ระเบียบว่าดว้ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรหู้ ลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนทองพูลอทุ ิศ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปีการศึกษา 2565
คานา ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคาสั่งให้โรงเรียนทองพูลอุทิศ ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ใช้แนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน กล่าวคือ เป็นหลักสูตรที่กาหนด มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยในมาตรฐานการเรยี นรไู้ ด้ระบุส่ิงท่ีผู้เรียน พึงรู้และปฏิบตั ิได้เมือ่ สาเร็จการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ทุกภาคส่วนที่เกีย่ วข้องในการจัดการศกึ ษาได้ยึดเป็น แนวทางในการดาเนินการพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ดังกล่าว ด้วยการ ดาเนินการบริหารจัดการอิงมาตรฐาน การจัดการเรียนรู้ที่มีมาตรฐานเป็นเป้าหมาย การวัดและประเมินผล ทสี่ ะทอ้ นมาตรฐาน เพื่อใหก้ ระบวนการนาหลกั สูตรไปสู่การปฏิบตั ิเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นโรงเรียนทองพูลอุทิศ จึงได้ดาเนินการจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ให้สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามทส่ี ถานศกึ ษาได้พัฒนาขึน้ เพื่อ ทราบถึงคุณภาพและมาตรฐานของผูเ้ รยี น โรงเรียนทองพูลอุทิศ ขอขอบคุณคณะครูโรงเรียนทองพูลอุทิศและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทา ระเบยี บประเมินผลตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาเร็จลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ
ตอนที่ 1 ระเบียบโรงเรยี นทองพูลอทุ ิศ ว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ระเบียบโรงเรยี นทองพูลอุทิศ วา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยที่โรงเรียนทองพูลอุทิศ ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคาสง่ั กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293 / 2551 ลงวันท่ี 11 กรกฎาคม 2551 เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงเป็นการสมควรที่กาหนดระเบียบ โรงเรียนทองพูลอุทิศ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพอื่ ให้สามารถดาเนินการไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และสอดคล้องกับคาส่งั ดังกลา่ ว ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และวชิ าการ สถานศกึ ษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน จึงวางระเบียบไวด้ ังตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนทองพูลอุทิศ” ว่าด้วยการวัดและประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 พ.ศ. 2553 ขอ้ 2 ระเบียบนี้ใหใ้ ช้บังคบั ตัง้ แตป่ กี ารศกึ ษา 2553 เปน็ ต้นไป ขอ้ 3 ใหย้ กเลกิ ระเบยี บ ข้อบังคบั ที่ขดั แยง้ กับระเบียบน้ี ให้ใช้ระเบียบนแี้ ทน ข้อ 4 ระเบียบน้ีให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรโรงเรียนวัดราษฎรบารงุ พ.ศ. 2553 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ขอ้ 5 ใหผ้ ู้บริหารสถานศึกษารักษาการให้เปน็ ไปตามระเบียบนี้
หมวด 1 หลกั การวดั และประเมนิ ผลการเรียน ขอ้ 6 การประเมนิ ผลการเรียน ให้เปน็ ไปตามหลักการต่อไปน้ี 6.1 สถานศึกษาเปน็ ผรู้ ับผิดชอบการวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี นโดยเปิด โอกาสใหผ้ ู้ท่ีเกย่ี วขอ้ งมสี ่วนร่วม 6.2 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาผู้เรยี นและตัดสินผลการ เรยี น 6.3 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 6.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ต้อง ดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทั้งด้าน พุทธิพิสัย จิตพิสยั และทักษะพิสัย เหมาะสมกับสิง่ ที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรยี น โดย ตง้ั อยู่บนพืน้ ฐานของความเทย่ี งตรง ยุติธรรมและเช่ือถือได้ 6.5 การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกต พฤติกรรมการเรียนรู้ การปฏิบัติกิจกรรม ผลงานของนักเรียน การทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนรู้ ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับและรปู แบบการศึกษา 6.6 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ของ ผูเ้ รยี น หมวด 2 วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ข้อ 7 สถานศึกษาต้องดาเนินการวัดและประเมินผลให้ครบองค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน คือ กลุ่มสาระ การเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ข้อ 8 การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ เป็นการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิดที่กาหนดอยู่ในตัวชี้วัดในหลักสูตร ซึ่งจะนาไปสู่การสรุปผลการ เรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้ โดยดาเนนิ การดงั นี้ 8.1 ผู้สอนแจ้งตัวช้วี ดั วิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี น เกณฑก์ ารผ่านตัวชว้ี ัด และเกณฑ์ข้ันต่า ของการผา่ นรายวิชาก่อนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผเู้ รียนในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8.2 จัดให้มีการประเมินผลก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานและความรอบรู้ ในเร่ืองท่ีจะเรยี น 8.3 จัดให้มีการประเมินผลระหว่างเรียน เพื่อศึกษาผลการเรียน เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม และ นาคะแนนจากการวดั ผล ไปรวมกบั การวดั ผลปลายปี
8.4 จดั ให้มีการประเมินผลปลายปี เพอ่ื ตรวจสอบผลการเรียนโดยให้ครอบคลมุ มาตรฐานการ เรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ ที่สาคญั ท่คี รูผ้สู อนกาหนด 8.5 การตัดสินผลการเรียนใหน้ าผลการประเมินระหว่างเรียนรวมกับผลการประเมินปลายปี ตามสัดส่วนคะแนนทโ่ี รงเรยี นกาหนด แลว้ ให้ระดับผลการเรยี น ข้อ 9 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี นสอ่ื ความของผู้เรียน ให้ครปู ระจาวชิ า ดาเนินการ วัดผลตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนด 9.1 ครผู ู้สอนแจง้ ตวั ชี้วัดประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน 9.2 ครูผู้สอนประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของผู้เรียนในความ รับผิดชอบตามวธิ ีการและเครื่องมือท่ีกาหนด รวมสรปุ ผลการประเมินรายปี/รายภาครายงานให้คณะกรรมการ เมือ่ ส้นิ ปีการศกึ ษา/สน้ิ ภาคเรียน ในกรณีท่ไี ม่ผ่านให้แก้ไขปรบั ปรุง 9.3 คณะกรรมการประเมินของสถานศึกษา สรปุ และใหร้ ะดับผลการประเมิน ข้อ 10 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียนใหค้ รูผู้สอนดาเนินการวัดผลไปพร้อมกบั การประเมินผลระดับชน้ั เรียนตามเกณฑ์สถานศกึ ษากาหนด 10.1 ครูผสู้ อนแจง้ ตวั ช้วี ัดการประเมนิ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 10.2 ครูผู้สอนประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ผู้เรียน ในความรับผิดชอบตามวิธกี ารและ เครื่องมือที่กาหนด รวมสรุปผลการประเมินรายปี/รายภาค รายงานให้คณะกรรมการ เมื่อสิ้นปีการศึกษา/ส้ิน ภาคเรยี น ในกรณีทีไ่ มผ่ ่านให้แกไ้ ขปรับปรุง 10.3 คณะกรรมการประเมินของสถานศึกษา สรปุ และใหร้ ะดบั ผลการประเมนิ ข้อ 11 การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นให้ประเมินเป็นรายปี โดยสถานศกึ ษาเป็นผู้กาหนดแนว ทางการประเมนิ ผรู้ ับผดิ ชอบกิจกรรมดาเนนิ การประเมินตามตวั ชี้วดั 11.1 ครูผู้สอนแจ้งวตั ถุประสงค์ของการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 11.2 ครูผู้สอนประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามวิธีการและเครื่องมือที่กาหนด รวมสรุปผลการประเมินรายปี รายงานให้ผู้รับผิดชอบ เมื่อสิ้นปีการศึกษา/ สิ้นภาคเรียน ในกรณีที่ไม่ผ่านให้ แก้ไขปรับปรุง 11.3 คณะกรรมการประเมินของสถานศกึ ษา สรปุ และให้ระดับผลการประเมิน
หมวด 3 เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ข้อ 12 การตดั สินผลการเรียน 12.1 ผเู้ รียนตอ้ งมเี วลาเรียนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนตลอดปกี ารศกึ ษา 12.2 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านทุกตัวชี้วัด โดยแต่ละตัวชี้วัดผ่านไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 หรือมีคุณภาพในระดบั 1 ข้นึ ไป 12.3 ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ บั การตดั สนิ ผลการเรียนทกุ รายวชิ า 12.4 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีผลการประเมินระดับผ่าน ขน้ึ ไป 12.5 ผู้เรยี นตอ้ งได้รับการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีผลการประเมนิ ระดับผา่ นขึ้นไป 12.6 ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น มีผลการประเมินระดบั ผ่าน ข้อ 13 การให้ระดบั ผลการเรียน 13.1 การตัดสินผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใช้ระบบตัวเลขแสดงระดับผล การเรยี นในแตล่ ะกลมุ่ สาระ เป็น 8 ระดบั ดังน้ี ระดับผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนนเปน็ รอ้ ยละ 4 ดีเยย่ี ม 80 - 100 3.5 ดีมาก 75 - 79 3 ดี 70 - 74 2.5 ค่อนข้างดี 65 - 69 2 ปานกลาง 60 - 64 1.5 พอใช้ 55 - 59 1 50 - 54 0 ผา่ นเกณฑ์ข้ันตา่ 0 - 49 ต่ากว่าเกณฑ์ 13.2 การประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน เป็นผ่านและไม่ผา่ นถ้ากรณีทผี่ า่ น กาหนด เกณฑ์การตดั สินเปน็ ดีเย่ยี ม ดี และผา่ น ดเี ยี่ยม หมายถงึ มผี ลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ท่มี ีคะแนนต้ังแตร่ อ้ ยละ 70 ข้ึนไป ดี หมายถงึ มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียนที่ มคี ะแนนระหว่างรอ้ ยละ 60 – 69 ผ่าน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มี คะแนนระหวา่ งรอ้ ยละ 50 – 59
