำดับขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1. กำหนดเนื้อหาและพฤติกรรมที่ต้องการวัด การกำหนดเนื้อหาและพฤติกรรมที่ต้องการวัดมา จากวัตถุประสงคก์ ารวิจัย ผู้วิจัยต้องมาวิเคราะห์ลกั ษณะของวัตถุประสงค์การวิจัย และมาตรฐานการเรียนรู้ ดา้ นพุทธิพสิ ัยท่ตี ้องการใหเ้ กิดขึ้นในตวั ผูเ้ รียน 2. เลือกชนิดและรูปแบบของแบบทดสอบ ให้สอดคล้องกับลักษณะคุณสมบัติของสิ่งที่ต้องการ วดั และตรงกบั ขอบเขตดา้ นเนอ้ื หาของการวจิ ัย 3. เขียน (ร่าง) ข้อคำถาม โดยคำนึงถึงความชัดเจนของคำชีแ้ จง ความชัดเจนของข้อคำถาม ลักษณะของตัวเลือก 4. จัดพมิ พแ์ ละทำรูปเล่ม โดยตอ้ งมีคำชแ้ี จงในการทดสอบใหช้ ัดเจน 5. ตรวจสอบคณุ ภาพ ของแบบทดสอบในด้านความเทีย่ งตรง ความเชือ่ มน่ั ความยากง่าย และ อำนาจจำแนก โดยการนำไปทดลองใชก้ บั กลุ่มทม่ี ีลักษณะเดยี วกับกลมุ่ ตัวอยา่ ง 6. ตรวจ ปรับปรุง และแก้ไขตามผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือและจัดพิมพ์แบบทดสอบที่ สมบรู ณ์แบบและเตรยี มแบบทดสอบให้เพยี งพอกบั จำนวนกล่มุ ตวั อย่าง 4.4 ข้อดีและข้อเสียของแบบทดสอบ ข้อดีของแบบทดสอบ 1. เกบ็ รวบรวมข้อมูลกับกลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีมีจำนวนมาก ๆ ได้ 2. ผู้ตอบมีเวลาในการที่จะนัง่ พิจารณาคำตอบได้ดีกวา่ และไม่รู้สึกเครียดเนือ่ งจากไม่ต้อง เผชญิ หน้ากับผวู้ ิจัย 3. วเิ คราะห์ขอ้ มูลไดง้ ่าย เพราะสามารถใช้คอมพวิ เตอร์ชว่ ยในการวิเคราะหข์ ้อมูลได้ ขอ้ สยี ของแบบทดสอบ 1. มักจะไดข้ อ้ มลู กลบั มานอ้ ย หากผตู้ อบไม่ให้ความสำคญั 2. ไม่สามารถท่ีจะใชเ้ ก็บกับกลุม่ ตวั อย่างที่อ่านหนังสอื ไม่ออก 5.พฤตกิ รรม 5.1 ความหมายของพฤติกรรม พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยาหรือกิจกรรมทุกชนิดของสิ่งมีชีวิตแม้ว่าจะสังเกตได้หรือไม่ก็ตาม เช่น คน สัตว์ มีนักพฤติกรรมศาสตร์บางคนได้ให้ความหมายไว้ว่า พฤติกรรมมีความหมายกว้างขาวง

ครอบคลุมไปถึงพฤติกรรมของสิ่งที่ไม่มีชีวิตด้วย เช่น การไหลของน้ำ คลื่นของน้ำทะเล กระแสลมที่พัด การปลิวของฝุ่นละออง การเดือดของนำ้ เป็นต้น สิ่งทีก่ ล่าวมาเปน็ การเคล่ือนไหวของสิง่ ไม่มีชีวิต แต่มีการ เปลี่ยนแปลงจากลักษณะหนึ่งไปยังอีกลักษณะหนึ่ง เลยถือว่าคล้าย ๆ กับเป็นปฏิกิริยาหรือเป็นกิจกรรมที่ ปรากฏออกมาจากสิ่งนั้นจึงนับว่าเป็นกิจกรรมด้วยการศึกษาเรื่องพฤติกรรมส่วนใหญ่จะมุ่งศึกษาเฉพาะ พฤติกรรมของคนส่วนพฤติกรรมของสัตว์กระทำเป็นบางครั้ง เพื่อนำมาเป็นส่วนประกอบให้เข้าใจใน พฤติกรรมของคนได้ดยี ิง่ ขึ้น 5.2 พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) พฤติกรรมภายนอก หมายถึง ปฏิกิริยาของบุคคลหรือกิจกรรมของบุคคลที่ปรากฏออกมาให้ บุคคลอื่นได้เห็น ทั้งทางวาจาและการกระทำท่าทางอื่นๆ ที่ปรากฏออกมาให้เห็นได้ พฤติกรรมที่ปร ากฏ ออกมาให้เห็นภายนอกนั้นเป็นสิ่งที่คนมองเห็นตลอดเวลา เป็นปฏิกิริยาที่คนเราได้แสดงพฤติกรรมออกมา ตลอดเวลา พฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมามีความสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าสังคมใดที่ประเมิน คุณภาพของคนว่าเป็นคนดี มีระเบียบวินัย สุภาพ ซื่อสัตย์ ทารุณ เป็นต้น ล้วนแต่ประเมินคุณภาพของ พฤตกิ รรมภายนอกท้ังสิ้น ถ้าไม่แสดงออกมาสังคมก็ไม่ทราบวา่ บุคคลนั้นเปน็ คนอยา่ งไร พฤติกรรมที่คนแสดง ออกมาให้เห็นภายนอกจึงนับว่าเปน็ องค์ประกอบที่สำคัญเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสังคม สังคม ชอบตดั สนิ คนด้วยพฤติกรรมภายนอก ดงั น้ันพฤติกรรมทีเ่ ราเห็นได้ทราบอาจไม่ใช่พฤติกรรมท่ีแท้จริงของเขา และไม่ใชต่ ัวตนท่แี ทจ้ รงิ คอื การกระทำไม่ตรงกับความคิดความรู้สึก บางคนอาจสวมหนา้ กากเขา้ หากนั หรือ แสดงไปตามบทบาทที่เขาเปน็ บางครง้ั จงึ กำหนดไม่ได้วา่ เป็นเร่ืองจริง เพราะไม่ไดส้ ะท้อนความเปน็ จริงออกมา ทง้ั หมด 5.3 พฤตกิ รรมภายใน (Covert Behavior) พฤติกรรมภายใน หมายถึง กิจกรรมภายในที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล ซึ่งสมองทำหน้าที่รวบรวม สะสมและสั่งการ ซึ่งเป็นผลจากการกระทำของระบบประสาทและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางด้านชีวเคมี ของร่างกาย พฤติกรรมภายในมีทั้งรูปธรรมและนามธรรม ที่เป็นรูปธรรมคนอื่นจะสังเกตเห็นไม่ได้แต่จะใช้ เครื่องมือทางการแพทย์ทดสอบได้ สัมผัสได้ เช่น การเต้นของหัวใจการหดและการขยายตัวของกล้าม เน้ือ การบีบของลำไส้ การสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงร่างกาย เป็นต้น ที่เป็นนามธรรมได้แก่ ความคิด ความรู้สึก เจตคติ ความเชื่อ ค่านิยม ซึ่งจะอยู่ในสมองของคน บุคคลภายนอกไม่สามรถจะมองเห็นได้ หรือสัมผัสได้ เพราะไม่มีตัวตน และจะทราบว่าเขาคิดอย่างไรก็ต่อเมื่อเขาแสดงออกมา เช่น การแสดงอาฆาตมาดร้าย ใช้คำพูดข่มขู่หรือระทำดังที่คิดไว้ พฤติกรรมภายในจะมีเหมือนกันหมดทุกวัยไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ เพศชาย เพศหญิง หรือต่างเชื้อชาติ ส่วนที่จะแตกต่างกันจะอยู่ที่จำนวน ปริมาณหรือคุณภาพเท่านั้น พฤติกรรม ภายในมีความสำคญั ตอ่ คน เป็นคุณสมบตั ทิ ีท่ ำใหค้ นเหนือกว่าสัตว์ คนมแี นวคิดทมี่ รี ะบบและคาดการณ์ในส่ิง ต่างๆ ในอนาคตได้ พฤติกรรมภายในของคนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมา บาง สถานการณ์กไ็ ม่อาจสอดคลอ้ งกันได้ เช่น บางคร้งั ไม่พอใจในการกระทำของผู้อ่ืนก็อาจจะทำเฉยเพราะไม่กล้า ต่อว่าหรือทำร้ายเขา เพราะถ้ากระทำอะไรลงไปอาจทำให้เกิดการทะเลาะวิวาทกันขึ้นได้ มนุษย์จะแสดง

พฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอกตั้งแต่เกดจนตาย พฤติกรรมที่แสดงออกมาอาจเป็นผลสืบ เนื่องมาจากการเลี้ยงดูและอบรมจากครอบครัวหรือในทางตรงกันข้ามอาจสืบเนื่องมา จากการขาดการเลี้ยงดู และอบรมจากครอบครัวหรือในทางตรงกันขา้ มอาจสืบเน่ืองมาจากการขาดการเลยี้ งดูอบรมจากครอบครัว จึง ทำให้มีปัญหาอยู่มาก ในแต่ละช่วงของชีวิตจะมีพัฒนาการปรับเปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปบ้าง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ต้องปรบั พฤติกรรมใหเ้ ข้ากับขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละวัฒนธรรมของชุมชนนน้ั ๆ รวมทง้ั การเปลย่ี นแปลงของสังคมในทุกๆด้าน เม่อื ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของคนจึงทำให้ ตนเปลี่ยนพฤติกรรมไดย้ าก เชน่ บางชมุ ชนมพี ฤติกรรมการรบั ประทานอาหารสุก ๆ ดบิ ๆ เปน็ ตน้ 6.งานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง 6.1 วิจัยในประเทศ กฤษฎ์ ร่งุ โรจน์ (2552:5) ได้ทำการศึกษาค้นคว้าวิจยั เรอื่ งการศกึ ษาการปรับพฤตกิ รรมความ รับผดิ ชอบในการทำงานของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/2 โดยการเสริมแรงทางบวก โรงเรียนอัสสมั ชญั ธนบรุ ี โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือปรบั พฤตกิ รรมความรับผดิ ชอบของนกั เรียนโดยการเสริมแรงทางบวก จากการ ศกึ ษาวิจัยเรื่องพบวา่ การให้แรงเสรมิ ทางบวกคือ การให้รางวลั และคาํ ชมเชย สามารถลดพฤติกรรมการขาด ความรับผิดชอบในการทํางานของนักเรียน ทง้ั 3 คนได้เปน็ อยา่ งดี เพราะนกั เรยี นมีความพึงพอใจที่ ่ได้รับ รางวลั และคาํ ชมเชยเป็นแรงเสริม จงึ ทําใหม้ คี วามกระตือรือร้นในการทาํ งานมากขึ้น เพื่อจะไดร้ างวัล หรอื คํา ชมเชย จงึ สามารถนําวธิ กี ารนไ้ี ปใชก้ บการปรับพฤติกรรมของนักเรยี นคนอน่ื ๆ ได้ต่อไป จนั ทรอ์ รณุ พนาลัย (2550 : บทคดั ย่อ) ได้ทำการศกึ ษาคน้ คว้าวจิ ยั เรือ่ งการพัฒนาพฤตกิ รรม จรยิ ธรรม นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นยางชมุ นอ้ ยพทิ ยาคม สำนกั เขตพ้นื ที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 1 โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือพัฒนาจริยธรรมนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ด้านความมีระเบียบวินยั ดา้ นความ รับผิดชอบ ดา้ นความซื่อสตั ย์ ดา้ นความอดทน และดา้ ยความขยันหมัน่ เพยี ร จากการศกึ ษาวิจัยพบว่า หลังจาก การศึกษาพฤติกรรมจากแบบสมั ภาษณ์ พบว่านักเรียนโรงเรียนยางชมุ นอ้ ยพิทยาคม มีพฤติกรรมดา้ นความมี ระเบยี บวินยั มากที่สดุ ด้านความอดทน ความซอ่ื สัตว์ ด้านความรบั ผิดชอบ และดา้ นความขยนั หมั่นเพียร ตามลำดับ นักเรียนมีพฤติกรรมก่อนและหลงั ต่างกันตามค่าสถิติ .05 ซ่ึงถอื เป็นพฤติกรรมท่ีดีขึ้นหลังจากการ เสรมิ แรง จรัส เนาวะเศษ (2547:62) ไดท้ ำการศกึ ษาวจิ ยั เรือ่ งการพัฒนาพฤติกรรมการมีวินยั ในตนเอง โดยใช้แบบฝึกความมีวนิ ยั ของนักเรยี นชว่ งชัน้ ท่ี 3 โรงเรียนชมุ ชนบัวคำ อำเภอโพธช์ิ ัย สำนักงานเขตพน้ื ท่ี การศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 3 มวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือเปรยี บเทยี บผลของการมวี ินัยในตนเองก่อนและหลังการใช้แบบฝึก ความมวี ินัย จากการศึกษาวิจยั พบว่า นกั เรียนไดร้ ับการฝึกความมีวนิ ยั และมพี ฤติกรรมที่เปลยี่ นไปในทางท่ดี ีขึ้น โดยมีการใหค้ ะแนน และกลา่ วชมเชย นักเรยี นมีความรบั ผิดชอบมากขึน้ และมีพฤตกิ รรมเปลีย่ นไปในทางท่ดี ขี น้ึ โดยมีคะแนนก่อนการฝกึ ความมีวินัยในตนเองโดยมคี ะแนนรวม 264.44 คะแนนคา่ เฉลย่ี 3.84 อย่างมีนยั สำคัญ

ทีร่ ะดบั .01 (T = 0) โดยจำแนกเปน็ รายละเอยี ดดังนี้ ดา้ นการตรงต่อเวลา ด้านการเข้าแถว ด้านการทำความ เคารพ ดา้ นความรบั ผดิ ชอบ นกั เรียนทีไ่ ดร้ บั การฝกึ มกี ารพัฒนาด้านพฤติกรรมไปในทางทีด่ ขี น้ึ นนั ทกาญจน์ รตั นวจิ ิตร (2554:47) ได้ทำการศึกษาคน้ ความวจิ ยั เรือ่ งการพฒั นาพฤตกิ รรม ความรบั ผดิ ชอบการเข้าห้องเรยี นของนักเรยี นโดยใชว้ ิธกี ารสอนแบบรว่ มแรงรว่ มใจและการเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ มวี ัตถุประสงค์เพ่ือสร้างระเบียบวนิ ยั ทดี่ ีให้แก่นักเรียน และใหน้ ักเรียนมคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองและ ผู้อ่นื จากการศกึ ษาวจิ ยั พบว่า ภายหลังจากการปรับพฤติกรรมความรบั ผิดชอบในการเรยี นรายวชิ า ส31101 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 จำนวน 38 คน โดยการสอนแบบรว่ มแรงร่วมใจและการเรยี นรู้อย่างมี ระบบ พบวา่ นักเรียนมคี วามรบั ผิดชอบในการเรียนและทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมายได้สำเร็จ ในทกุ ด้านดีขน้ึ ตามลำดบั และในสปั ดาหท์ ี่ 10 พบวา่ นกั เรียนทุกคนมคี วามรับผดิ ชอบดีทุกดา้ น มีบุคลิกภาพดขี น้ึ ผลการปรับ พฤติกรรมในคร้ังนที้ ำใหน้ ักเรียนทกุ คนสามารถทำแบบทดสอบหลงั หน่วยการเรยี นทุกหน่วยผา่ นตามเกณฑ์ที่ กำหนด สรุปนักเรยี นมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทดี่ ีข้ึน พณิ นาภา แสงสาคร (2550:59) ไดท้ ำการศึกษาค้นควา้ วิจยั เร่อื งการพฒั นาพฤติกรรมความ รับผดิ ชอบดา้ นการเรยี นบนฐานการฝกึ สติ แผนกวชิ าสงั คมศาสตร์ คณะบรหิ ารธุรกจิ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตพายพั โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือปรบั พฤตกิ รรมความ รบั ผดิ ชอบของผู้เรยี น จากการศกึ ษาวิจัยพบวา่ นักเรียนทีไ่ ด้รบั การอบรมตามโปรแกรมฝึกสถติ เิ พ่ือพฒั นา ความรบั ผดิ ชอบด้านการเรียน (MTPEAR) มคี า่ เฉลีย่ ของคะแนนสถิติและพฤติกรรมรบั ผิดชอบด้านการเรียน เม่อื วัดหลงั การอบรมทันทีสูงกวา่ ก่อนเขา้ รบั การอบรมอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ P<.01 นกั ศึกษาที่ ได้รบั การอบรมตามโรแกรมพุทธวถิ ี (MTPUBM) มีคา่ เฉล่ียของคะแนนสถติ ิเม่ือวดั หลงั การอบรมทันที สงู กว่า การเข้าการอบรม อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติท่ีระดับ P< .001 อย่างไรก็ตามพบว่าค่าเฉลยี่ ของคะแนนพฤตกิ รรม ความรบั ผดิ ชอบดา้ นการเรียนมีความแตกต่างกนั หลังจากได้รบั การอบรม และมพี ฤตกิ รรมท่เี ปล่ยี นไปในทางที่ ดขี นึ้ โดยการกระตุน้ 6.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ เครนดนั และบาร์คเลย์ (Cranstion and Barcley 1985 : 136) ไดใ้ หค้ วามเหน็ วา่ พฤติกรรมในการ เรียนของผู้ เรียนและเจตคติของผู้ เรียนทีมตี ่อการเรียน การสอน ผู้ สอน และสัมพันธภาพกับเพื่อน หมายถึง วิธีการเรยี นของผเู้ รียนทีตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ขณะน่ันเอง โคโนเลย์ (Conoley. Jane Close. 1977, Februry . p 37:5977- A ; อา้ งอิงจากพระสรวิชญ์ อภปิ ฺญฺ โญ) (ดร.นเิ วศน์ วงศส์ วุ รรณ. 2553 : 35) ได้ศกึ ษาผลการใช้การแสดงบทบาทสมมตใิ นการ เรียนการสอนระดบั ประถมศกึ ษา เพื่อวดั พฤติกรรมของเด็กเปน็ การพยายามเปล่ยี นพฤติกรรมทาง สังคม โดยการใชก้ ารแสดงละคร เขา้ ชว่ ยในการสอนทดลองกับเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 3,4 และ 5 จำนวน 142 คน แบง่ ออกเป็น 3 กล่มุ ผลการ วิเคราะห์ข้อมลู พบวา่ การใชก้ ารแสดงบทบาทสมมติ เข้าเปน็ องค์ประกอบในการเรียน มผี ลตอ่ การ

เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็กมากกว่ากลุม่ ควบคุม ซ่ึงมีความแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติ ทำให้เด็กมี สังคมมติ ดิ ีขนึ้ และเปลี่ยนจากการยึด ตนเองเปน็ ศนู ย์กลางไปสบู่ ุคคลอืน่ ๆ มากขึ้น ไดเนอร์ (Diener 1970 : 396-400) ได้ศกึ ษาความคล้ายคลงึ และ ความแตกตา่ งระหวา่ งนิสติ ทม่ี ี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงและต่ำ ตัวอยา่ งประชากรทีใช้เป็นนสิ ติ ชั้นปี ที 2, 3 และ 4 จาํ นวน 138 คน ผล การศกึ ษาพบว่า กลุม่ ตวั อย่างท้ังสองมพี ฤติกรรมในการเรยี นตา่ งกนั คือ นสิ ติ ทม่ี ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสูงมี พฤติกรรมในการเรยี นดกี วา่ นิสิตทีมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นต่ำ โพแพม และมวั ร์ (Popham andMoore 1960 : 552-554) ทีพบวา่ นสิ ัยทางการเรยี น ทัศนคติใน การเรียน และการปรบั ตัวทางดา้ นการเรยี น มคี วามสมั พันธ์กับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จงึ อาจกล่าวไดว้ ่า พฤติกรรมการเรียนและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนนั้นมีความสมั พนั ธ์กันอย่างมาก กลา่ วคือ ถา้ ผ้เู รยี นมีพฤติกรรมหรือนสิ ยั หรือวิธีการเรียนทีดี เชน่ มคี วามสนใจ ความเอาใจใส่ การฝกึ ฝน การมี ทศั นคติทดี ตี อ่ การเรียน ตอ่ ครู ตอ่ วิชา และ ตอ่ โรงเรยี น กจ็ ะทาํ ให้ผู้เรียนมีแนวโนม้ ทีจะประสบความสําเร็จใน การเรียนสูง และทําให้ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ด้วย

บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ การวิจัย ในการวิจัยในครัง้ นีผ้ ูว้ จิ ยั ได้ดำเนินการตามขน้ั ตอนดงั นี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2. ตวั แปรที่ศกึ ษา 3. ระยะเวลาในการทดลอง 4. เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัย 5. ขนั้ ตอนดำเนนิ การทดลอง 6. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 7. สถติ ทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวจิ ัย ประชากรทใี่ ช้ในการวิจยั ในครงั้ นี้ คือ นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนอำนาจเจริญ อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวดั อำนาจเจรญิ ท่ีกำลังเรยี นอยู่ใน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 1 ห้องเรียน ทง้ั หมดจำนวน 44 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียน อำนาจเจริญ อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ ที่กำลังเรียนอยู่ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non Probability Sampling) แบบเจาะจง (Purposive Samping) จำนวน 44 คน 2. ตวั แปรทศ่ี กึ ษา 2.1 ตัวแปรต้น ไดแ้ ก่ แบบทดสอบออนไลน์ ผา่ นเวบ็ ไซต์ https://www.habitscode.com 2.2 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ความสามารถในการทำแบบทดสอบออนไลน์ ผา่ นเว็บไซต์ https://www.habitscode.com ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 3. ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการทดลอง การทดลองในคร้ังนี้ดำเนนิ การทดลองในภาคเรยี นที่ 1 ปี การศึกษา 2563 ใชเ้ วลาในการดำเนิน กิจกรรมการเรียนการสอนตามเนื้อหา 3 คาบ แบง่ เป็น ทดสอบก่อนเรยี น 1 คาบ และทดสอบหลงั เรยี น 1 คาบ รวม 5 คาบ คาบละ 50 นาที

4. เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย 1. แบบทดสอบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ https://www.habitscode.com แบบทดสอบวเิ คราะห์นสิ ยั และพฤตกิ รรมระดับจิตใต้สำนึก ทีม่ ีจำนวน 60 ข้อ ในแตล่ ะข้อมี 3 ตวั เลือก 2. สอื่ ประกอบการทำแบบทดสอบ ไดแ้ ก่ 1. ผลการวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมผ้เู รยี นสเี หลือง 2. ผลการวเิ คราะห์พฤติกรรมผู้เรยี นสีส้ม 3. ผลการวิเคราะหพ์ ฤติกรรมผ้เู รียนสีแดง 4. ผลการวิเคราะห์พฤตกิ รรมผเู้ รียนสีเขยี ว 5. ผลการวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมผู้เรียนสีม่วง 6. ผลการวเิ คราะห์พฤตกิ รรมผูเ้ รยี นสนี ้ำเงิน 3. ผ่านเว็บไซต์ https://www.habitscode.com 5. ข้นั ตอนการดำเนนิ การทดลอง 5.1ใหน้ กั เรียนลงชื่อเข้าใช้ผา่ นเวป็ ไซต์ https://www.habitscode.com 5.2 กรอกเลือกจังหวดั และสมัครโดยใส่ขอ้ มลู ใหค้ รบถ้วน โดยเฉพาะรหัส 13 หลกั เพอ่ื การดผู ลทดสอบยอ้ นหลัง 5.3 เลอื กตอบคำถามแรกที่เข้ามาในใจ ตามความรู้สึกของเรา จากสง่ิ ท่ชี อบในปัจจบุ ันเทา่ น้ัน 5.4 มีคำถาม 60 ข้อ ในแตล่ ะขอ้ มี 3 จัวเลอื ก วดั ระดับพฤติกรรม จงเลือกข้อท่ีใกล้เคยี งกับเรามากท่สี ุด 5.5 ระบบประมวลผลเสรจ็ ให้ศกึ ษาอ่านขอ้ มูลการวเิ คราะห์ 6. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 6.1 ศึกษาเอกสารจากผลการแบบทดสอบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ https://www.habitscode.com 6.2 ผลการเรยี นปกี ารศกึ ษา 2562 6.3 สำรวจขอ้ มลู รายบคุ คล 7. สถติ ิที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล - SWOT analysis - ค่ารอ้ ยละ - PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ผูเ้ รยี นรายบุคคลในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ไดว้ เิ คราะห์ข้อมลู จากนักเรียน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/5 จำนวน 44 คน โดยวิเคราะหต์ ามประเดน็ การวเิ คราะหผ์ ้เู รียนรายบคุ คล 4 ดา้ นคือ 1) ดา้ นขอ้ มลู ภูมหิ ลังครอบครวั 2) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 3) ด้านความชอบ 4) ด้านพฤติกรรม ไดแ้ บง่ การ นำเสนอดังน้ี 4.1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ด้านภมู หิ ลงั ครอบครัวดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ด้านภูมหิ ลังครอบครัว ขอ้ มูล รายการ จำนวนนักเรยี น คน ร้อยละ 1.สถานภาพบดิ า-มารดา 1.1 อยู่ร่วมกัน 32 72.73 1.2 หยา่ ร้าง 11 25.00 1.3 แยกกันอยู่ 1 2.27 1.4 บิดา/มารดาถึงแก่กรรม 00 2. ทีพ่ กั ของนักเรยี น 2.1 บา้ นพกั ของตนเอง 43 97.73 2.2 พกั บ้านญาติ 00 2.3 หอพัก/บา้ นเชา่ 1 2.27 2.4 อน่ื ๆ 00 3. อาชีพผู้ปกครอง 3.1 เกษตรกรรม 18 40.91 3.2 รับราชการ 13 29.55 3.3 คา้ ขาย 6 13.64 3.4 ธรุ กิจสว่ นตัว 3 6.82 3.5 รับจา้ งทัว่ ไป 4 9.08 3.6 อ่ืน ๆ 00 จากตารางท่ี 1 พบว่า สถานภาพบดิ า-มารดา อันดบั ที่ 1อยรู่ ว่ มกัน ร้อยละ 72.73 อันดับท่ี 2 หย่าร้าง รอ้ ยละ 25.00 อันดับท่ี 3 แยกกันอยู่ รอ้ ยละ 2.27 ท่ีพักของนกั เรียน อันดับที่ 1 บา้ นพกั ของตนเอง ร้อยละ 97.73 อันดบั ท่ี 2 หอพกั /บ้านเช่า รอ้ ยละ 2.27 อันดับที่ 3 พกั บ้านญาตแิ ละอื่นๆ ร้อยละ 0 อาชพี ผปู้ กครอง อนั ดับท่ี 1 เกษตรกรรม ร้อยละ 40.91 อันดบั ที่ 2 รับราชการ ร้อยละ 29.55 อนั ดับที่ 3 คา้ ขาย รอ้ ยละ 13.64 อนั ดับท่ี 4 ธุรกิจส่วนตวั รอ้ ยละ6.82 อนั ดบั ท่ี 5 รับจ้างทว่ั ไป ร้อยละ 9.08