ไมผ่ ่าน หมายถึง มผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนที่ มคี ะแนนตา่ กว่าร้อยละ 50 13.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทุกคุณลักษณะเพื่อการเลื่อนช้ัน และจบการศึกษาเป็นผ่านและไม่ผ่าน ถ้ากรณีที่ผ่านกาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น ดีเยี่ยม ดี และผ่าน และ ความหมายของแตล่ ะระดบั ดงั นี้ ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 5 - 8 คุณลกั ษณะ และไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดไดผ้ ลการประเมินต่ากวา่ ระดบั ดี ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการ ยอมรบั ของสงั คม โดยพจิ ารณาจาก 1. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดเี ย่ียม จานวน 1 - 4 คณุ ลักษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดบั ดี หรือ 2. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินต่ากวา่ ระดบั ผา่ น หรือ 3. ได้ผลการประเมนิ ระดับดี จานวน 5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใดได้ผล การประเมินต่ากวา่ ระดับผ่าน ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา กาหนดโดยพจิ ารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด ได้ผลการประเมินตา่ กว่าระดบั ผา่ น หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี จานวน 4 คณุ ลักษณะ และไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดได้ผลการ ประเมินต่ากวา่ ระดบั ผา่ น ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่ สถานศึกษากาหนด โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดบั ไมผ่ ่าน ตง้ั แต่ 1 คุณลักษณะ 13.4 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมการ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและผลงานของผ้เู รียนตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนดและใหผ้ ลการประเมินเปน็ ผา่ น และไมผ่ ่าน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี 3 ลักษณะ คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน ซ่ึงประกอบดว้ ย (1) กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และผู้บาเพ็ญประโยชน์ โดยผเู้ รียนเลือกอย่างใดอย่าง หนงึ่ 1 กจิ กรรม (2) กจิ กรรมชุมนุมหรือชมรมอีก 1 กิจกรรม (3) กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ให้ ใช้ตัวอกั ษรแสดงผลการประเมนิ ดงั นี้ “ผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และมผี ลงาน มีคะแนนมากกว่ารอ้ ยละ 50 “มผ” หมายถงึ ผเู้ รียนมเี วลาเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ปฏิบัติ กจิ กรรมและมผี ลงาน มีคะแนนนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ในกรณีท่ผี ู้เรียนไดผ้ ลการเรยี น “มผ” สถานศึกษา ตอ้ งจัดซ่อม
เสริมให้ผู้เรียนทากิจกรรมในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไมไ่ ด้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปล่ียนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ ต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลย พนิ จิ ของสถานศึกษา ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทา กจิ กรรมในสว่ นท่ีผู้เรียนไม่ได้เข้ารว่ มหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน จงึ เปลีย่ นผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งน้ี ต้องดาเนินการให้เสรจ็ สน้ิ ภายในปีการศกึ ษาน้ัน ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวสิ ยั ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษา ข้อ 14 การเล่ือนช้นั สถานศึกษาอนุมัติให้ผู้เรียนได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อสิ้นปีการศึกษามีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ผู้เรยี นมเี วลาเรยี นตลอดปีการศึกษาไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นท้งั หมด 2) ผู้เรยี นมผี ลการประเมินผา่ นทุกรายวิชาพนื้ ฐานและเพิ่มเตมิ 3) ผ้เู รียนมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ระดบั ผ่านเปน็ ตน้ ไป 4) ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคร์ ะดับผ่านเป็นตน้ ไป 5) ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นระดบั ผ่าน ทั้งนี้ ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถพัฒนา และสอนซอ่ มเสรมิ ได้ ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาที่จะผ่อนผันใหเ้ ลอ่ื นชั้นได้ อนึ่ง ในกรณีที่ผู้เรียนมีหลักฐานการเรียนรู้ที่แสดงว่ามีความสามารถดีเลิศ สถานศึกษา อาจให้โอกาสผู้เรียนเลื่อนชั้นกลางปีการศึกษา โดยสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วย ฝ่ายวิชาการของสถานศึกษาและผู้แทนของเขตพื้นที่การศึกษาหรือต้นสังกัด ประเมินผู้เรียนและตรวจสอบ คณุ สมบัตใิ ห้ครบถ้วนตามเงือ่ นไขทั้ง 3 ประการ ต่อไปนี้ 1) มีผลการเรียนในปีการศกึ ษาท่ผี ่านมาและมีผลการเรยี นระหวา่ งปที กี่ าลังศกึ ษาอยใู่ น เกณฑ์ดีเยย่ี ม 2) มีวุฒิภาวะเหมาะสมท่จี ะเรียนในชัน้ ทีส่ ูงข้ึน 3) ผ่านการประเมินผลความรู้ความสามารถทุกรายวิชาของชั้นปีที่เรียนปัจจุบัน และ ความรู้ความสามารถทุกรายวิชาในภาคเรียนแรกของชั้นปีทีจ่ ะเลื่อนขึ้นการอนุมตั ิให้เลือ่ นช้ันกลางปีการศกึ ษา ไปเรียนชั้นสูงขึ้นได้ 1 ระดับชั้นนี้ ต้องได้รับการยินยอมจากผู้เรียนและผู้ปกครอง และต้องดาเนินการให้เสร็จ สิ้นกอ่ นเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ของปกี ารศึกษานั้น สาหรบั ในกรณีทพี่ บว่ามผี ้เู รยี นกลมุ่ พิเศษประเภทตา่ ง ๆ มีปญั หา ในการเรียนรใู้ ห้สถานศกึ ษาดาเนินงานรว่ มกับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา / ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษจังหวัด/ศูนย์ การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา/หน่วยงานต้นสังกัด โรงเรียนเฉพาะความพิการ หาแนวทางการแก้ไขและ พฒั นา ขอ้ 15 การสอนซ่อมเสริม การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการหรือเจตคติ/คุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดสถานศึกษาต้องจัดสอนซ่อมเสริม เป็นกรณพี เิ ศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพอ่ื พัฒนาใหผ้ ู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ข้อ 16 การเรียนซา้ ชั้น ผู้เรียนที่ไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนชั้น สถานศึกษาควรให้เรียนซ ้าชั้น ทั้งนส้ี ถานศกึ ษาอาจใชด้ ลุ ยพนิ ิจให้เล่ือนชั้นได้ หากพิจารณาว่าผูเ้ รยี นมีคณุ สมบัตขิ อ้ ใดขอ้ หน่ึง ดังตอ่ ไปนี้ 1) มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 อันเนื่องจากสาเหตุจาเป็นหรือเหตุสุดวิสัย แต่มีคุณสมบัติ ตามเกณฑก์ ารเลือ่ นชนั้ ในขอ้ อน่ื ๆ ครบถ้วน 2) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามท่ี สถานศกึ ษากาหนดในแต่ละรายวชิ า แตเ่ ห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศกึ ษานน้ั และมีคุณสมบัติตาม เกณฑ์การเล่อื นชนั้ ในขอ้ อนื่ ๆ ครบถ้วน 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมอยู่ในระดับผ่านก่อนที่จะให้ผู้เรียนเรียนซ้าชั้น สถานศึกษา ควรแจ้งให้ผู้ปกครอง และผเู้ รียนทราบเหตุผลของการเรียนซ้าชน้ั ข้อ 17 เกณฑ์การจบ 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานกาหนด 2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กาหนด 3) ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด 5) ผเู้ รยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนและมผี ลการประเมนิ ผ่าน เกณฑก์ ารประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด หมวด 4 การรายงานผลการเรียน ข้อ 18 ให้รายงานผลการเรียน เพื่อแจ้งผลการเรียนรู้และพัฒนาการในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นความก้าวหน้า ของผ้เู รยี นใหผ้ ้เู รียน ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ผู้ปกครอง และผูเ้ กย่ี วขอ้ งทราบอยา่ งน้อยภาคเรียนละ 1 ครัง้ เพ่ือใช้ เป็นข้อมูลในการปรับปรุง แก้ไขและส่งเสริมพัฒนาการเรียนของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จอย่ างมี ประสิทธภิ าพ รวมทัง้ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู สาหรับออกเอกสารหลักฐานการศึกษา การตรวจสอบ ยนื ยัน รับรองผลการ เรียนและวฒุ ิการศกึ ษาของผู้เรยี น
หมวด 5 เอกสารหลักฐานการศกึ ษา ข้อ 19 ใหม้ ีการจดั หาและจดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ดังต่อไปนี้ 19.1 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ประกอบดว้ ย 1) ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) 2) ประกาศนียบัตร (ปพ.2) 3) แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศึกษา (ปพ.3) 19.2 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทส่ี ถานศึกษากาหนด เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาหนด เป็นเอกสารที่จัดทาขึ้นเพื่อบันทึก พฒั นาการ ผลการเรยี นรู้ และขอ้ มลู สาคัญเกี่ยวกบั ผู้เรยี น ดงั น้ี 1) แบบบันทึกผลการเรยี นประจารายวิชา 2) แบบรายงานประจาตัวนักเรียน 3) ระเบียนสะสม 4) ใบรบั รองผลการเรียน หมวด 6 การเทยี บโอนผลการเรยี น ข้อ 20 ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้จากสถานศึกษาได้ในกรณีต่างๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การละทิ้งการศึกษาและขอกลับเข้ารับ การศกึ ษาต่อ การศกึ ษาจากต่างประเทศและขอเข้าศกึ ษาตอ่ ในประเทศ ข้อ 21 ให้สามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถาน ประกอบการ สถาบนั ทางศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การศกึ ษาโดยครอบครัว ข้อ 22 การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรกหรือต้นภาคเรียนแรก ทั้งนี้ นักเรียนที่ไดร้ บั การเทียบโอนผลการเรียนต้องศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ในสถานศกึ ษาท่ีรับเทียบโอนอยา่ งน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับการเทยี บโอนควรกาหนดรายวชิ า จานวนหนว่ ยกติ ที่จะรับเทียบโอนตามความ เหมาะสม ขอ้ 23 การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนินการไดด้ งั น้ี 23.1 พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา ซึง่ จะใหข้ อ้ มูลทแ่ี สดงความรู้ ความสามารถของนักเรียน ในดา้ นตา่ งๆ 23.2 พจิ ารณาจากความรู้ ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง การทดสอบ การสัมภาษณ์ เป็นตน้ 23.3 พิจารณาจากความสามารถ และการปฏบิ ตั ิจริง
23.4 ในกรณมี ีเหตุผลจาเป็นระหว่างเรียน นักเรยี นสามารถแจ้งความจานงขอไปศกึ ษาบางรายวิชา ในสถานศึกษา/สถานประกอบการอื่น แล้วนามาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา ข้อ 24 การเทียบโอนผลการเรียนใหด้ าเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทยี บโอน จานวนไม่น้อยกว่า 3 คน แตไ่ ม่ควรเกิน 5 คน การเทียบโอนใหด้ าเนนิ การดงั น้ี 24.1 กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้นารายวิชา หรือหน่วยกิตที่มี ตัวชี้วัด/มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง/จุดประสงค์/เนื้อหาที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มา เทียบโอนผลการเรียนและพจิ ารณาใหร้ ะดบั ผลการเรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู รท่รี ับเทียบโอน 24.2 กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มกี ารประเมนิ ดว้ ยเครอ่ื งมือทหี่ ลากหลายและใหร้ ะดบั ผลใหส้ อดคล้องกบั หลกั สูตรที่รับเทยี บโอน 24.3 กรณีการเทียบโอนที่นักเรียนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้ดาเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาสาหรับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ แลกเปลย่ี น ทั้งนี้วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และ แนว ปฏบิ ัตทิ ี่เกี่ยวขอ้ ง ประกาศ ณ วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ลงช่อื ) (นายสมชาย สังข์สี) ผู้อานวยการโรงเรยี นทองพูลอทุ ิศ
ตอนท่ี 2 คาอธบิ ายระเบยี บโรงเรียนทองพลู อุทศิ วา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
คาอธบิ ายระเบยี บโรงเรียนทองพลู อทุ ิศ วา่ ดว้ ยการประเมินผลการเรียน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติได้กาหนดให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ขึ้นใช้เองพร้อมทั้งวธิ ีการวดั และประเมนิ ผล โรงเรียนทองพูลอุทิศจงึ ไดจ้ ดั ทาระเบียบการประเมินผลการเรียน ให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ผู้สอนปฏิบัติตามระเบียบการประเมินผล เป็นไปโดยถกู ตอ้ ง และเป็นแนวเดยี วกัน จึงไดจ้ ัดทาคาอธบิ าย ดังน้ี หลกั การและเหตผุ ล หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการจัดทาหลักสูตรการศึกษาข้ัน พื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจน การศึกษาต่อและให้สถานศึกษาจัดทาสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระต่าง ๆ โดยให้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพ ปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และ ประสบการณ์ได้ ดังนั้นวิธีการวัดและประเมินผล ต้องให้สอดคล้องและครอบคลุมจุดหมายของหลักสูตรเพื่อ พฒั นาผเู้ รยี นให้บรรลุจดุ ม่งุ หมายดังกล่าว ระเบียบโรงเรียนทองพูลอุทิศว่าด้วยการประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตร สถานศึกษา พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ใช้ในปีการศึกษา 2553 เป็นต้นไปและกาหนดผู้รักษาการไว้ใน ข้อ 5 ดังน้ี ข้อ 5 ใหผ้ ้บู รหิ ารสถานศกึ ษารักษาการให้เป็นไปตามระเบยี บนี้ ในกรณีที่เกิดปัญหาในการปฏิบัติตามระเบียบน้ี ให้ผู้ที่มีข้อสงสัยเสนอปัญหาไปยังคณะ กรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของโรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม เพื่อจะได้นาเสนอผู้บริหารสถานศึกษาเป็น ผูช้ ี้ชัดต่อไป หมวด 1 หลักการวัดและประเมินผลการเรยี น ขอ้ 6 การประเมินผลการเรยี น ใหเ้ ป็นไปตามหลักการตอ่ ไปน้ี 6.1 สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิด โอกาสให้ผทู้ ่เี กี่ยวข้องมีส่วนร่วม เช่น ผเู้ รียน ครูผสู้ อน ผปู้ กครองนกั เรยี น คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 6.2 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาผู้เรียน กล่าวคือ เป็น การประเมินผลย่อย (Formative Assessment) ที่ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ตลอดการเรียนการสอน โดยมิใช่ ใช้แตก่ ารทดสอบระหวา่ งเรียนเปน็ ระยะ ๆ อยา่ งเดียวแต่เป็นการที่ครูเกบ็ ข้อมลู การเรียนรู้ของผู้เรียนอย่าง ไม่ เป็นทางการดว้ ย ขณะท่ีให้ผเู้ รยี นทาภาระงานตามที่กาหนด ครูสังเกต ซักถามจดบันทกึ แลว้ วเิ คราะห์ข้อมูลว่า
ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้หรือไม่ จะตอ้ งใหผ้ ู้เรียนปรับปรุงอะไร หรือผูส้ อนปรับปรุงอะไร เพือ่ ให้เกิดความก้าวหน้า ในการเรียนรู้ตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด การประเมินระหว่างเรียนดาเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น การให้ ข้อแนะนาข้อสังเกตในการนาเสนอผลงาน การพูดคุยระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล การ สัมภาษณ์ ตลอดจนการวิเคราะห์ผลการสอบ เป็นต้น ส่วนการตัดสินผลการเรียนเป็นการประเมินสรุปผลการ เรียนรู้ (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเมื่อจบหน่วยการเรยี นรู้เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น ตามตวั ชี้วดั และยังใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการเปรยี บเทียบกบั การประเมนิ ก่อนเรียน ทาใหท้ ราบพฒั นาการของผเู้ รียน การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ยังเป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนตอนปลายปี/ปลายภาคอีกด้วยการ ประเมินสรุปผลการเรียนรูใ้ ช้วิธีการและเครื่องมือประเมินได้อย่างหลากหลาย ซึ่งเน้นการวัดและประเมินแบบ อิงเกณฑ์ (Criterion-Referenced Assessment) เป็นการวัดและประเมินผล การเรียนรู้เพื่อนาเสนอผลการ ตัดสนิ ความสามารถหรือผลสมั ฤทธ์ขิ องผเู้ รยี น โดยเปรียบเทยี บกับเกณฑท์ ่กี าหนดขึน้ 6.3 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กาหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 6.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้ต้อง ดาเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทั้งด้าน พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย เหมาะสมกับสิ่งท่ีต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้นของผู้เรียน โดย ตงั้ อยู่บนพ้ืนฐานของความเทยี่ งตรง ยุติธรรมและเช่ือถือได้ 6.5 การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกต พฤตกิ รรมการเรียนรู้ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ผลงานของนักเรียน การทดสอบ ควบคไู่ ปในกระบวนการเรยี นรู้ ตาม ความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั และรูปแบบการศึกษา 6.6 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียน หมวด 2 วธิ ีการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ข้อ 7 สถานศกึ ษาต้องดาเนนิ การวดั และประเมนิ ผลใหค้ รบองคป์ ระกอบทง้ั 4 ดา้ น คือ กลุ่ม สาระ การเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนา ผเู้ รยี น ข้อ 8 การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ เป็นการประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ทักษะการคิดที่กาหนดอยู่ในตัวชี้วัดในหลักสูตร ซึ่งจะนาไปสู่การสรุปผล การเรยี นรู้ของผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรียนรู้ โดยดาเนนิ การดังนี้ 8.1 ผู้สอนแจ้งตวั ช้วี ัด วิธีการประเมนิ ผลการเรยี น เกณฑก์ ารผ่านตัวช้วี ัด และเกณฑ์ข้ันต่า ของการผา่ นรายวิชาก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนในแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8.2 จัดให้มีการประเมินผลก่อนเรียน เพ่ือตรวจสอบความรู้พ้ืนฐานและความรอบรู้ในเรื่อง ทีจ่ ะเรียน
8.3 จัดให้มีการประเมินผลระหว่างเรียน เพื่อศึกษาผลการเรียน เพื่อจัดสอนซ่อมเสริม และ นาคะแนนจากการวดั ผล ไปรวมกับการวดั ผลปลายปี/ปลายภาค 8.4 จดั ให้มีการประเมนิ ผลปลายปี/ปลายภาคเพือ่ ตัดสนิ ผลการเรยี นรู้ ข้อ 9 การประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี นสื่อความของผู้เรยี นให้ครปู ระจาวิชา ดาเนินการ วัดผลตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากาหนด 9.1 ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมินผล และเกณฑ์การผ่านตัวชี้วัดการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน 9.2 จัดให้มีการประเมินผล และสรุปผลปลายปี ข้อ 10 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี นให้ครูผู้สอนดาเนินการวัดผลไปพร้อมกบั การประเมินผลระดบั ชนั้ เรยี นตามเกณฑ์สถานศึกษากาหนด 10.1 ผู้สอนแจ้งตัวชี้วัด วิธีการประเมินผล และเกณฑ์การผ่านตัวชี้วัดคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ 10.2 จัดให้มีการประเมินผล และสรุปผลปลายปี ขอ้ 11 การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ประเมินเป็นรายปี โดยสถานศกึ ษาเปน็ ผู้กาหนด แนว ทางการประเมิน ผู้รบั ผดิ ชอบกจิ กรรมดาเนนิ การประเมนิ ตามตัวชี้วดั 11.1 ผู้สอนแจง้ ตวั ช้ีวัด วธิ กี ารประเมนิ ผล และเกณฑ์การผา่ นตัวชี้วัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 11.2 จัดให้มีการประเมินผล และสรุปผลปลายปี หมวด 3 เกณฑ์การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ 12 การตดั สินผลการเรยี น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดโครงสร้าง เวลาเรียน มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงคแ์ ละกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ที่สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีคุณภาพเต็มตามศักยภาพและให้สถานศึกษากาหนด หลักเกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เพอ่ื ตดั สินผลการเรียนของผู้เรยี น ดังน้ี 12.1 ผเู้ รยี นต้องมีเวลาเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนตลอดปีการศกึ ษา 12.2 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านทุกตัวชี้วัด โดยแต่ละตัวชี้วัดผ่านไม่น้อย กวา่ ร้อยละ 50 หรอื มคี ุณภาพในระดับ 1 ข้ึนไป 12.3 ผ้เู รียนตอ้ งไดร้ บั การตดั สินผลการเรยี นทุกรายวิชา 12.4 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น มีผลการประเมินระดบั ผ่านข้ึนไป ข้อ 13 การใหร้ ะดบั ผลการเรียน 13.1 การตดั สินผลการเรยี นรายวิชาของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ใหใ้ ช้ระบบตวั เลขแสดงระดับ ผลการเรยี นในแตล่ ะกลมุ่ สาระ เป็น 8 ระดับ ดังน้ี
ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ 4 ดีเยย่ี ม 80 - 100 3.5 ดีมาก 75 - 79 3 ดี 70 - 74 2.5 ค่อนข้างดี 65 - 69 2 ปานกลาง 60 - 64 1.5 พอใช้ 55 - 59 1 50 - 54 0 ผา่ นเกณฑ์ข้ันตา่ 0 - 49 ต่ากวา่ เกณฑ์ 13.2 การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ถือเป็นความสามารถหลักที่สาคัญซึ่งจาเป็นต้อง ปลูกฝังและพัฒนาให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนด้วยกระบวนการจัดการศึกษาตามหลักสูตร ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ขณะเดียวกันก็จาเป็นต้องตรวจสอบว่า ความสามารถดังกล่าว เกิดขึ้นแล้วหรือยัง เนื่องจากการพัฒนา ความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาตามลาดับอย่างต่อเนื่องใน กระบวนการจัดการเรยี นรู้ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ หรือกจิ กรรมตา่ ง ๆ กระบวนการตรวจสอบความก้าวหน้าที่ เกดิ ขึน้ ทั้งความรคู้ วามเขา้ ใจในการปฏบิ ตั ิ จะดาเนนิ การไปด้วยกนั ในกระบวนการ หลกั การประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น 1. เป็นการประเมินเพื่อการปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนและประเมินเพื่อการตัดสินการเลื่อนช้ัน และจบการศึกษาระดับตา่ ง ๆ 2. ใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้แสดงออกซึ่งความสามารถ ดังกล่าวอยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพและทาให้ผลการประเมนิ ท่ีได้มีความเช่ือม่นั 3. การกาหนดภาระงานให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติควรสอดคล้องกับขอบเขตและประเด็นการ ประเมินที่กาหนด 4. ใช้รูปแบบ วิธีการประเมนิ และเกณฑก์ ารประเมนิ ทีไ่ ด้จากการมีส่วนร่วมของผเู้ กย่ี วขอ้ ง 5. การสรปุ ผลการประเมินเพ่ือรายงาน เน้นการรายงานคณุ ภาพของความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น เปน็ 4 ระดบั คือ ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน และไมผ่ ่าน แนวดาเนนิ การพฒั นาและประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น สถานศึกษาควรดาเนินการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็น กระบวนการอย่างชัดเจน สามารถตรวจสอบการดาเนินงานได้ การพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน สถานศกึ ษาอาจดาเนินการตามกระบวนการต่อไปนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการการพัฒนาและประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของ สถานศกึ ษา ซ่งึ อาจประกอบดว้ ย ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ผูแ้ ทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผแู้ ทนครผู ้สู อน ผู้แทน
ผู้ปกครองนักเรียน และผู้แทนนักเรียน เพื่อกาหนดแนวทางในการพัฒนา ประเมิน ปรับปรุงแก้ไข และตัดสินผล การประเมินความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี นรายปี และจบการศกึ ษาแต่ละระดบั 2. ศกึ ษานิยามหรือความหมายของความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน กาหนดขอบเขต และตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนให้สอดคล้องกับบริบท และจุดเน้นของ สถานศกึ ษาในแต่ละระดับการศึกษา 3. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันศึกษาหลักการประเมิน และพิจารณากาหนดรูปแบบ วิธีการพัฒนาและ ประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นของสถานศึกษา 4. กาหนดแนวทางการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนให้ สอดคล้องกับขอบเขตและตัวชี้วัดที่กาหนดในข้อ 2 และกาหนดระดับคุณภาพ หรือเกณฑ์ในการประเมินเป็น 4 ระดบั คือ ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน และไม่ผา่ น เพื่อใช้ในการตัดสนิ ผลรายปี และจบการศึกษาแต่ละระดับ 5. ดาเนินการพัฒนา ประเมนิ และปรับปรุงแก้ไขความสามารถในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนตาม รปู แบบและวธิ กี ารท่ีกาหนดอยา่ งตอ่ เน่อื ง 6. สรุปและตัดสินผลการประเมิน บันทึกและรายงานผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นต่อผเู้ ก่ียวขอ้ ง เพื่อให้เกิดความชัดเจนต่อผู้ปฏิบัติในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน จึงได้กาหนดความหมาย และขอบเขตการประเมินเป็นระดับชั้นประถมศึกษาให้เป็นกรอบในการประเมิน เพือ่ ตัดสนิ การเล่อื นช้นั และการจบการศกึ ษาแต่ละระดบั ความหมายการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น เป็นการประเมนิ ศักยภาพของผู้เรียนในการอ่านจากหนังสือ ตาราเรยี นเอกสาร และสื่อต่าง ๆ เพื่อหาและ หรือเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ เพื่อความสุนทรีย์ และประยุกต์ใช้ แล้วนาเนื้อหาสาระที่อ่านมาคิดวิเคราะห์ นาไปสกู่ ารแสดงความคดิ เห็น การสงั เคราะห์ สร้างสรรค์ การแกป้ ญั หาในเร่อื งต่าง ๆ และถ่ายทอดความคิดน้ัน ด้วยการเขียนที่มีสานวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและลาดับขั้นตอนในการนาเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ ผู้อา่ นได้อย่างชัดเจนตามระดับความสามารถในแตล่ ะระดับชั้น ขอบเขตการประเมินและตัวชวี้ ัดทแี่ สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1-3 ขอบเขตการประเมิน การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์ และ/หรือสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ให้ความเพลิดเพลิน ความรู้ ประสบการณ์ และมีประเด็นให้คิดและเขียนบรรยายถ่ายทอดประเด็นที่คิดด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น อา่ นสาระความรทู้ ่ีนาเสนออย่างสนใจ นยิ าย เร่อื งส้นั นิทาน นิยายปรมั ปรา ตวั ชีว้ ัดความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น 1. สามารถอ่านและหาประสบการณ์จากส่อื ท่หี ลากหลาย 2. สามารถจบั ประเดน็ สาคญั ขอ้ เท็จจริง ความคดิ เห็นเร่ืองทีอ่ ่าน
3. สามารถเปรียบเทยี บแง่มุมตา่ ง ๆ เช่น ขอ้ ดี ข้อเสีย ประโยชน์ โทษ ความเหมาะสม ไม่เหมาะสม 4. สามารถแสดงความคิดเห็นตอ่ เร่ืองท่ีอา่ น โดยมีเหตผุ ลประกอบ 5. สามารถถา่ ยทอดความคดิ เหน็ ความร้สู กึ จากเรอ่ื งที่อา่ นโดยการเขียน ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6 ขอบเขตการประเมนิ การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์ และ/หรือสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ประสบการณ์ที่เอื้อให้ผู้อ่านนาไปคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดโดยการ เขียนเป็นความเรียงเชิงสร้างสรรค์ด้วยถ้อยคาภาษาที่ถูกต้องชัดเจน เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร หนังสือ เรียน บทความ สนุ ทรพจน์ คาแนะนา คาเตือน ตัวชว้ี ดั ความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน 1. สามารถอา่ นเพื่อหาข้อมลู สารสนเทศเสริมประสบการณจ์ ากสือ่ ประเภทต่าง ๆ 2. สามารถจบั ประเด็นสาคญั เปรียบเทียบ เชื่อมโยงความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลจากเร่อื งท่ีอา่ น 3. สามารถเชอ่ื มโยงความสัมพนั ธข์ องเร่ืองราว เหตุการณ์ของเรอ่ื งทอ่ี า่ น 4. สามารถแสดงความคิดเห็นตอ่ เร่อื งท่ีอ่านโดยมเี หตุผลสนับสนนุ 5. สามารถถา่ ยทอดความเข้าใจ ความคดิ เห็น คุณค่าจากเร่ืองทีอ่ ่านโดยการเขยี น 13.3 การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทุกคุณลกั ษณะเพ่ือการเล่อื นช้นั และจบการศึกษา เป็นผ่านและไม่ผ่าน ถ้ากรณีที่ผ่าน กาหนดเกณฑ์การตัดสินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน และความหมายของแต่ละ ระดับ ดงั น้ี ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏบิ ัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เพ่ือประโยชน์สุขของตนเองและสงั คม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดบั ดีเย่ยี ม จานวน 5 - 8 คณุ ลกั ษณะ และไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดได้ผลการประเมนิ ต่ากวา่ ระดบั ดี ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรับของสงั คม โดยพจิ ารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล การประเมินตา่ กว่าระดับดี หรอื 2. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเย่ียม จานวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการ ประเมินต่ากวา่ ระดบั ผ่าน หรือ 3. ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการ ประเมินตา่ กวา่ ระดบั ผา่ น ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษากาหนดโดย พจิ ารณาจาก 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับผา่ น จานวน 5 - 8 คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใดไดผ้ ลการ ประเมินต่ากว่าระดบั ผา่ น หรือ
2. ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการ ประเมินตา่ กวา่ ระดับผา่ น ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา กาหนด โดยพจิ ารณาจากผลการประเมินระดับไมผ่ ่าน ตงั้ แต่ 1 คุณลกั ษณะ 13.4 การประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเว ลาการเข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรี ยนตามเกณฑ์ท่ี สถานศกึ ษากาหนดและให้ผลการประเมินเปน็ ผ่าน และไม่ผ่าน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มี 3 ลักษณะ คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบดว้ ย (1) กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ โดยผูเ้ รียนเลือกอย่างใดอย่าง หนึ่ง 1 กิจกรรม (2) กิจกรรมชุมนุมหรือชมรมอีก 1 กิจกรรม 3) กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ให้ ใชต้ วั อักษรแสดงผลการประเมนิ ดังน้ี “ผ” หมายถงึ ผเู้ รยี นมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมและ มีผลงานตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากาหนด “มผ” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ มีผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัด ซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทากิจกรรมในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรียน จาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ ต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลย พินจิ ของสถานศึกษา ในกรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทา กิจกรรมในสว่ นท่ีผเู้ รียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปลีย่ นผลการเรียน จาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทง้ั น้ี ตอ้ งดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในปกี ารศึกษานั้น ยกเวน้ มเี หตสุ ดุ วิสยั ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของสถานศึกษา ขอ้ 14 การเลื่อนชั้น สถานศึกษาอนุมตั ิใหผ้ ูเ้ รียนได้รับการเล่ือนชน้ั เมื่อสิ้นปีการศึกษามคี ุณสมบัติตามเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ผเู้ รยี นมเี วลาเรียนตลอดปีการศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมด 2) ผเู้ รียนมีผลการประเมินผา่ นทุกรายวิชาพ้นื ฐานและเพ่ิมเติม 3) ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนผ่านตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด ท้งั นี้ ถา้ ผเู้ รยี นมขี ้อบกพร่องเพียงเลก็ น้อย และสถานศกึ ษาพิจารณาเหน็ วา่ สามารถพฒั นา และสอนซ่อมเสรมิ ได้ ให้อย่ใู นดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผันให้เลอ่ื นชน้ั ได้ อนง่ึ ในกรณที ี่ผเู้ รียนมีหลกั ฐานการเรยี นรทู้ แี่ สดงว่ามีความสามารถดีเลศิ สถานศึกษาอาจให้ โอกาสผู้เรียนเลอ่ื นชัน้ กลางปีการศึกษา โดยสถานศึกษาแต่งต้งั คณะกรรมการ ประกอบด้วย ฝา่ ยวิชาการของ สถานศึกษาและผู้แทนของเขตพ้นื ที่การศกึ ษาหรือต้นสังกดั ประเมนิ ผู้เรยี นและตรวจสอบคณุ สมบตั ิให้ครบถว้ น ตามเงือ่ นไขทง้ั 3 ประการ ต่อไปน้ี