4.2 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ด้านผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ดังตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 ระดับผลการเรียนเฉลยี่ (GPA) ชน้ั /หอ้ ง ตำ่ กว่า1.00 1.00 – 1.99 2.00 – 2.99 3.00-4.00 จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ (คน) (คน) (คน) (คน) 2/5 1 2.27 3 6.82 14 31.82 26 59.09 สรุป 1 2.27 3 6.82 14 31.82 26 59.09 ตาราง แสดงจำนวนและร้อยละนักเรยี นตามการจำแนกผเู้ รียนตามกลุ่มความสามารถ ชน้ั จำนวน กล่มุ พิเศษ กลุ่มอ่อน กลมุ่ ปกติ กลมุ่ ปัญญาเลิศ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 2/5 44 1 2.27 3 6.82 14 31.82 26 59.09 สรุป 44 1 2.27 3 6.82 14 31.82 26 59.09 จากตารางที่ 2 พบวา่ ผลการเรียนเฉลย่ี (GPA) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2562 อันดบั ท่ี 1 กลุ่มปัญญาเลศิ ร้อยละ 59.09 อนั ดบั ท่ี 2 กลุ่มปกติ ร้อยละ 31.82 อันดับที่ 3 กลมุ่ ออ่ น ร้อยละ 6.82 อนั ดบั ที่ 4 กลุ่มพเิ ศษ ร้อยละ 2.27

การจำแนกผู้เรียนตามกลุ่ม 1. กลุ่มเกง่ (ปัญญาเลศิ ) หมายถงึ นกั เรียนท่ีมีผลการเรยี น ในระดับ มากกว่า 3.00 เป็นผูท้ มี่ รี า่ งกาย และจติ ใจทีส่ มบรู ณ์ ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด มีความรู้พน้ื ฐานพรอ้ มในการพัฒนาในการเรียนรายวิชาน้ี อยา่ ง เตม็ ความสามารถ มจี ำนวนมีจำนวน 26 คนรอ้ ยละ 59.09 ลำดับ ชอ่ื - สกุล เกรดเฉลย่ี 1 เดก็ หญงิ กวิสรา ภกั ดี 3.81 2 เด็กหญิงกัญญาวรี ์ พิมพวงค์ 3.39 3 เด็กชายกิตติพงศ์ จำนงการ 3.20 4 เดก็ หญงิ เขมกิ า ศรีไชย 3.53 5 เดก็ หญงิ จริยาวดี สมคิด 3.57 6 เด็กชายจิตติพัฒน์ ผ่งึ ผาย 3.12 7 เดก็ หญงิ ณฐั ชนนั ท์พร มง่ั มี 3.46 8 เด็กหญิงณัฐธิดา ธุระบญุ 3.85 9 เด็กหญงิ ธัญรตั น์ โคตรอาษา 3.48 10 เดก็ ชายนรากร แกว้ บุดดา 3.20 11 เดก็ หญิงปริชญา โคตะการ 3.21 12 เด็กหญงิ ปาลติ า หล่าบรรเทา 3.42 13 เดก็ หญิงพชิ ญรนิ ทร์ ลวดทอง 3.79 14 เด็กชายพีรพัฒน์ จารไุ ชย 3.01 15 เด็กหญงิ ศศิประภา กำมนั ตะคณุ 3.53 16 เดก็ หญงิ สายใยรัก สิงห์สา 3.29 17 เด็กหญงิ สนิ ทิ รา ฐติ ธิ นทรพั ย์ 3.10 18 เดก็ หญงิ สกุ ัญญา ปะสาวะโท 3.54 19 เดก็ หญิงสภุ าพร มีดี 3.23 20 เด็กหญิงสุรธิดา การณุ พนั ธ์ 3.48 21 เดก็ หญงิ อภิญญา ศรีสุข 3.71 22 เด็กหญงิ อลิสา ป้องขนั ธ์ 3.37 23 เด็กหญิงอารญาณยี ์ จันสว่าง 3.60 24 เดก็ หญงิ อารษิ า เครือดี 3.39 25 เดก็ หญงิ วิภาวี หอมจนั ทร์ 3.86 26 เด็กหญิงสุณิสา อรบุตร 3.07

แนวทางการจัดกิจกรรมเรยี นเรยี นการสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มเก่ง กลุม่ เกง่ : เปน็ กลุม่ ที่มคี วามพร้อมในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ แกนท่ีคอยชว่ ยเสรมิ เพอ่ื น ในการทำการทดลอง การทำใบงาน / ช้ินงาน / ผลงานโดยการกระจาย หลกี เลยี่ งการเกาะกลุ่มมากที่สดุ สามารถแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ได้ เป็นตัวอย่างและสามารถแนะนำหรืออธบิ ายเพื่อน ๆ ได้ 2. กล่มุ พอใช้ (กลุ่มปกต)ิ หมายถึง นกั เรยี นที่มผี ลการเรยี น ในระดบั 2.00 - 2.99 เปน็ ผู้ท่มี รี า่ งกาย และจิตใจ ทสี่ มบูรณ์ ตามเกณฑท์ ่กี ำหนด มคี วามรู้พืน้ ฐานในระดับหนึง่ พรอ้ มในการพฒั นาในการเรยี นรายวิชานี้ มี จำนวน 14 คน รอ้ ยละ 31.82 ลำดบั ช่ือ- สกุล เกรดเฉลี่ย 1 เดก็ ชายจักรเพชร เดชเสน 2.73 2 เดก็ หญิงณชั ชา ง้าวอ่อน 2.54 3 เด็กชายณัฏฐพล พงษเ์ ผา่ พงษ์ 2.55 4 เดก็ ชายณฐั ภมู ิ วงศ์พิมพ์ 2.98 5 เดก็ ชายธีร์กวนิ บวั คำนลิ 2.66 6 เด็กหญิงปพิชญา ชว่ งโชติ 2.73 7 เดก็ ชายปวรุตม์ เดชเสน 2.79 8 เด็กชายรงั สิมนั ฒ์ ใจเดด็ 2.75 9 เดก็ หญงิ ลลิตา มารัตน์ 2.64 10 เดก็ หญิงวลิตา อ่อนชาติ 2.61 11 เด็กชายวีรพฒั น์ นลิ ะภา 2.62 12 เดก็ หญงิ ศศธิ ร ไชโยธา 2.79 13 เด็กชายหิรญั ภพ วรวงษ์ 2.85 14 เด็กหญงิ กรภทั ร์ นารีบุตร 2.48 แนวทางการจัดกจิ กรรมเรยี นเรยี นการสอน สำหรบั นกั เรียนพอใช้ เปน็ กลมุ่ ทมี่ ีความพร้อมในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ บางเร่อื ง ในการทำการทดลองการทำใบงาน / ชิ้นงาน / ผลงาน ตอ้ งอาศยั คำอธบิ ายเพิม่ เติมเป็นบางครั้ง