1) มีผลการเรียนในปีการศึกษาท่ผี ่านมาและมีผลการเรียนระหวา่ งปีที่กาลังศึกษาอยใู่ นเกณฑ์ ดเี ย่ยี ม 2) มวี ุฒภิ าวะเหมาะสมทีจ่ ะเรียนในช้ันที่สูงข้ึน 3) ผ่านการประเมินผลความรู้ความสามารถทุกรายวิชาของชั้นปีที่เรียนปัจจุบัน และความรู้ ความสามารถทุกรายวชิ าในภาคเรยี นแรกของช้ันปีทจ่ี ะเลื่อนข้ึนการอนุมัติให้เล่ือนชั้นกลางปีการศึกษาไปเรียน ชั้นสูงขึ้นได้ 1 ระดับชั้นน้ี ต้องได้รับการยินยอมจากผู้เรียนและผู้ปกครอง และต้องดาเนินการให้เสร็จสิ้นก่อน เปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ของปกี ารศึกษาน้นั สาหรบั ในกรณีท่ีพบวา่ มีผเู้ รียนกลุ่มพเิ ศษประเภทตา่ ง ๆ มีปญั หาในการ เรียนรู้ ให้สถานศึกษาดาเนินงานร่วมกับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ศูนย์การศึกษาพิเศษจังหวัด/ศูนย์ การศึกษาพิเศษเขตการศึกษา/หน่วยงานต้นสังกัด โรงเรยี นเฉพาะความพกิ าร หาแนวทางการแก้ไขและพัฒนา ขอ้ 15 การสอนซ่อมเสริม การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการหรือเจตคติ/คุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดสถานศึกษาต้องจัดสอนซ่อม เสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ี หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ขอ้ 16 การเรยี นซา้ ชน้ั ผเู้ รียนที่ไมผ่ า่ นรายวชิ าจานวนมากและมแี นวโน้มวา่ จะเป็นปัญหาต่อการเรยี นในระดับช้ันท่ี สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้งนี้ ให้คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ผเู้ รยี นทไ่ี ม่มีคณุ สมบัตติ ามเกณฑ์การเลอ่ื นช้นั สถานศึกษาควรให้เรยี นซ้าช้ัน ทงั้ น้ี สถานศกึ ษาอาจใชด้ ลุ ยพินจิ ใหเ้ ล่ือนช้นั ได้ หากพิจารณาว่าผเู้ รียนมคี ณุ สมบัติขอ้ ใดข้อหนึง่ ดังตอ่ ไปนี้ 1) มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 อันเนื่องจากสาเหตุจาเป็นหรือเหตุสุดวิสัย แต่มีคุณสมบัติ ตามเกณฑก์ ารเลอ่ื นช้ันในขอ้ อน่ื ๆ ครบถ้วน 2) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามท่ี สถานศึกษากาหนดในแต่ละรายวิชา แต่เห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศึกษานั้น และมีคุณสมบัติตาม เกณฑ์การเลอ่ื นชน้ั ในข้ออ่นื ๆ ครบถ้วน 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมอยู่ในระดับผ่านก่อนที่จะให้ผู้เรียนเรียนซ้าชั้น สถานศึกษาควรแจ้งให้ ผปู้ กครองและผูเ้ รยี นทราบเหตุผลของการเรยี นซา้ ชั้น ขอ้ 17 เกณฑ์การจบการศกึ ษาระดับประถมศึกษา ให้กรอกเกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา และคาอธิบายระดับผลการเรียนหรือรูปแบบการ ตัดสินที่โรงเรียนใช้ในการตัดสินผลการเรียนรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เชน่ เกณฑก์ ารจบการศึกษาระดับประถมศึกษา
1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จานวน 840 ชั่วโมง และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมปีละไม่ เกิน 40 ช่วั โมง 2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ระดับ 1 ขึ้นไปทุกรายวิชาพื้นฐาน จึงจะถือ ว่าผา่ นรายวชิ าพ้ืนฐาน 3) ผูเ้ รยี นมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีเย่ยี ม/ด/ี ผา่ น 4) ผู้เรยี นมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั ดเี ยี่ยม/ดี/ผา่ น 5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมปีละ 120 ชั่วโมง และ ไดผ้ ลการประเมิน “ผ” ทกุ กิจกรรม หมวดท่ี 4 การรายงานผลการเรยี น ข้อ 18 ให้รายงานผลการเรียน เพื่อแจ้งผลการเรียนรู้และพัฒนาการในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นความก้าวหน้า ของผเู้ รยี นใหผ้ ู้เรียน ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง 2แ0ละผ้เู กยี่ วข้องทราบอย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง เพ่ือใช้ เป็นข้อมูลในการปรับปรุง แก้ไขและส่งเสริมพัฒนาการเรียนของผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จอย่างมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลสาหรับออกเอกสารหลักฐานการศึกษา การตรวจสอบ ยืนยัน รับรอง ผลการเรียนและวุฒิการศึกษาของผเู้ รียน 1. จุดมุ่งหมายการรายงานผลการเรยี น 1.1 เพื่อแจ้งให้ผเู้ รียน ผเู้ กย่ี วขอ้ งทราบความก้าวหน้าของผเู้ รียน 1.2 เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมและพัฒนาการ เรียนของผู้เรียน 1.3 เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการเรียน กาหนดแนวทาง การศกึ ษาและการเลือกอาชพี 1.4 เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ที่มีหน้าเกี่ยวข้อง ใช้ดาเนินการออกเอกสารหลักฐานการศึกษา ตรวจสอบและรับรองผลการเรียน หรอื วุฒิทางการศึกษาของผเู้ รยี น 1.5 เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดใช้ ประกอบในการกาหนดนโยบาย วางแผนในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2. ข้อมลู ในการรายงานผลการเรยี น 2.1 ข้อมูลระดับช้ันเรียน ประกอบด้วย ผลการประเมินความรู้ ความสามารถ พฤติกรรม การเรียน ความประพฤติและผลงานในการเรียนของผู้เรียน เป็นข้อมูลสาหรับรายงานให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอนและผู้ปกครอง ได้รับทราบความก้าวหนา้ ความสาเร็จในการเรียนของผู้เรียนเพือ่ นาไปใช้ในการ วางแผนกาหนดเปา้ หมายและวธิ ีการในการพฒั นาผเู้ รยี น 2.2 ข้อมูลระดับสถานศึกษา ประกอบด้วย ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่ม สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนรายปี/รายภาค ผลการประเมนิ ความก้าวหน้าใน การเรียนรรู้ ายปี/รายภาค โดยรวมของสถานศึกษา เพอ่ื ใชเ้ ป็นข้อมูลและสารสนเทศในการพัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพของผู้เรียน
ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั การตดั สิน การเลือ่ นชัน้ และการซ่อมเสรมิ ผเู้ รียนทม่ี ขี ้อบกพร่องให้ ผ่านระดบั ชัน้ และเป็นข้อมลู ในการออกเอกสารหลกั ฐานการศึกษา 2.3 ข้อมูลการประเมินคุณภาพระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินคุณภาพ ของผู้เรียนด้วยแบบประเมนิ ทีส่ านักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาจัดทาขึน้ ในกล่มุ สาระการเรียนรสู้ าคัญในระดับชั้นที่ นอกเหนือจากการประเมินคุณภาพระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องใช้วางแผนและดาเนินการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ ผเู้ รียนและสถานศกึ ษา 2.4 ขอ้ มูลผลการประเมนิ คุณภาพระดบั ชาติ ได้แก่ ผลการประเมนิ คณุ ภาพของผ้เู รยี นดว้ ย แบบประเมินที่เป็นมาตรฐานระดับชาติในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทีส่ าคัญในชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งดาเนินก2า1รโดยหน่วยงานระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องใช้ วางแผนและดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน สถานศึกษา ท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษาและประเทศชาติ รวมทั้งนาไป รายงานในเอกสารหลักฐานการศึกษาของผเู้ รียน 2.5 ข้อมูลพัฒนาการของผู้เรียนด้านอื่นๆ ประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทาง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและพฤติกรรมต่าง ๆ เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งของการแนะแนวและจัดระบบการ ดูแลชว่ ยเหลอื เพื่อแจ้งใหผ้ เู้ รียน ผู้สอน ผ้ปู กครองและผูเ้ กย่ี วข้องได้รบั ทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบแต่ ละฝ่ายนาไปใชป้ รบั ปรุงแกไ้ ขและพฒั นาผู้เรียนใหเ้ กิดพัฒนาการอยา่ งถูกต้อง เหมาะสม รวมทัง้ นาไป จัดทาเอกสารหลักฐานแสดงพัฒนาการของผ้เู รยี น 3. ลักษณะขอ้ มลู สาหรับการรายงาน การรายงานผลการเรยี น สถานศกึ ษาสามารถเลอื กลักษณะขอ้ มลู สาหรบั การรายงานไดห้ ลาย รปู แบบ ให้เหมาะสมกับวิธกี ารรายงาน โดยคานึงถึงประสทิ ธิภาพของการรายงานและการนาขอ้ มลู ไปใช้ ประโยชนข์ องผู้รบั รายงานแต่ละฝ่าย ลกั ษณะข้อมลู มีรปู แบบ ดังนี้ 3.1 รายงานเป็นตวั เลข ตัวอักษร คา หรอื ขอ้ ความทเ่ี ปน็ ตวั แทนระดบั ความรู้ ความสามารถ ของผเู้ รียนทเี่ กดิ จากการประมวลผล สรปุ ตดั สินขอ้ มูลผลการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ 1) คะแนนทไี่ ด้กับคะแนนเต็ม 2) คะแนนร้อยละ 3) ระดับผลการเรียน “0 - 4” (8 ระดบั ) 4) ผลการประเมนิ คณุ ภาพ “ดีเยย่ี ม” “ด”ี “ผ่าน” 5) ผลการตัดสินผ่านระดับช้ัน “ผา่ น” “ไม่ผ่าน” 3.2 รายงานโดยใช้สถิติ เป็นการรายงานจากข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือข้อความให้ เป็นภาพแผนภูมิหรือเส้นพัฒนาการ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความก้าวหน้าของผู้เรียนว่าดีขึ้นหรือควร ได้รบั การพฒั นาอย่างไร เมอ่ื เวลาเปลีย่ นแปลงไป
3.3 รายงานเป็นข้อความ เป็นการบรรยายพฤติกรรมหรือคุณภาพที่ผู้ประเมินสังเกตพบ เพอ่ื รายงานให้ทราบว่าผเู้ รยี นมคี วามสามารถ มพี ฤตกิ รรม ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวช้วี ัดและบคุ ลกิ ภาพอยา่ งไร เชน่ 1) ผู้เรยี นมคี วามเชือ่ มนั่ ในตนเองสงู ชอบแสดงความคดิ เห็นและมีเหตุผล 2) ผู้เรียนสนใจอ่านเรื่องต่างๆ หลากหลายประเภท สามารถสรุปใจความของเรื่องได้ ถกู ต้องสมบรู ณ์ 3) ผู้เรยี นมผี ลการเรียนในกลุ่มสาระการเรยี นรู้เปน็ ทน่ี า่ พอใจ แตค่ วรมกี ารพัฒนาด้าน การเขยี น โดยไดร้ บั ความร่วมมอื จากผูป้ กครองในการฝึกหรือส่งเสริมให้นกั เรียนมีทักษะในการเขยี นสูงข้นึ 4. เป้าหมายการรายงาน การดาเนินการจดั การศึกษา ประกอบด้วยบคุ ลากรหลายฝ่ายมารว่ มมือประสานงานกัน พัฒนา ผู้เรียนท้งั ทางตรงและทางอ้อม ใหม้ ีความรู้ความสามารถ คุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มอันพงึ ประสงค์ โดย ผ้มู สี ว่ นเก่ียวข้องควรได้รบั การรายงานผลการประเมนิ ของผู้เรียนเพื่อใช้เป็นข้อมลู ในการดาเนินงาน ดังนี้ กลมุ่ เป้าหมาย การใช้ข้อมูล ผเู้ รียน - ปรบั ปรุง แกไ้ ขและพฒั นาการเรยี น รวมทั้งพัฒนารา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และพฤติกรรมต่างๆของตน - วางแผนการเรียน การเลือกแนวทางการศกึ ษา และอาชพี ในอนาคต - แสดงผลการเรยี น ความรู้ ความสามารถ และวุฒิการศึกษาของตน ผู้สอน - วางแผนและดาเนินการปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาผูเ้ รียน - ปรับปรุง แก้ไขและพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ครวู ดั ผล - ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมนิ ผลของผูส้ อน/ผูเ้ รียน - พัฒนาระบบ ระเบยี บและแนวทางการประเมนิ ผลการเรียน นายทะเบียน - จดั ทาเอกสารหลักฐานการศึกษา ครูแนะแนว - ให้คาแนะนาผูเ้ รียนในด้านตา่ งๆ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร - พิจารณาใหค้ วามเห็นชอบผลการเรยี นของผเู้ รียน และวิชาการของสถานศึกษาและ - พฒั นาแนวทางการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา คณะกรรมการอ่นื ๆ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา - พิจารณาตัดสนิ และอนมุ ัติผลการเรยี นของผูเ้ รยี น - พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นของสถานศึกษา - วางแผนการบริหารจดั การศกึ ษาด้านต่างๆ ผูป้ กครอง - รบั ทราบผลการเรยี นและพัฒนาการของผู้เรยี น - ปรบั ปรงุ แก้ไขและพฒั นาการเรียนของผูเ้ รียนรวมทงั้ การดแู ล สุขภาพ อนามยั ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คมและพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรยี น
กลมุ่ เป้าหมาย การใช้ข้อมูล - พิจารณาวางแผนและสง่ เสรมิ การเรียน การเลือกแนวทางการศึกษา ฝา่ ย/หนว่ ยงานทม่ี ีหนา้ ทต่ี รวจสอบ รับรองความรู้และวุฒกิ ารศึกษา/ และอาชพี ในอนาคตของผเู้ รียน สถานศกึ ษา - ตรวจสอบ และรบั รองผลการเรยี นและวฒุ กิ ารศกึ ษาของผเู้ รียน สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา/ - เทียบระดับ/วุฒกิ ารศึกษาของผู้เรยี น หนว่ ยงานตน้ สังกัด - เทยี บโอนผลการเรยี น - ยกระดบั และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นท่ี การศึกษา - นิเทศ ตดิ ตาม และให้ความชว่ ยเหลอื การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ของ สถานศึกษาท่มี ีผลก2า3รประเมนิ ต่ากวา่ ค่าเฉลย่ี ของสานกั งาน เขตพ้ืนท่ฯี 5. วธิ กี ารรายงาน การรายงานผลการเรียนให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งรบั ทราบ สามารถดาเนินการไดด้ งั นี้ 5.1 การรายงานผลการเรียนในเอกสารหลักฐานการศึกษา ไดแ้ ก่ 1) ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) 2) หลกั ฐานแสดงวุฒกิ ารศึกษา (ปพ.2) 3) แบบรายงานผ้สู าเร็จการศึกษา (ปพ.3) 4) แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนรายบุคคล 5) แบบบนั ทึกผลการเรียนประจารายวิชา 6) ระเบียนสะสม 7) ใบรับรองผลการเรยี น ขอ้ มลู จากแบบรายงาน สามารถใช้อ้างองิ ตรวจสอบและรับรองผลการเรียนของผ้เู รียนได้ 5.2 การรายงานคุณภาพการศึกษาให้ผเู้ กี่ยวข้องทราบ สามารถรายงานได้หลายวิธี เชน่ 1) รายงานคณุ ภาพการศึกษาประจาปี 2) วารสาร/จลุ สารของสถานศึกษา 3) จดหมายสว่ นตัว 4) การใหค้ าปรึกษาหารอื เป็นรายบุคคล 5) การให้พบครทู ป่ี รึกษาหรือการประชุมเครือข่ายผ้ปู กครอง 6) การให้ข้อมูลทาง Internet ผ่าน Website ของสถานศึกษา 6. การกาหนดระยะเวลาในการรายงาน ใหม้ ีการรายงานผลการเรยี นภายใน 2 สัปดาห์ หลังการประเมินผลปลายภาค หรอื ปลาย ปี เพื่อนาข้อมูลการรายงานไปใช้ในการดาเนินการปรับปรุงแก้ไขและส่งเสริมการเรียนของผู้เรียนตามบทบาท หนา้ ที่ของแตล่ ะฝา่ ย โดยยดึ หลกั การรายงานให้เรว็ ท่ีสดุ ภายหลงั การประเมินผลแตล่ ะครั้ง เพอ่ื ให้การรายงาน เกิดประโยชนแ์ ละมีประสิทธภิ าพในการนาไปใช้สงู สดุ
หมวดท่ี 5 เอกสารหลักฐานการศึกษา ข้อ 19 ให้มีการจดั หาและจัดทาเอกสารหลกั ฐานการศึกษา ดังตอ่ ไปนี้ 19.1 เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ประกอบด้วย เป็นเอกสารที่กระทรวงศึกษาธิการควบคุมและบังคับแบบ เพื่อใช้เป็นหลักฐานสาหรับการ ตรวจสอบ ยืนยัน และรบั รองผลการเรียนของผู้เรียน สถานศกึ ษาต้องใช้แบบพมิ พข์ องกระทรวงศกึ ษาธิการและ ดาเนินการจัดทาตามที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนดไว้ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ได้แก่ ระเบียนแสดง ผลการ เรยี น (ปพ.1) ประกาศนยี บัตร (ปพ.2) และแบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.3) 1. ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) เป็นเอกสารสาหรบั บนั ทึกข้อมลู ผลการเรียนของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดแ้ ก่ ผลการเรียนตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และผล การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องจัดทาและออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียน เป็นรายบุคคล เม่ือ ผู้เรียนจบการศึกษาแต่ละระดับหรือเมื่อผู้เรียนออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี เพื่อใช้แสดงผลการเรียนตาม หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 2. ประกาศนยี บัตร (ปพ.2) เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาที่มอบให้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับและผู้สาเร็จ การศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อรับรองศักดิ์และสทิ ธ์ิ ของผูส้ าเรจ็ การศึกษาตามวฒุ ิแห่งประกาศนยี บัตรน้นั 3. แบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.3) เป็นเอกสารสาหรับอนุมัติการจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของผู้เรียนในแต่ละรุ่นการศึกษา โดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลทางการศึกษาของผู้จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) ใช้เป็นเอกสารสาหรับตดั สนิ และอนุมัตผิ ลการเรยี นให้ผู้เรยี นเป็นผู้สาเร็จ การศกึ ษา และใช้ในการตรวจสอบยืนยัน และรบั รองความสาเร็จและวฒุ ิการศึกษาของผูส้ าเร็จการศึกษาแต่ละ คนตลอดไป 19.2 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาที่สถานศกึ ษากาหนด เป็นเอกสารทีส่ ถานศกึ ษาจดั ทาขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา แบบรายงานประจาตัวนักเรียน ระเบียนสะสม ใบรบั รองผลการเรียน และเอกสารอืน่ ๆ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการนาเอกสารไปใช้ 1. แบบบนั ทึกผลการเรยี นประจารายวิชา เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดท าขึ้นเพื่อให้ผู้สอนใช้บันทึกข้อมูลการวัดแล ะ ประเมินผลการเรียนตามแผนการจัดการเรียนการสอนและประเมินผลการเรียน และใช้เป็นข้อมูลในการ พิจารณาตัดสินผลการเรียนแต่ละรายวิชา เอกสารนี้ควรจัดทาเพือ่ บันทึกขอ้ มูลของผูเ้ รียนเป็นรายห้องเอกสาร บันทกึ ผลการเรียนประจารายวชิ า นาไปใช้ประโยชน์ดงั น้ี
1.1 ใช้เป็นเอกสารเพื่อการดาเนินงานของผู้สอนแต่ละคนในการวัดและประเมินผล การเรยี นของผูเ้ รียนแต่ละรายวชิ า รายห้อง 1.2 ใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเก่ียวกับวิธีการและ กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียน 1.3 เป็นเอกสารที่ผบู้ ริหารสถานศึกษาใช้ในการอนุมัตผิ ลการเรียนประจาภาคเรียน/ ปกี ารศึกษา 2. แบบรายงานประจาตวั นกั เรียน เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลการประเมินผลการเรียนรู้ และ พัฒนาการด้านต่าง ๆของผู้เรียนแต่ละคนตามเกณฑ์การตัดสินการผ่านระดับชั้นตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน รวมท้ังขอ้ มูลดา้ นอ่นื ๆ ของผเู้ รยี นทงั้ ท่บี ้านและโรงเรยี น เปน็ เอกสารรายบคุ คล สาหรับ สื่อสารให้ผู้ปกครองของผู้เรียนแต่ละคนได้รับทราบผลการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน และ รว่ มมือในการพฒั นาผูเ้ รยี นอย่างตอ่ เน่อื ง 3. ใบรบั รองผลการเรยี น เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อรับรองสถานภาพความเป็นผู้เรียนใน สถานศกึ ษาทก่ี าลงั ศกึ ษาอยู่หรือรับรองผลการเรยี น หรือวฒุ ิของผู้เรยี นเป็นการชว่ั คราวตามท่ีผู้เรียนร้องขอ ทั้ง กรณีที่ผู้เรียนกาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน หรือเมื่อจบการศึกษาไปแล้ว แต่กาลังรอรับหลักฐานการศึกษา ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นต้น ใบรับรองผลการเรียนมีอายุการใช้งานชั่วคราว โดยปกติประมาณ 30 วัน ซึ่งผู้เรียนสามารถนาไปใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณสมบัติของผู้เรียนในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครเข้าทางาน หรือเมอ่ื มกี รณอี ืน่ ใดทผี่ เู้ รียนแสดงคณุ สมบัติเก่ยี วกบั วฒุ ิความร้หู รอื สถานภาพการเปน็ ผู้เรียนของตน 4. ระเบยี นสะสม เปน็ เอกสารที่สถานศึกษาจัดทาขน้ึ เพ่ือบันทึกข้อมูลเกีย่ วกับพัฒนาการของผู้เรียนใน ด้านต่าง ๆ เป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง ตลอดช่วงระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน 12 ปี ระเบียนสะสมให้ข้อมลู ท่เี ป็นประโยชน์ในการแนะแนวทางการศกึ ษาและการประกอบอาชีพของ ผู้เรียน การพัฒนาปรับปรุงบุคลิกภาพ การปรับตัวของผู้เรียนและผลการเรียน ตลอดจนรายงาน กระบวนการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนระหว่างสถานศึกษากับบ้าน และใช้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบ คณุ สมบัตขิ องผู้เรียนตามความเหมาะสม 19.3 แนวปฏบิ ตั ใิ นการจดั ทาระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เป็นหลักฐานแสดงผลการเรียนของผูเ้ รยี นทีเ่ รียนหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานแต่ละระดับช้ัน โรงเรียนต้องออกระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐานให้ผู้เรียนทุกคนที่จบ การศกึ ษาแต่ละระดบั ชั้นหรอื เมอ่ื ออกจากสถานศึกษา โดยใช้แบบพมิ พ์ทีก่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารจัดพิมพ์เทา่ น้นั
รูปแบบของระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) 1. ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) จาแนกเปน็ 3 แบบ คือ 1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ ประถมศึกษา (ปพ.1 : ป) 1.2 ระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน้ (ปพ.1 : บ) 1.3 ระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ปพ.1 : พ) 2. ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) ทกุ ระดบั มี 2 ลักษณะ คอื 2.1 แบบพิมพ์ปกติ มีลักษณะเป็นแบบพิมพ์สมบูรณค์ รบถ้วน สาหรับใช้กรอกข้อมูล ด้วยการเขยี นหรือพิมพ์ดดี 2.2 แบบพิมพ์สาหรับพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นกระดาษว่าง มีข้อมูล เฉพาะชือ่ เอกสารแตล่ ะระดบั และหมายเลขควบคุมเอกสารเทา่ นนั้ การออกเอกสารระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) ให้ผเู้ รียน ให้จัดทาดังน้ี 1. ให้จัดทาเอกสารคู่ฉบับของเอกสารต้นฉบับขึ้น 2 ฉบับ โดยใช้วิธีการถ่ายสาเนาจาก ต้นฉบับ หรือนาแบบพิมพ์เอกสารที่ใชจ้ ดั ทาตน้ ฉบับมาคัดลอกข้อมูลจากตน้ ฉบับกไ็ ด้ (กรณีน้ใี ห้นาเลข ชุดที่ ...........เลขที่............ ของเอกสารต้นฉบับไปกรอกที่ช่องหมายเหตุของเอกสารที่ลอกใหม่ท้ัง 2 ฉบับ โดยกรอก ว่า เอกสารฉบบั น้ีเปน็ เอกสารคูฉ่ บบั ของเอกสารต้นฉบบั ชุดท.่ี ..........เลขท.่ี ..............) 2. ติดรปู ถ่ายของผเู้ รยี นขนาด 3 4 ซม. ในชอ่ งติดรปู ถา่ ย ใหน้ ายทะเบียนและผู้บรหิ าร สถานศึกษาลงนามในเอกสารที่จัดทาขึ้นใหม่ทั้ง 2 ฉบับ พร้อมกับกรอกวันที่ เดือน พ.ศ. ที่ลงนามในเอกสาร แลว้ ประทับตราโรงเรียน (สแี ดงชาด) ที่รปู ถา่ ยของผู้เรยี นและทล่ี ายเซน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา โรงเรียนมอบ เอกสารท่ีจดั ทาขนึ้ ให้ผูเ้ รยี น 1 ฉบบั และเก็บรกั ษาไวเ้ ปน็ สาเนารวมกับตน้ ฉบบั ที่โรงเรียน 1 ฉบับ ผู้เรียนที่ได้รับเอกสารระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) ไปแล้ว เมื่อมีความจาเป็นต้อง ขอฉบับใหม่ ให้ยื่นคาขอร้องขอเอกสารฉบับใหม่พร้อมด้วยเหตุผลในการขอเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ โรงเรยี นดาเนินการออกเอกสารใหม่จากตน้ ฉบับเดิมท่จี ัดทาไว้ตามวิธขี ้างต้น และใหน้ ายทะเบียนและผู้บริหาร สถานศึกษาที่ดารงตาแหน่งขณะที่ผูเ้ รียนยื่นคารอ้ งขอเอกสารเป็นผู้ลงนามในเอกสารที่จัดทาใหม่ ทั้ง 2 ฉบับ และสถานศึกษาต้องทาบัญชีจ่ายแบบระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (ปพ.1) ในทุกกรณี และบันทึกในสมุดหมายเหตุรายวันของสถานศึกษาทุกคร้ังที่มีการออกเอกสาร การยกเลกิ ระเบียนแสดงผลการเรยี นกรณสี ญู หายหรอื เสยี หาย เนื่องจากระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) เป็นเอกสารหลักฐานส าคัญ ที่กระทรวงศึกษาธิการจะต้องดาเนินการควบคุม ดังนั้น ถ้าระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) เกิดการสูญหาย หรือเสียหาย จะต้องดาเนินการสอบสวนและประกาศยกเลิกแบบพิมพ์ที่สูญหายหรือเสียหาย พร้อมทั้งแจ้งให้ หน่วยงานที่เกยี่ วข้องทราบ
กรณที ่ี 1 แบบพมิ พเ์ กิดการสญู หายทั้งเม่ือขณะทาการขนส่ง หรือเก็บรักษาอยู่ท่ีโรงเรียน ควรดาเนนิ การ ดงั นี้ 1. ผู้ทาให้เกดิ การสูญหาย ได้แก2่7โรงเรียน สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา หรือหน่วยงาน ทจ่ี ดั สง่ แจ้งความเอกสารสญู หายต่อเจา้ หน้าท่ีตารวจเพ่ือลงบนั ทึกรายงานประจาวันรับแจง้ เอกสารหาย แล้ว เกบ็ ใบแจง้ ความไว้เป็นหลักฐาน 2. ทารายงานแจ้งเรื่องแบบพิมพ์ ปพ.1 ฉบับที่สูญหาย (พร้อมแนบสาเนาเอกสาร ลงบันทกึ รายงานประจาวนั ดว้ ย) ต่อสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาทสี่ งั กดั โดยดว่ น 3. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาดาเนินการสอบสวนข้อเท็จจริง แล้วทารายงานเพื่อ ขอยกเลิกแบบพิมพ์พรอ้ มแนบรา่ งประกาศยกเลิกแบบพมิ พ์ ตอ่ ผ้อู านวยการสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา 4. ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาพจิ ารณาและลงนามในประกาศยกเลิก แบบ พิมพ์ เมื่อมีการลงนามเรียบร้อยแล้ว ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนดาเนินการแจ้ งประกาศ ยกเลิก ถึงกระทรวงทกุ กระทรวง และสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา เพอ่ื แจง้ หน่วยงานในสังกดั ไมใ่ ห้รบั พจิ ารณา เอกสาร ปพ.1 ที่ถกู ยกเลิกตอ่ ไป กรณีที่ 2 แบบพิมพ์เกิดการเสียหายเนื่องจากเขียนผิดพลาด สกปรก หรือเกิดการชารุด เสียหายด้วยเหตอุ น่ื ใดจนไมอ่ าจใชก้ ารได้ ใหด้ าเนินการดงั น้ี 1. โรงเรียนที่ทาให้เกิดการเสียหายทารายงานขอยกเลกิ แบบพิมพ์ ปพ.1 โดยระบุสาเหตุ เลขที่ และจานวนแบบพิมพ์ทเ่ี สียหาย เสนอตอ่ สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาตน้ สังกดั /ทโ่ี รงเรยี นตั้งอยู่ 2. สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาแต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ การสอบสวน หาก คณะกรรมการเห็นควรประกาศยกเลิกแบบพิมพ์ ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทารายงานขอยกเลิกแบบ พิมพ์ ปพ.1 ฉบับที่เสียหายต่อผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พร้อมแนบประกาศยกเลิก แบบ พิมพ์เพ่อื ให้ลงนาม 3. เมื่อผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลงนามในประกาศยกเลิกแบบพิมพ์ เรียบร้อยแล้ว ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา/โรงเรียน ดาเนินการแจ้งประกาศยกเลิกถึงกระทรวงทุก กระทรวง และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขต เพื่อแจ้งหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัดไม่ให้รับพิจารณา ระเบียบแสดงผลการเรียน (ปพ.1) ที่ถูกยกเลิกตอ่ ไป แบบพิมพ์ที่มีความเสียหายเพียงเล็กน้อย ห้ามลบหรือขูด ถ้าเขียนผิดให้ขดี ฆ่า แล้วเขียน ข้อความที่ถูกต้องไว้และให้นายทะเบียนลงนามกากับ อาจไม่ต้องประกาศยกเลิก ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับดุลยพินจิ ของ สถานศกึ ษา
หมวด 6 การเทยี บโอนผลการเรยี น ข้อ 20 ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้จากสถานศึกษาได้ในกรณีต่างๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การละทิ้งการศึกษาและขอกลับเข้ารับ การศึกษาต่อ การศกึ ษาจากต่างประเทศและขอเข้าศกึ ษาตอ่ ในประเทศ ข้อ 21 ให้สามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถาน ประกอบการ สถาบนั ทางศาสนา สถาบนั การฝึกอบรม2อ8าชีพ การศึกษาโดยครอบครวั ข้อ 22 การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรกหรือต้นภาคเรียนแรก ทั้งนี้นกั เรียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเนือ่ ง ในสถานศึกษาที่รบั เทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับการเทียบโอนควรกาหนดรายวิชา จานวนหนว่ ยกติ ทีจ่ ะรับเทียบโอนตามความ เหมาะสม ข้อ 23 การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนินการไดด้ งั น้ี 23.1 พจิ ารณาจากหลักฐานการศกึ ษา ซง่ึ จะให้ข้อมลู ทีแ่ สดงความรู้ ความสามารถของนักเรียน ในดา้ นต่าง ๆ 23.2 พจิ ารณาจากความรู้ ประสบการณต์ รงจากการปฏิบัตจิ ริง การทดสอบ การสัมภาษณ์ เปน็ ตน้ 23.3 พจิ ารณาจากความสามารถ และการปฏิบตั ิจรงิ 23.4 ในกรณีมีเหตผุ ลจาเป็นระหว่างเรียน นักเรียนสามารถแจง้ ความจานงขอไปศึกษาบางรายวิชา ในสถานศึกษา/สถานประกอบการอื่น แล้วนามาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร หลักสตู รและวิชาการของสถานศกึ ษา ข้อ 24 การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอนจานวน ไม่ นอ้ ยกว่า 3 คน แตไ่ ม่ควรเกิน 5 คน การเทียบโอนให้ดาเนนิ การดังนี้ 24.1 กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ให้นารายวิชา หรือหน่วยกิตที่มี ตัวช้วี ัด/มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง/จดุ ประสงค์/เน้ือหาท่ีสอดคล้องกันไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 มา เทียบโอนผลการเรยี นและพจิ ารณาให้ระดบั ผลการเรียนใหส้ อดคล้องกบั หลกั สูตรท่ีรบั เทียบโอน 24.2 กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ให้พิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มกี ารประเมินด้วยเคร่ืองมือท่หี ลากหลายและใหร้ ะดบั ผลใหส้ อดคล้องกบั หลกั สตู รท่รี ับเทยี บโอน 24.3 กรณีการเทียบโอนที่นักเรียนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ให้ดาเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาสาหรับนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ แลกเปลี่ยน ทง้ั นี้วธิ ีการเทยี บโอนผลการเรยี นให้เปน็ ไปตามประกาศของกระทรวงศกึ ษาธิการและแนวปฏิบัติ ทีเ่ ก่ียวข้อง หมายเหตุ ในหมวดที่ 5 ควรมีเนื้อหาตามเอกสาร “แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้” หนา้ 80-127
คาส่งั โรงเรยี นทองพูลอุทิศ ที่ 50 / 2565 เร่อื ง แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้สถานศึกษาเป็นผู้จัด การศึกษาการ วัดผลและการประเมินผลผู้เรียน เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา และตามระเบียบว่าด้วยการประเมินผล ของโรงเรยี นวัดราษฎรบารุง พ.ศ. 2553 กาหนดใหม้ คี ณะกรรมการการบรหิ ารหลักสูตรของโรงเรยี น เพื่อให้ การบรหิ ารหลักสตู ร บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคด์ งั กล่าว จึงแต่งต้ังคณะกรรมการตามระเบียบ ดงั นี้ 1. ดร.สมชาย สังขส์ ี ผ้อู านวยการโรงเรียนทองพูลอทุ ศิ ประธานกรรมการ 2. นางสมฤทัย ณ ระนอง รองผอู้ านวยการโรงเรยี นทองพลู อทุ ิศ กรรมการ 3. นางศรนิ ทรท์ ิพย์ นรสิงห์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย กรรมการ 4. นางพิมพรรณ จิตสวา หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ กรรมการ 5. นางสาววรางคณา ดาริห์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ฯ กรรมการ 6. นางสาวพรรณนภิ า คาพรมมา หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษาฯ กรรมการ 7. นางสาวณัฐธกานต์ ดขี นุ ทด หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาฯ กรรมการ 8. นายวทิ ยา วอนกลา่ หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ กรรมการ 9. นางสาวจรยิ าภรณ์ มน่ั คง หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี กรรมการ 10. นางพรพิมล ธาสถาน หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ กรรมการ มหี น้าที่ 1. ประเมินผลการเรยี นร้กู ลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 สาระ 2. ตดั สินการผ่านระดับชัน้ ของผู้เรียนสง่ ตอ่ วิชาการโรงเรียน ทงั้ น้ี ตัง้ แตบ่ ดั นีเ้ ปน็ ต้นไป สงั่ ณ ประกาศ ณ วนั ท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ลงชือ่ ) (ดร.สมชาย สงั ขส์ ี) ผอู้ านวยการโรงเรียนทองพูลอุทิศ