3. กลมุ่ เน้นการพัฒนา (กลุ่มอ่อน) หมายถงึ นกั เรยี นท่ีมีผลการเรยี น ในระดับ 1.00 – 1.99 เป็นผู้ทมี่ ีรา่ งกาย และจติ ใจไม่สมบรู ณ์ตามเกณฑ์ทก่ี ำหนด มสี ภาพครอบครัวที่ไม่เอื้ออำนวยในการเรยี น มีความรพู้ น้ื ฐานไม่ถงึ เกณฑ์ท่กี ำหนด พร้อมในการพฒั นาในการเรียนรายวชิ านี้ มจี ำนวน 3 คน รอ้ ยละ 6.82 ลำดบั ชือ่ - สกุล เกรดเฉลีย่ 1 เด็กชายณฐั พงษ์ เช้ือทอง 1.75 2 เด็กชายเมธัส แสงนวล 1.75 3 เด็กหญงิ ศุภสุตา บตุ ตะ 1.76 แนวทางการจัดกิจกรรมเรยี นเรยี นการสอน สำหรับนกั เรียนกลมุ่ เน้นการพัฒนา กลมุ่ อ่อน : เป็นกลุ่มที่มีความพร้อมในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนค่อนข้างน้อย ในการทำการทดลอง การทำใบงาน / ชิน้ งาน / ผลงานตอ้ งอาศัยคำอธบิ าย เพิ่มเตมิ โดยเฉพาะกระบวนการท่ีต้องมกี าร แกโ้ จทยป์ ัญหา ผลงานหรอื ชิ้นงานของตนเอง จะไม่ค่อยละเอยี ด มจี ดุ บกพร่อง 4. กลุม่ พเิ ศษ หมายถงึ นกั เรียน หมายถงึ นกั เรยี นทม่ี ีผลการเรียน ในระดับต่ำกวา่ 1.00 เป็นผ้ทู ่มี ี รา่ งกาย และจติ ใจไมส่ มบรู ณ์ตามเกณฑ์ที่กำหนด มสี ภาพครอบครัวที่ไม่เอื้ออำนวยในการเรยี น มี ความรู้พื้นฐานไมถ่ ึงเกณฑ์ที่กำหนด พรอ้ มในการพัฒนาในการเรยี นรายวิชาน้ี มีจำนวน 1 คน ร้อย ละ 0.28 ลำดบั ช่อื - สกลุ เกรดเฉลีย่ 1 เด็กชายพรี พัฒน์ จารุไชย 0.28 แนวทางการจดั กิจกรรมเรียนเรยี นการสอน สำหรบั นักเรยี นกลุ่มพเิ ศษ หวั ใจสำคัญ คือ การฟ้ืนฟูให้เดก็ มคี วามมมนั่ ใจในการเรียนกลับคืนมาให้ได้ และการที่จะทำให้เขาคืนความ มนั่ ใจกลบั มา มนั ไม่ใช่แค่ “การพูดใหก้ ำลงั ใจ” หรอื “การปลอบโยน” การพดู ให้กำลงั ใจ ทำให้ผลการเรยี นของ เขาดขี ้ึนอยา่ งมีนัยสำคญั การแก้ปัญหา จะต้องเป็นกระบวนการทเี่ ป็นรูปธรรม ท่ีมีเปา้ หมายสำคญั คือ “การทำ ให้เขาสามารถคิดออก ตอบคำถาม และทำแบบฝึกหดั ให้ได้ดว้ ยตัวของเขาเองอยา่ งคลอ่ งแคลว่ และทำให้เขามี ความม่นั ใจกลับขนึ้ มา ควรเริ่มต้นด้วยการให้เขาทำแบบฝกึ หัดทีเ่ ขาพอจะทำได้ด้วยตัวของเขาเอง แต่ว่าทำได้ ชา้ ให้เขาทำไดเ้ รว็ ขน้ึ เรว็ ข้นึ อีก จับเวลาใหเ้ รว็ ขึ้น

4.2 ผลการวิเคราะหอ์ าชีพท่ีนกั เรยี นใฝฝ่ ันอยากเปน็ ดงั ตาราง ตาราง แสดงผลการวิเคราะหอ์ าชีพที่นกั เรียนใฝ่ฝันอยากเป็นมากท่ีสุดระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2/5 ลำดบั ที่ เปา้ หมายอาชีพ จำนวน(คน) ร้อยละ 1 นักธรุ กจิ หรอื เจา้ ของกิจการ 6 13.64 2 วิศวกร 1 2.27 3 หมอ 5 11.36 4 พยาบาล 2 4.55 5 อาชีพทใ่ี ชภ้ าษา 3 6.82 6 อาชีพท่ีใช้ศลิ ปะ 2 4.55 7 อาชีพทใ่ี ชค้ อมพวิ เตอร์หรอื เทคโนโลยี 2 4.55 8 ทหาร 3 6.82 9 นกั กฬี า 2 4.55 10 นักวิทยาศาสตร์ 1 2.27 11 พนกั งานอสิ ระ 17 38.62 จากตาราง พบวา่ อันดับท่ี 1 พนกั งานอสิ ระ ร้อยละ 38.62 อนั ดบั ท่ี 2 นักธุรกจิ หรือเจ้าของกจิ การ ร้อยละ 13.64 อนั ดับที่ 3 หมอ ร้อยละ 11.36 อนั ดับท่ี 4 อาชีพท่ีใชภ้ าษา และทหาร ร้อยละ 6.82 อนั ดับที่ 5 พยาบาล , อาชพี ที่ใช้ศลิ ปะ, อาชีพท่ีใช้คอมพิวเตอรห์ รอื เทคโนโลย,ี นักกีฬา รอ้ ยละ 4.55 อนั ดับท่ี 6 วศิ วกร ,นกั วทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 2.2

ตาราง แสดงการวเิ คราะห์ความต้องการให้ครูดูผลจากการจดั กระบวนการเรยี นรู้นักเรยี นระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/5 อนั ดบั ที่ การจัดการเรียนรู้ จำนวนนักเรยี น(คน) รอ้ ยละ 1 ผลการจัดการเรียนรูท้ างดา้ นพุทธพิ สิ ัย 10 22.73 2 (ดูจากคะแนนจากการสอบ) ผลการจดั การเรยี นรดู้ า้ นทักษะพิสัย (ดจู าก 30 68.17 3 งาน ปฏิบตั ดิ ูจากชิน้ งาน ทฤษฎีดจู ากรายงาน หรอื งานส่วนอื่นที่มอบหมายให้นกั เรียนทำ) 4 9.10 ผลการเรียนร้ดู ้านจติ พสิ ยั (ดูจากเจตคติท่ี เปลี่ยนแปลงทางด้านบวกของนักเรียน) จากตารางที่ 8 พบว่า อนั ดับท่ี 1 ผลการจัดการเรยี นรดู้ ้านทักษะพิสยั (ดจู ากงาน ปฏิบัติดจู ากชิ้นงาน ทฤษฎี ดจู ากรายงานหรืองานสว่ นอ่นื ทม่ี อบหมายใหน้ กั เรียนทำ) จำนวน 30 คน รอ้ ยละ 68.17 อันดบั ที่ 2 ผลการ จัดการเรียนร้ทู างด้านพทุ ธิพสิ ัย (ดจู ากคะแนนจากการสอบ) จำนวน 10 คน รอ้ ยละ 22.73 อันดีบที่ 3 ผล การเรียนรู้ด้านจติ พสิ ัย (ดจู ากเจตคติทเ่ี ปลีย่ นแปลงทางด้านบวกของนักเรยี น) จำนวน 4 คน รอ้ ยละ 9.10 ตาราง แสดงความรูส้ กึ ชอบตอ่ วิชาในแต่ละกลุ่มสาระ ของนกั เรียนระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/5 อันดับที่ กิจกรรม จำนวนนกั เรยี น ร้อยละ (คน) 1 ภาษาไทย 2 4.55 2 วทิ ยาศาสตร์ 8 18.18 3 คณิตศาสตร์ 5 11.36 4 การงาน 0 5 สุขศึกษา 11 0 6 ศิลปะ 5 25.00 7 ภาษาองั กฤษ 9 11.36 8 สงั คม 4 20.45 9.10

จากตาราง พบว่า วิชาทช่ี อบมากที่สดุ อนั ดบั ที่ 1 สขุ ศึกษา รอ้ ยละ 25.00 อนั ดบั ที่ 2 ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 20.45 อนั ดับที่ 3 วทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 18.18 อนั ดับท่ี 4 ศิลปะและคณิตศาสตร์ รอ้ ยละ 11.36 อันดับท่ี 5 สงั คม ร้อยละ 9.10 อนั ดับที่ 6 ภาษาไทย ร้อยละ 4.55 อนั ดบั ท่ี 7 การงาน ร้อยละ 0 ตาราง แสดงความรสู้ ึกไมช่ อบต่อวิชาในแตล่ ะกล่มุ สาระ ของนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/5 อนั ดบั ที่ กจิ กรรม จำนวนนกั เรียน รอ้ ยละ (คน) 1 ภาษาไทย 4 9.10 2 วทิ ยาศาสตร์ 0 0 3 คณิตศาสตร์ 20 45.45 4 การงาน 0 0 5 สุขศกึ ษา 1 2.27 6 ศิลปะ 0 0 7 ภาษาอังกฤษ 8 18.18 8 สงั คม 11 25.00 จากตาราง พบวา่ วชิ าที่ไมช่ อบมากทีส่ ุด อนั ดับที่ 1 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 45.45 อนั ดับท่ี 2 สงั คม ร้อยละ 25.00 อันดบั ที่ 3 ภาษาอังกฤษ ร้อยละ 18.18 อนั ดับท่ี 4 ภาษาไทย ร้อยละ 9.10 อนั ดับท่ี 5 วิทยาศาสตร์ , การงาน , ศลิ ปะ รอ้ ยละ 0

4.3 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลด้านพฤตกิ รรมจากการทำแบบทดสอบออนไลน์ โปรแกรมวิเคราะห์นิสยั Habitscan ผา่ นเว็บไซต์ https://www.habitscode.com ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/5 โรงเรียนอำนาจเจริญ ตารางที่ 1 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลด้านพฤติกรรม เลขท่ี ชอ่ื -สกุล โปรไฟล์นิสัยสีหลกั โปรไฟลน์ ิสัยสีรอง โปรไฟล์นิสยั สีสดุ ทา้ ย 1. เด็กหญงิ กวิสรา ภกั ดี เหลอื ง ส้ม เขียว 2. เดก็ หญงิ กญั ญาวรี ์ พมิ พวงค์ ม่วง เหลอื ง น้ำเงนิ 3. เดก็ ชายกิตติพงศ์ จานงการ นำ้ เงิน เขียว แดง 4. เดก็ หญิงเขมกิ า ศรไี ชย ม่วง แดง ส้ม 5. เด็กหญิงจรยิ าวดี สมคดิ ม่วง เขียว นำ้ เงนิ 6. เด็กชายจกั รเพชร เดชเสน นำ้ เงิน เขียว แดง 7. เดก็ ชายจิตตพิ ฒั น์ ผ่ึงผาย เหลือง นำ้ เงิน แดง 8. เดก็ หญิงณชั ชา งา้ วออ่ น เหลือง สม้ แดง 9. เดก็ ชายณฏั ฐพล พงษเ์ ผา่ พงษ์ นำ้ เงิน เหลือง แดง 10. เดก็ หญงิ ณฐั ชนนั ทพ์ ร ม่งั มี เขยี ว เหลอื ง ส้ม 11. เดก็ หญงิ ณฐั ธิดา ธรุ ะบญุ แดง เหลือง สม้ 12. เดก็ ชายณฐั พงษ์ เชือ้ ทอง เขยี ว สม้ ม่วง 13. เดก็ ชายณฐั ภมู ิ วงศพ์ มิ พ์ เขยี ว เหลอื ง แดง 14. เด็กหญิงธญั รตั น์ โคตรอาษา เหลือง สม้ แดง 15. เดก็ ชายธีรก์ วิน บวั คานิล เหลอื ง น้ำเงนิ สม้ 16. เดก็ ชายนรากร แกว้ บดุ ดา น้ำเงิน เขียว แดง 17. เด็กหญงิ ปพิชญา ช่วงโชติ มว่ ง เขียว น้ำเงนิ 18. เด็กหญิงปรชิ ญา โคตะการ เหลือง เขียว ม่วง 19. เด็กชายปวรุตม์ เดชเสน ส้ม น้ำเงิน เขียว 20. เดก็ หญงิ ปาลติ า หลา่ บรรเทา มว่ ง เหลอื ง เขียว 21. เด็กหญิงพชิ ญรนิ ทร์ ลวดทอง เขยี ว เหลอื ง นำ้ เงนิ 22. เดก็ ชายพีรพฒั น์ จารุไชย แดง มว่ ง เขยี ว 23. เดก็ ชายภมู ิพฒั น์ ไวยพนั ธ์ แดง เหลือง ส้ม 24. เด็กชายเมธัส แสงนวล เหลอื ง แดง น้ำเงิน 25. เดก็ ชายรงั สิมนั ฒ์ ใจเดด็ สม้ เหลือง มว่ ง 26. เดก็ หญิงลลิตา มารตั น์ เขยี ว แดง สม้ 27. เด็กหญิงวลิตา ออ่ นชาติ เหลือง สม้ นำ้ เงิน

เลขที่ ชอ่ื -สกุล โปรไฟล์นิสัยสีหลกั โปรไฟล์นิสยั สีรอง โปรไฟล์นิสยั สสี ดุ ท้าย 28. เดก็ ชายวีรพฒั น์ นิละภา นำ้ เงิน เหลอื ง ม่วง 29. เด็กหญงิ ศศิธร ไชโยธา เขียว แดง น้ำเงนิ 30. เด็กหญิงศศปิ ระภา กามนั ตะคณุ เหลือง สม้ เขียว 31. เดก็ หญิงศภุ สตุ า บตุ ตะ เขยี ว เหลอื ง แดง 32. เดก็ หญิงสายใยรกั สิงหส์ า ส้ม เหลอื ง แดง 33. เดก็ หญิงสนิ ิทรา ฐิตธิ นทรพั ย์ ส้ม เขียว แดง 34. เด็กหญิงสกุ ญั ญา ปะสาวะโท ส้ม แดง น้ำเงิน 35. เดก็ หญงิ สภุ าพร มดี ี เหลือง ส้ม มว่ ง 36. เดก็ หญิงสรุ ธิดา การุณพนั ธ์ เขียว เหลือง แดง 37. เด็กชายหิรญั ภพ วรวงษ์ เขียว ม่วง แดง 38. เด็กหญิงอภญิ ญา ศรสี ขุ แดง ม่วง เขยี ว 39. เดก็ หญิงอลสิ า ป้องขนั ธ์ น้ำเงิน เหลอื ง เขยี ว 40. เดก็ หญิงอารญาณีย์ จนั สวา่ ง เหลอื ง น้ำเงิน เขยี ว 41. เด็กหญงิ อารษิ า เครอื ดี นำ้ เงนิ เขียว เหลือง 42. เด็กหญิงวภิ าวี หอมจนั ทร์ น้ำเงิน เขียว แดง 43. เด็กหญิงกรภทั ร์ นารีบตุ ร เหลอื ง สม้ มว่ ง 44. เดก็ หญิงสณุ ิสา อรบตุ ร เหลอื ง เขยี ว แดง ตารางท่ี 1 แสดงผลสรุปข้อมูลดา้ นพฤติกรรม อันดับที่ สีท่บี ง่ บอกพฤตกิ รรม จำนวนนักเรียน(คน) ร้อยละ 13 29.55 1 สีเหลอื ง 9 20.45 8 18.48 2 สเี ขียว 5 11.36 5 11.36 3 สีน้ำเงิน 4 9.10 4 สสี ม้ 5 สมี ่วง 6 สีแดง สรุป สที ่ีได้อันดับที่ 1 สีเหลือง รอ้ ยละ 29.55 อนั ดับที่ 2 สีเขียว ร้อยละ 20.45 อันดับท่ี 3 สนี ้ำเงนิ รอ้ ย ละ 18.48 อนั ดบั ท่ี 4 สีส้ม รอ้ ยละ 11.36 อนั ดับท่ี 5 สีมว่ ง รอ้ ยละ 11.36 อนั ดับท่ี 6 สีแดง ร้อยละ 9.10

4.4 ผลการวิเคราะห์ผเู้ รียนตามแบบ SWOT Analysis ดังน้ี O จุดแข็ง โอกาส 1. ครูมเี ป้าหมายในการจดั การเรียนรูเ้ พ่ือ 1. โรงเรยี นมเี ปา้ หมายในการพัฒนา พฒั นาคณุ ภาพนกั เรียนโดยเฉพาะอย่างย่ิง คณุ ภาพของนักเรียน จึงมีการ การยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ สนับสนุนในทกุ ๆดา้ น สงู ข้ึน 2. นักเรยี นมีความสนใจในวชิ าสขุ ศกึ ษา SW อุปสรรค จดุ ออ่ น 1. จำนวนนกั เรยี น 4 คน 1. ผลการเรยี น 4 คน อยูใ่ นระดับ 2. นักเรยี นมคี วามสนใจในดา้ น ปานกลาง คอ่ นข้างตำ่ ทักษะพิสัยสงู แต่ทักษะการคิด 2. ผลการสอนนักเรยี นไมไ่ ดร้ ับ อยูใ่ นระดับต่ำ การฝกึ ทักษะการคิด T 4.5 ผลการวเิ คราะห์ PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach) ตาราง แสดงผลการวเิ คราะห์ PMIA ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ห้อง 5 ช้นั /ห้อง จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย จุดควรพฒั นา แนวทางพฒั นา 2/5 (Plus) (Minus) (Interesting (Approach) - นักเรียนมคี วาม - นกั เรียนขาดการ point) - สรา้ งชุดกิจกรรม สนใจ ตง้ั ใจเรยี น การคิด - พัฒนา การเรยี นรูเ้ พื่อ ในวิชาสขุ ศกึ ษา สง่ เสรมิ - ผลสัมฤทธ์ิของ กระบวนการคดิ ความสามารถ นกั เรียนอยู่ใน และผลสมั ฤทธิ์ ทางการคดิ ระดับปานกลาง ของนักเรยี น คอ่ นข้างตำ่ จากตารางท่ี 6 พบว่า จดุ เด่น คือนกั เรยี นมีความสนใจ ต้ังใจเรยี นในวิชาสุขศกึ ษา จดุ ด้อย คอื นักเรียนขาด การคดิ และ ผลสมั ฤทธิข์ องนักเรยี นอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ จดุ ทค่ี วรพัฒนา คือ พฒั นากระบวนการ คิดและผลสัมฤทธ์ขิ องนักเรียน แนวทางพฒั นา คือ สร้างชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสรมิ ความสามารถ ทางการคิด

ผลการวิเคราะห์พฤตกิ รรมจากการทำแบบทดสอบออนไลน์ บุคลกิ ภาพของนกั เรยี นท่ีได้สีเหลือง รอ้ ยละ 29.55 คุณเป็น ผเู้ สยี สละ | RELATOR สีเหลอื ง HBS คุณเปน็ นักสรา้ งสัมพนั ธ์แต่งกายชวนมองหา มสี ีสัน คณุ เปน็ มติ ร รา่ เรงิ เขา้ กบั คนงา่ ย มีความเปน็ กันเอง มี นำ้ ใจ ช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ ชอบสรา้ งสสี นั ความสนุกสนาน เขา้ กิจกรรมทางสังคม ยืดหยนุ่ เข้าใจความรสู้ กึ ของผ้อู นื่ รักสนกุ เบื่อง่าย คณุ อยากเป็นคนสำคญั คนสนิท อยูค่ นเดียวในโลกไม่ได้ ไม่ชอบการที่คนอืน่ ไม่รบั ฟงั รวมถึง การผดิ ใจ และการตดั ความสัมพันธ์ บคุ ลิกภาพของนักเรยี นที่ได้สีเขียว ร้อยละ 20.45 บุคลิกภาพของคุณ คณุ เป็น ผจู้ รงิ ใจรกั สงบ | SINCERE สีเขยี ว คุณเปน็ นกั สนบั สนุน เงียบ สำรวม เข้าใจยาก เย็นชา หนา้ ตากังวลสงสัย จงรักภักดี ชวี ติ เรยี บงา่ ย ระมัดระวงั สงบเสงี่ยม ไม่ชอบการเปล่ียนแปลง คนมีความสามารถดา้ นการปฏิบัติงาน รบั ผดิ ชอบหนา้ ท่ี เป็นผู้ตามทด่ี ี เนน้ ลงมือทำทจ่ี ับต้องไดจ้ ริงมากกว่าพูดชอบอยเู่ บื้องหลงั ทำตามข้ันตอนไดจ้ ัดเกบ็ ส่งิ ของและสะสมข้อมูล บุคลกิ ภาพของนกั เรียนทไี่ ดส้ นี ้ำเงิน ร้อยละ 18.48 บคุ ลิกภาพของคุณ คณุ เปน็ ผมู้ ีแบบแผน | TRADITION สีนำ้ เงนิ คณุ เป็นนักจัดการ ชอบสังเกต มแี บบแผน ขยัน ระมัดระวัง หนักแนน่ ชดั เจน มตี รรกะเหตผุ ล ทุ่มเท อุทิศตน วางตวั และควบคุมตนเองได้ดี มรี ะบบในชวี ิต ไม่ชอบความผิดพลาด เปน็ คนรอบคอบสมำ่ เสมอ มีขน้ั ตอน จดจำตวั เลขและรายละเอยี ดได้ดี จดั ระบบข้อมูลและสรปุ ผล วางแผนวจิ ารณ์ประเมนิ มีความนา่ เช่อื ถือ บคุ ลิกภาพของนักเรยี นทีไ่ ด้สสี ม้ ร้อยละ 11.36 บุคลกิ ภาพของคณุ คณุ เปน็ ผู้รกั สุนทรีย์ | AESTHETE สสี ้ม คณุ เปน็ นักแสดง มีบคุ ลิกภาพดี การแต่งกายดี ภาพลกั ษณ์น่าตาตอ้ งเด่นชดั มเี สน่ห์ โดดเดน่ ในเรอ่ื งการแสดง คุณชอบเขา้ สังคมในงานที่ตอ้ งพบเจอคนมาก ๆ ชอบการมีชีวิตแบบอิสระ ไมม่ ีการผูกมดั ชอบงานทใ่ี ช้ ความคิดสรา้ งสรรค์ มีไอเดียบรรเจดิ อยากสรา้ งผลงานให้เปน็ ที่ยอมรบั ไม่ชอบการถูกปฏเิ สธ

บคุ ลกิ ภาพของนกั เรยี นทไ่ี ดส้ มี ว่ ง รอ้ ยละ 11.36 คณุ เป็น ผทู้ รงปญั ญา | EDUCATOR สีมว่ ง คณุ เปน็ นักการศึกษา ทรงภูมิรู้ ไม่เหมือนใคร เป็นตวั ของตัวเอง คุณยังเกง่ ในการคิด เปน็ คนชา่ งสงสัย มกั มี ความใฝร่ ู้ รลู้ ึก ร้รู อบ จะรู้สกึ ปลอดภยั เมอ่ื มีความรูท้ ่ีเพียงพอ คุณค้นหาความร้เู ป็นงานอดเิ รก ในตัวของคุณมี ความเป็นเหตเุ ปน็ ผล เป็นคนทีม่ องการณ์ไกล รักการพฒั นาตนเองมากๆ แต่ถา้ มองจากภายนอกคุณจะเป็นคน ทเ่ี งียบ สำรวม เก็บตวั ไม่คอ่ ยสงุ สงิ กบั ผคู้ น และไม่ต้องการให้ใครมาก้าวก่ายในชวี ติ ในใจมักมีคำถามอยู่ ตลอดเวลา ไมเ่ ชอ่ื อะไรงา่ ยๆ แตต่ ้องมีข้อเท็จจรงิ ท่ยี ืนยนั มาพิสจู น์กันได้เท่านั้น มีการรกั ษามาตรฐานและ คุณภาพใหเ้ ปน็ ไปตามระบบ หากใครจะมาชักจูง โน้มนา้ ว ให้เชื่อถือคลอ้ ยตามต้องมีข้อมลู พสิ จู นไ์ ดจ้ ริงๆถึง ยอมฟงั มกั สนใจทฤษฎีมากกวา่ การลงมือทำ มักคดิ เชิงระบบ อีกทั้งเปน็ นกั สะสม และคุณไมช่ อบการปดิ ก้ัน ความรู้ จะต้องรเู้ รอ่ื งท่ีสนใจให้ถงึ ทีส่ ุด บคุ ลิกภาพของนักเรยี นท่ีได้สแี ดง ร้อยละ 9.10 บคุ ลกิ ภาพของคณุ คณุ เปน็ ผกู้ ลา้ หาญ | COMMANDER สแี ดง คุณเปน็ นกั บัญชาการ เปน็ คนฉลาดเฉลยี ว หัวไว มุ่งเปน็ หนง่ึ พดู เก่ง ฉลาด ชัดเจน จรงิ จงั ทมุ่ เท ยตุ ธิ รรม รกั ความกา้ วหน้าและมีเหตุผล อยากรู้อยากลอง มีความมุทะลุ ไม่ชอบอยู่น่ิง หุนหันพลันแล่น ชอบเสีย่ งทา้ ทาย มักใช้ชวี ติ คดิ เอง อสิ ระ โดดเด่นในการเปน็ ผู้นำ มคี วามกล้าหาญสามารถปกป้องผู้อื่นได้ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ รักสนกุ รา่ เรงิ ชอบแข่งขัน เป็นคนตรงไปตรงมา กลา้ ตัดสนิ ใจ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เปน็ อย่างดี มักริเรมิ่ แต่ ไม่ติดตามผล ชอบแสดงพลงั อำนาจ เบอ่ื พิธีรตี รอง กล้าถกเถียง มคี วามบา้ งาน และผลกั ดันตวั เอง และคณุ มี ความคิดสร้างสรรค์ ชอบในไอเดียใหม่ๆ ไมช่ อบการถกู ควบคมุ แทรกแซงสทิ ธิตำแหนง่ ไม่ไดร้ บั ความเคารพ ยนิ ยอม

บทท่ี 5 5.1 สรุปผลการวจิ ัย การวจิ ัยเร่ืองการวิเคราะหผ์ ้เู รียนรายบคุ คล ด้วยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan) สรปุ ผลการวจิ ัย ไดด้ ังน้ี 1. สถานภาพของครอบครัวนักเรยี นนกั เรยี นสว่ นใหญ่ อยรู่ ่วมกนั รอ้ ยละ 72.73 2. ลักษณะที่พักของนกั เรยี นส่วนใหญ่ พกั บ้านตนเอง ร้อยละ 97.73 3. ฐานะของครอบครวั ของนักเรยี นส่วนใหญ่ ปานกลาง ร้อยละ 88.64 4. วิชาทน่ี ักเรียนสว่ นใหญช่ อบคอื สขุ ศึกษา ร้อยละ 25.00 5. วิชาทน่ี ักเรียนส่วนใหญ่ควรพัฒนาคือ คณิตศาสตร์ ร้อยละ 45.45 6. ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น (GPA) เฉลี่ย ระหว่าง 3.00-4.00 ร้อยละ 59.09 เฉลย่ี ระหว่าง 2.00-2.99 รอ้ ยละ 31.82 เฉลี่ย ระหวา่ ง 1.00-1.99 รอ้ ยละ 6.82 7. นักเรียนส่วนใหญต่ ้องการใหค้ รูดผู ลการเรียนร้จู ากการจัดกระบวนการ ทักษะพิสัย ร้อยละ 68.17 8. นักเรยี นส่วนใหญ่มีเปา้ หมายอาชพี คือ พนกั งานอิสระ ร้อยละ 38.62 9. นักเรยี นสว่ นใหญ่ประเมินพฤติกรรมตนเองได้สเี หลอื ง ร้อยละ 29.55 5.2 การอภปิ รายผลการวจิ ัย จากการวิจัยเรื่องการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ด้วยแบบทดสอบออนไลน์ (Habitscan) สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โดยทดลองกับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2/5 โรงเรียนอำนาจเจริญ สังกัดสำนักงาน เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 29 มีขอ้ ค้นพบที่สามารถอภปิ รายได้ดงั นี้ จากผลการเก็บรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะหข์ ้อมลู ในทกุ ด้านของนักเรียน พบว่า นกั เรียนแต่ละคนมี ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทแี่ ตกต่างกนั ซงึ่ เกิดจากระดับของความสามารถในการเรียนรทู้ ี่แตกต่างกนั ดังน้ี

1. นกั เรยี นในกลมุ่ เกง่ ร้อยละ 59.09 เปน็ นักเรยี นทมี่ ที ักษะความสามารถในเรยี นรู้ดา้ นความจำ ความเขา้ ใจ การคดิ วิเคราะห์ คำนวณ และการประยกุ ตง์ าน ไดเ้ ร็วกว่ากล่มุ อื่น ๆ ซง่ึ ที่มีความพร้อมในการ จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ แกนตวั อย่างที่คอยช่วยเสรมิ เพ่ือนในการทำการทดลอง การทำใบงาน / ชิ้นงาน / ผลงาน สามารถแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดข้ึนได้ และสามารถแนะนำหรอื อธบิ ายเพื่อน ๆ ได้ 2.นกั เรียนในกลมุ่ ปานกลาง ร้อยละ 31.82 เป็นนักเรียนทม่ี ีทกั ษะความสามารถในเรียนรู้ ดา้ น ความจำ ความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์ คำนวณ ในระดับปานกลาง มคี วามพร้อมในการจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนเปน็ บางเรอ่ื งในการทำการทดลองการทำใบงาน / ชิ้นงาน / ผลงาน ซ่งึ ตอ้ งอาศยั คำอธิบาย แนะนำเพิ่มเติมจากครูเปน็ บางครงั้ 3.นกั เรียนกลุม่ ออ่ น ร้อยละ 6.82 เปน็ นกั เรยี นท่ีมีความพรอ้ มในการเรียนการสอนค่อนขา้ งนอ้ ย เน่ืองจากมรี ะดบั ความสามารถทกั ษะในการทำความเข้าใจในเนื้อหา การคิดวเิ คราะห์ การคำนวณ ไดช้ า้ มาก ส่งผลให้การทดลองทำใบงาน / ช้ินงาน / ผลงานตอ้ งอาศยั คำอธิบายเพมิ่ เติม โดยเฉพาะกระบวนการทต่ี ้องมี การแก้โจทยป์ ญั หาตา่ ง ๆ จะมจี ดุ บกพรอ่ งมาก 4.นกั เรียนกลุ่มพเิ ศษ ร้อยละ 2.27 เปน็ นักเรยี นที่มีปัญหาด้านการเรียนเป็นผูท้ ่มี รี ่างกาย และจติ ใจ ไม่สมบูรณ์ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด มีสภาพครอบครวั ทไี่ ม่เอ้ืออำนวยในการเรยี น มีความรู้พน้ื ฐานไม่ถึงเกณฑ์ที่ กำหนด ไม่พร้อมในการพัฒนาในการเรียนรายวชิ าต่างๆ นกั เรยี นในกลมุ่ ทั้ง 4 กลมุ่ นี้ควรไดร้ บั การศึกษารายกรณี เพ่ือการพฒั นาและแก้ไขปัญหาทางการ ด้านการเรียน หรือแก้ไขด้านพฤติกรรมการเรียนร้ดู ้านตา่ ง ๆ หรือการจัดการเรยี นรรู้ ายบคุ คลให้เหมาะสม เพือ่ ใหบ้ รรลจุ ดุ หมายในหลักสูตร 5.3 ข้อเสนอแนะงานวจิ ัย 1. ครคู วรมีการวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมลู ก่อนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ใู หไ้ ดข้ ้อมลู สำคัญในการ วางแผน ควรหาโอกาสได้พบปะ พดู คุย กับนักเรยี น จะได้ขอ้ มลู ที่มรี ายละเอียดรายบุคคลมากขึ้น 2. จัดทำ เครอ่ื งมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลไว้ก่อนล่วงหน้า และเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในสัปดาห์แรก ช่วั โมงแรก กอ่ นการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้ครบทุกคน เพื่อการจดั กลุ่มได้ครบถ้วนตามหลักการวิเคราะหผ์ เู้ รียน 3. ครูควรสอบถามวธิ กี ารเรียนรูท้ ่นี กั เรียนตอ้ งการเรียนเพ่ือใชใ้ นการออกแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ ห้ ตามความต้องการของนกั เรยี น

เอกสารอ้างอิง ช่ือผ้วู จิ ัย นายพงศศ์ ริ ิ อ่อนคำ การวจิ ัยเรือ่ ง การพัฒนาชดุ การสอนแบบศนู ยก์ ารเรยี นเรอ่ื งภาพ พิมพ์แกะไมส้ ีน้ำ สำหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 สาขาวิชาทศั นศลิ ปศึกษา มหาวิทยาลัย ศิลปากร ปีการศึกษา 2555