คาสัง่ โรงเรยี นทองพูลอุทศิ ที่ 51 /2565 เรอื่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้สถานศึกษาเป็นผู้จัด การศึกษาการ วัดผลและการประเมินผลผู้เรียน เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา และตามระเบียบว่าด้วยการประเมินผล ของโรงเรียนทองพูลอุทิศ พ.ศ.2553 กาหนดให้มีคณะกรรมการการวัดผลและการประเมินผลคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของโรงเรียน เพื่อให้การประเมินผลบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ ตามระเบยี บ ดังนี้ 1. นางศรินทร์ทิพย์ นรสิงห์ หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ ประธานกรรมการ 2. นางสาวจริยาภรณ์ ม่นั คง ครูประจาชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1/1 กรรมการ 3. นางทศั นยี ์ ต้มุ ลังกา ครปู ระจาชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1/2 กรรมการ 4. นายจกั รกฤษณ์ นิยม ครูประจาชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 กรรมการ 5. นางสาวจุฑามาศ มีมาก ครปู ระจาชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2/1 กรรมการ 6. นางพรพิมล ธาสถาน ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2/2 กรรมการ 7. นายวทิ ยา วอนกล่า ครูประจาชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 กรรมการ 8. นางกัณฐมณี ใจวงษา ครูประจาชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3/1 กรรมการ 9. นางศรินทร์ทพิ ย์ นรสงิ ห์ ครูประจาช้ันประถมศึกษาปีที่ 3/2 กรรมการ 10. นางสาวพรรณนิภา คาพรมมา ครูประจาชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4/1 กรรมการ 11. นางสาวกลุ นิษฐ์ บวั มาก ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4/2 กรรมการ 12. นางสาวผการัตน์ สีสนั ครูประจาชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5/1 กรรมการ 13. นางสาววรางคณา ดาริห์ ครปู ระจาชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5/2 กรรมการ 14. นางพิมพรรณ จติ สวา ครปู ระจาช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6/1 กรรมการ 15. นางสาววรรณา สมบตั ิวงศ์ ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6/1 กรรมการ 16. นางสาวณัฐธกานต์ ดีขนุ ทด ครปู ระจาช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6/2 กรรมการ 17. นางสาวอรอนงค์ วงษา ครูประจาช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6/2 กรรมการ
มหี นา้ ที่ 1. ประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคน์ กั เรียนทุกคน ตามเกณฑ์ทีโ่ รงเรียนกาหนด 2. กรอกผลการประเมนิ ต่อคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวิชาการของโรงเรยี นตอ่ ไป 3. ดาเนินการแกไ้ ขนกั เรยี นทีไ่ มผ่ ่านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์และสง่ ผลการประเมินท่ี กรรมการบริหารหลักสูตร/วชิ าการของโรงเรียนต่อไป ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนเ้ี ป็นตน้ ไป ส่ัง ณ วนั ที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ลงช่อื ) (ดร.สมชาย สังข์สี) ผอู้ านวยการโรงเรียนทองพูลอุทิศ
คาสง่ั โรงเรียนทองพูลอุทิศ ที่ 52 /2565 เร่ือง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการประเมนิ ผลการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 26 กาหนดให้การวัดและการ ประเมินผลผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา และตามระเบียบว่าด้วยการประเมินผลของ โรงเรียนทองพูลอุทิศ กาหนดให้มีคณะกรรมการการวัดและการประเมินผลการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน โรงเรียน ซึ่งเปน็ เกณฑ์การผ่าน เพอ่ื ให้การประเมินผลบรรลุตามวัตถปุ ระสงคด์ ังกล่าว จึงแต่งต้ังคณะกรรมการ ตามระเบียบ ดงั นี้ 1. นางศรินทร์ทิพย์ นรสิงห์ หัวหนา้ ฝา่ ยบริหารวชิ าการ ประธานกรรมการ 2. นางสาวจรยิ าภรณ์ มัน่ คง ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1/1 กรรมการ 3. นางทศั นีย์ ตุ้มลังกา ครปู ระจาชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1/2 กรรมการ 4. นายจักรกฤษณ์ นิยม ครูประจาชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 กรรมการ 5. นางสาวจฑุ ามาศ มมี าก ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2/1 กรรมการ 6. นางพรพมิ ล ธาสถาน ครูประจาชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/2 กรรมการ 7. นายวิทยา วอนกล่า ครูประจาชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 กรรมการ 8. นางกณั ฐมณี ใจวงษา ครปู ระจาช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/1 กรรมการ 9. นางศรินทร์ทิพย์ นรสิงห์ ครูประจาชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 กรรมการ 10. นางสาวพรรณนิภา คาพรมมา ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4/1 กรรมการ 11. นางสาวกลุ นษิ ฐ์ บวั มาก ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4/2 กรรมการ 12. นางสาวผการตั น์ สีสัน ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5/1 กรรมการ 13. นางสาววรางคณา ดารหิ ์ ครูประจาชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/2 กรรมการ 14. นางพิมพรรณ จติ สวา ครปู ระจาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 กรรมการ 15. นางสาววรรณา สมบัติวงศ์ ครปู ระจาชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6/1 กรรมการ 16. นางสาวณฐั ธกานต์ ดีขนุ ทด ครูประจาชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6/2 กรรมการ 17. นางสาวอรอนงค์ วงษา ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6/2 กรรมการ
มีหน้าที่ 1. สร้างเคร่อื งมือวดั และกาหนดเกณฑก์ ารผ่าน การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียนอย่างน้อย 2 ชุด 2. ดาเนนิ การวัดและประเมินผลนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล ปีการศึกษาละ 2 คร้ัง 3 กรอกผลการตัดสนิ ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด (จดั ทา 2 ชดุ ) 4. สง่ ผลการประเมนิ ตอ่ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร/ วิชาการของโรงเรยี นตอ่ ไป ทั้งน้ี ตง้ั แต่บดั น้เี ป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ลงช่ือ) (ดร.สมชาย สงั ข์สี) ผอู้ านวยการโรงเรยี นทองพูลอทุ ิศ
คาส่ังโรงเรยี นทองพูลอุทศิ ที่ 53 /2565 เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กาหนดให้สถานศึกษาเป็นผู้จัดการศึกษา การวัดผลและการประเมินผลผู้เรียน เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา และตามระเบียบว่าด้วยการ ประเมินผลของโรงเรียนทองพูลอุทิศ กาหนดให้มีคณะกรรมการการวัดผลและการประเมินผลกิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รียน ซงึ่ เป็นเกณฑ์ผ่านช้นั ดังกลา่ ว จงึ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการตามระเบียบดังนี้ 1. นางศรนิ ทรท์ พิ ย์ นรสงิ ห์ หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ประธาน กรรมการ ม่ันคง ครูประจาช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1/1 กรรมการ 2. นางสาวจรยิ าภรณ์ ตุ้มลังกา ครูประจาชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1/2 กรรมการ 3. นางทศั นยี ์ นยิ ม ครปู ระจาช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 กรรมการ 4. นายจักรกฤษณ์ มมี าก ครูประจาชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2/1 กรรมการ 5. นางสาวจุฑามาศ ธาสถาน ครปู ระจาชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2/2 กรรมการ 6. นางพรพมิ ล วอนกลา่ ครูประจาช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 กรรมการ 7. นายวิทยา ใจวงษา ครูประจาชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3/1 กรรมการ 8. นางกณั ฐมณี นรสงิ ห์ ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3/2 กรรมการ 9. นางศรนิ ทร์ทพิ ย์ คาพรมมา ครูประจาชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4/1 กรรมการ 10. นางสาวพรรณนภิ า บวั มาก ครปู ระจาชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4/2 กรรมการ 11. นางสาวกลุ นษิ ฐ์ สสี ัน ครูประจาชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5/1 กรรมการ 12. นางสาวผการตั น์ ดารหิ ์ ครปู ระจาชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5/2 กรรมการ 13. นางสาววรางคณา จติ สวา ครปู ระจาชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6/1 กรรมการ 14. นางพิมพรรณ สมบัติวงศ์ ครูประจาชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6/1 กรรมการ 15. นางสาววรรณา ดีขุนทด ครูประจาชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6/2 กรรมการ 16. นางสาวณัฐธกานต์ วงษา ครูประจาชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6/2 กรรมการ 17. นางสาวอรอนงค์
มหี น้าท่ี 1. ประเมินกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นทกุ คน ตามเกณฑ์ท่โี รงเรียนกาหนด 2. กรอกผลการประเมนิ ต่อคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวชิ าการของโรงเรยี นตอ่ ไป 3. ดาเนินการแกไ้ ขนกั เรียนท่ไี ม่ผา่ นกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นและส่งผลการประเมนิ ท่ีกรรมการบรหิ าร หลักสตู ร/วิชาการของโรงเรยี นต่อไป ทง้ั นี้ ตง้ั แต่บดั นเี้ ป็นตน้ ไป ส่งั ณ วันที่ 17 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ลงชอ่ื ) (ดร.สมชาย สังข์สี) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นทองพูลอุทิศ
คาอนมุ ตั ใิ หใ้ ช้ระเบียบวา่ ดว้ ยการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2551 โรงเรยี นทองพูลอุทศิ ด้วยโรงเรียนทองพูลอุทิศ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ต้องจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เอง โดยได้รับความร่วมมือจาก ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย คือ ครู ผู้ปกครอง ชุมชน ได้พิจารณาจากสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียนในท้องถนิ่ แห่งนี้อย่างหลากหลาย เพื่อให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนอย่างสูงสุด จึงจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีการวัดผลประเมินผล การเรยี นรู้ โรงเรียนทองพูลอุทิศ ได้จัดทาคู่มือการวัดผลประเมินผลการเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนได้ตรวจสอบผู้เรียนสามารถ นาไปใช้ในการดารงชีวิตประจาวันอย่างมีความสุขและมีคุณค่าต่อสังคม จึงเห็นสมควรแล้วว่ามีความ เหมาะสม สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาและความต้องการของท้องถิ่นอนุญาตให้ใช้คู่มือการประเมินผล การเรยี นของโรงเรยี นทองพูลอทุ ศิ ได้ ทั้งน้ี ตง้ั แต่วันที่ 1 เดอื นมิถุนายน พ.ศ. 2564 เป็นตน้ ไป (ลงชอ่ื ) (นายเอกชัย กลิน่ กุสมุ ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียนทองพูลอทุ ิศ
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: