Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 9

บทที่ 9

Published by Thitawan INSA-AD, 2021-09-14 14:34:57

Description: บทที่ 9 ต้น64 macro นิสิต

Search

Read the Text Version

บทท่ี 9 1 เงินตราและปริมาณ เงนิ ตรา โดย อ.ฐิตาวรรณ อินสะอาด Macroeconomics 1 ภาคต้น 64

1.ความรเู้ บ้อื งต้นเก่ียวกบั เงนิ เงิน (Money) คือ สง่ิ ใด ๆ ท่สี ังคมยอมรับโดยท่ัวไปในขณะใดขณะหน่งึ และในเขตพน้ื ท่ี ใดพน้ื ทหี่ น่งึ ในฐานะเปน็ สอ่ื กลางในการแลกเปล่ยี นสินค้าและบริการ โดยใช้ ชาระค่าสินค้าและบริการรวมท้ังใช้เพื่อการชาระหนที้ ัง้ ในปจั จบุ นั และอนาคต 2

หนา้ ทข่ี องเงินในระบบเศรษฐกจิ 1.เป็นสื่อกลางในการแลกเปลย่ี น อานวยความสะดวกใหแ้ กก่ ารแลกเปล่ียน (Medium of exchange) เป็นตัวกลางทีเ่ ช่ือมระหว่างผ้ซู ือ้ และผขู้ าย เปน็ หน่วยกลางวัดของสนิ ค้าและบรกิ าร 2.เปน็ มาตรฐานการวดั ค่า (Standard of value) สามารถชาระหน้ีสินด้วยเงนิ อานวยความ สะดวกใหแ้ กท่ งั่ ลูกหน้แี ละเจา้ หนี้ 3.เปน็ มาตรฐานการชาระหนีภ้ ายหน้า เปน็ สินทรัพยท์ ม่ี ีสภาพคล่องมากที่สุด (Standard of deferred payments) 4.เป็นเคร่ืองมอื เก็บรกั ษามูลคา่ (Store of value) 3

คุณสมบตั ิทพี่ ึงประสงคข์ องเงิน ( กายภาพ ) 1. ตอ้ งมีความคงทนถาวร เพ่อื รองรับกบั การเปลย่ี นมอื 2. แบ่งแยกเป็นหน่วยย่อย ๆ ได้ 3. สามารถพกพาไดส้ ะดวก ไม่เปน็ ทส่ี ะดุดตา 4. สามารถระบคุ ่าอย่างชดั เจน 4

ประเภทของเงิน ❑เงนิ ในอดีต 5 เชน่ ขนสัตว์ หนงั สตั ว์ ใบชา ยาสบู วัว ควาย เปน็ ตน้ ❑ เงินเปน็ โลหะ ไดแ้ ก่ เงนิ และทองคา เหรยี ญ เหรยี ญทองคา ❑ เงนิ เป็นกระดาษ ธนบัตร สทิ ธิการออกธนบัตรเป็นของรัฐบาล/ธนาคารกลางแต่ผ้เู ดยี ว ❑ เงนิ เป็นเงินฝากกระแสรายวนั จ่ายโดยการโอนเช็ค

เงินทีใ่ ชท้ ่ัวไปในปจั จุบันมี 3 ชนดิ เหรียญกษาปณ์ เป็นเงินท่ชี าระหนีไ้ ด้ตาม กระทรวงการคลัง ธนบัตร กฎหมาย มีค่าไม่เตม็ ตวั แลกคืนเปน็ โลหะไมไ่ ด้ ธนาคารกลาง เงินกระแสรายวัน เป็นเงนิ ที่จ่ายโอนโดยเช็ค สรา้ งโดยระบบ ธนาคารพาณชิ ย์ 6

ความสาคญั ของเงินตอ่ ระบบเศรษฐกิจ การเปลย่ี นแปลงปรมิ าณเงินอาจก่อใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงในระดับรายได้ ประชาชาติ ผลผลิต และการจา้ งงาน เมอื่ ปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกิจสงู ขน้ึ โดยส่ิงอื่น ๆ อยูค่ งท่ี ดอกเบ้ียลดลง ความ ต้องการลงทนุ มีแนวโน้มสูงขึน้ และทาใหก้ ารจา้ งงานสงู ขนึ้ ไปดว้ ย และสง่ ผลให้ระดบั รายได้ประชาชาติสงู ข้ึน 7

ปรมิ าณเงิน ( Money Supply ) ปริมาณเงิน คือ จานวนเงินทค่ี ิดเปน็ มูลค่า ทอ่ี ย่ใู นระบบ เศรษฐกิจสามารถแบง่ ความหมายไดใ้ นหลายระดบั 8

คานยิ ามของปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจไทย ปรมิ าณเงนิ ตาม • หมายถงึ ปริมาณเงินของทรัพย์สินทางการเงนิ ทใ่ี ช้เป็น ความหมายแคบ (M1)) ส่อื กลางในการแลกเปล่ียน • ประกอบด้วย ธนบัตรและเหรยี ญกษาปณ์ในมือประชาชน ปริมาณเงนิ ตาม • = M1 + เงินฝากประจาและเงนิ ฝากออมทรัพย์ของ ความหมายกว้าง (M2) ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจที่ธนาคารพาณิชย์ ปริมาณเงินตาม • = M2 + ตั๋วสญั ญาใชเ้ งินของบริษทั เงนิ ทุนที่ ความหมายกว้างมาก ถอื โดยภาคเอกชน (M3) 9

2.ตลาดการเงนิ (Financial Market) แบ่งตามระยะเวลาการลงทุน : ตลาดเงิน (Money Market) การลงทุนมรี ะยะต่ากวา่ 1 ปี ตวั อยา่ ง ตั๋วเงินคลัง ต๋วั สญั ญาใชเ้ งนิ ตลาดทุน (Capital Market) การลงทนุ มีระยะยาวกวา่ 1 ปี ตวั อย่าง พนั ธบัตร หุน้ กู้ ห้นุ สามัญ ห้นุ บรุ ิมสิทธ์ิ 10

ความสาคญั ของตลาดเงิน ตลาดเงนิ คอื ตลาดท่ีมกี ารระดมเงนิ ทนุ และการใหส้ ินเช่ือระยะส้นั ไมเ่ กิน 1 ปี การ โอนเงนิ การซ้อื ขายหลักทรัพยท์ างการเงินที่มีอายไุ ถถ่ อนระยะส้นั เชน่ ตัว๋ แลกเงนิ ตว๋ั สัญญา ใช้เงนิ และตัว๋ เงนิ คลงั เป็นต้น ตลาดเงินมี 2 ลกั ษณะ 1.ตลาดเงนิ ในระบบ ตลาดทีม่ กี ารระดมเงินออม และการให้สินเชื่อระยะสน้ั โดยสถาบนั การเงนิ 2.ตลาดเงนิ นอกระบบ ท่ีจัดตั้งขึ้นตามกฎหมาย เชน่ ธนาคารพาณชิ ย์ บรษิ ทั เงินทนุ และหลกั ทรัพย์ ธนาคารกลาง กจิ กรรมทางการเงินที่สาคัญของตลาดเงนิ ในระบบคือ การ กยู้ มื ระหวา่ งธนาคาร (Inter-Bank Loan หรอื Call Loan) การกโู้ ดยตรง หรอื เบกิ เกินบัญชีโดยมหี ลกั ทรพั ย์ค้าประกนั การกูโ้ ดยขายตราสารทางการเงนิ ตราสารการค้า ตลอดจนตราสารที่ธนาคารรับรอง ตลาดทมี่ ีการระดมเงนิ ออม และการใหส้ นิ เช่ือระยะสั้นโดย ไม่มกี ฎหมายรองรับสถานภาพของผ้ใู ห้สนิ เช่ือ กิจกรรมทาง การเงินที่สาคญั ได้แก่ การเลน่ แชร์ การให้กู้กันเอง เป็นต้น 11

ความสาคัญของตลาดทนุ ตลาดทนุ คือ ตลาดท่มี กี ารระดมเงนิ ออมระยะยาวและให้สนิ เชื่อระยะยาวตั่งแต่ 1 ปี ขึน้ ไป ได้แก่ เงนิ ฝากประจา หนุ้ กู้ หุน้ สามญั และพันธบัตรรัฐบาลและเอกชน 12

ตลาดทุน • แบง่ ตามลักษณะการซื้อขายหลักทรัพย์ • ตลาดแรก (Primary Market) คือ ตลาดทท่ี าการซื้อขายเฉพาะ หลกั ทรพั ย์ทผ่ี ู้ออกเปดิ ขายเปน็ คร้ังแรก เสนอขาย บรษิ ทั A นกั ลงทุน A 13

ตลาดทุน • แบง่ ตามลักษณะการซ้ือขายหลักทรพั ย์ • ตลาดรอง (Secondary Market) คอื ตลาดที่ทาการซ้อื ขายหลกั ทรพั ยท์ ี่ เคยถูกทาการซ้อื ขายมาแล้วในตลาดแรก 14

ตลาดทุน • แบ่งตามลักษณะตราสาร • ตลาดตราสารทุน - ห้นุ สามัญ, หุน้ บรุ ิมสทิ ธิ, ใบสาคญั แสดงสิทธิ, หุ้นกแู้ ปลงสภาพ • ตลาดตราสารหน้ี - พันธบัตรรฐั บาล, พนั ธบตั รรัฐวิสาหกิจ, หุน้ กูภ้ าคเอกชน 15

ต๋วั สญั ญาใช้เงิน (Promissory Note) เปน็ หนังสอื ตราสารซ่ึงบุคคลหน่งึ เรยี กวา่ “ผู้ออกต๋ัว” ให้คาม่ันสญั ญาว่าจะใชเ้ งนิ จานวน หนึ่งให้แกบ่ คุ คลอีกคนหนึ่งหรอื ใชใ้ หต้ ามคาส่ังของบคุ คลอกี คนหน่ึงเรียกว่า “ ผู้รบั เงนิ ” 16

ตว๋ั เงนิ คลัง คือ ตราสารทางการเงนิ ระยะสัน้ ทรี่ ัฐบาลเป็นผูอ้ อก จาหน่ายโดยวธิ ี ประมูลและชาระเงนิ ในราคาตราหกั ส่วนลด เม่ือครบกาหนดผถู้ ือ กรรมสทิ ธ์ิจะได้รับเงนิ เตม็ จานวนราคาตรา พันธบัตร คือ ตราสารทางการเงินที่รฐั บาล รฐั วิสาหกิจ และสถาบันการเงนิ ท่ี มกี ฎหมายจดั ตัง้ ขน้ึ เปน็ ผู้ออก โดยใหค้ ามนั่ สัญญาวา่ ผ้ถู อื มสี ิทธทิ ี่จะ ไดร้ บั ชาระต้นเงินตามพันธบตั รคนื ภายในกาหนดเวลา 17

หนุ้ สามญั (Common stock) มลี กั ษณะคอื บริษทั ออกตราสารเพ่อื ระดมทุนไปใชใ้ นการดาเนนิ ธุรกจิ ผถู้ ือหุ้นมีสว่ นร่วมเป็นเจา้ ของกิจการ และมีสทิ ธใิ นการออกเสียง ในท่ปี ระชุม หนุ้ บุรมิ สิทธิ (Preferred stock) มลี ักษณะคือ ก่ึงเจ้าของก่งึ เจ้าหนี้บรษิ ัท ผถู้ อื หนุ้ มสี ิทธิออกเสียงในท่ี ประชุมน้อยกว่าผูถ้ ือหุน้ สามญั และมีสทิ ธใิ นการรับชาระคืนเงินทุนก่อนผู้ ถอื หนุ้ สามัญแตห่ ลังจากเจา้ หนี้ 18

ตราสารหนี้ (Debt instrument) มีลกั ษณะคือ เป็นตราสารท่ีแสดงการกู้ยมื เงิน ผอู้ อกตราสารอยูใ่ น ฐานะลูกหนี้ การทาสญั ญาตกลงทจ่ี ะจา่ ยดอกเบยี้ เปน็ งวดๆ พรอ้ มกับเงนิ ต้นให้กับผูซ้ ้ือตราสารท่อี ยูใ่ นฐานะเจ้าหนเี้ มือ่ ครบกาหนดท่ีตกลงไว้ ตราสารอนุพนั ธ์ (Derivatives) มีลกั ษณะคือ เป็นสัญญาหรอื ข้อตกลงระหวา่ งบคุ คล 2 ฝา่ ย ในเร่อื ง “สทิ ธิ” และ “ ขอ้ ผูกพนั ” มูลค่าของตราสารประเภทนก้ี าหนดมาจาก มูลคา่ ของทรพั ย์สินอ่ืน หรอื สินทรัพย์พืน้ ฐาน และใชป้ ้องกันความเสีย่ งจาก การผันผวนของราคาห้นุ 19

ความแตกตา่ งระหว่างตลาดเงินและตลาดทนุ 1.การเสีย่ ง ตลาดทนุ เสี่ยงมากกว่าตลาดเงนิ 2.เครือ่ งมือในการใหก้ ู้ ตลาดเงินเป็นตราสารระยะสัน้ เชน่ ตว๋ั เงินคลงั ตลาดทนุ เป็นตราสารระยะยาว เชน่ พนั ธบัตร 3.ประเภทของสถาบนั การเงนิ ตลาดเงนิ เชน่ ธนาคาร ตลาดทุน เชน่ ตลาดหนุ้ 20

4.วตั ถปุ ระสงคใ์ นการขอกู้ ตลาดเงินเพ่อื การค้า ( เงนิ ทุนหมุนเวยี น) ตลาดทุนเพอ่ื การลงทนุ ระยะยาว 5.วธิ กี ารขอกู้ ตลาดเงินใช้การตอ่ รอง ตลาดทนุ ใช้การประมูล 6.ลกั ษณะของผคู้ า้ ตลาดเงินยินดีตอ่ ความเส่ียงภัยน้อยกว่าตลาดทนุ 21

ความสาคญั ของตลาดการเงิน 1.มีการระดมทนุ จากหนว่ ยเศรษฐกิจที่มีเงนิ ออมในขณะใดขณะหนึ่งจะมีหนว่ ยเศรษฐกจิ บางสว่ นมี รายได้มากว่ารายจา่ ย หากไมม่ ตี ลาดการเงนิ เงนิ ส่วนท่เี หลอื จากการใช้จา่ ยจะถือไวโ้ ดยไมม่ ี ผลประโยชนง์ อกเงย แต่เมอื่ มตี ลาดการเงนิ ก็จะสามารถนาเงินออมไปฝากไว้กับสถาบนั การเงินในรูป เงนิ ฝากประเภทต่าง ๆ 2.ก่อใหเ้ กดิ การจดั สรรเงินทนุ อย่างมีประสิทธภิ าพ 3.ช่วยรกั ษาอตั ราความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ 4.เมอื่ เกิดปญั หาเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารกลางจะใช้นโยบายการเงนิ เพ่อื ปรบั สภาวะทางเศรษฐกิจให้ เปน็ ไปตามตอ้ งการ 22

ลักษณะของสถาบนั การเงิน 1.เป็นองคก์ ารทางเงนิ ทีต่ ้งั ข้ึนตามกฎหมาย มสี ถานทแ่ี ละวัตถปุ ระสงค์ท่ีแน่นอน 2.ไม่มลี กั ษณะเปน็ องคก์ าร หากแต่เป็นวธิ ปี ฏบิ ัตเิ ป็นประจา เปน็ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี 23

ความหมายของสถาบนั การเงนิ หมายถึง สถาบนั ทท่ี าธรุ กจิ ในรปู ของการใหก้ ู้ยมื หรือเป็นตัวกลางระหว่างผูใ้ ห้กับผขู้ อกู้ โดยอาศัยเครอื่ งมือตราสารทางการเงนิ และรบั ความเส่ียงจากการให้กู้น้ันแทน โดยจะมีรายได้จาก ความแตกตา่ งระหว่างอตั ราดอกเบี้ยทไ่ี ดร้ ับกับอตั ราดอกเบย้ี ที่จา่ ย 24

หน้าทข่ี องสถาบันการเงนิ 1.เปน็ แหล่งทางการเงินทีผ่ ูก้ ู้และผ้ใู ห้กู้ 3.จดั ให้มีเงนิ ก้ใู นลักษณะต่าง ๆ ตามที่ผใู้ ห้กู้ และผู้ขอกตู้ ้องการ - ไม่ตอ้ งร้จู กั มาก่อนก็กไู้ ด้ 4.สะดวกในการโยกย้ายเงินทนุ จงึ ไมท่ าให้ - กไู้ ด้จานวนมากกวา่ ผู้ออมแตล่ ะคนจะใหก้ ู้ได้ อัตราดอกเบ้ียแตกต่างกนั มากนัก 5.ทาใหส้ ภาพคล่องของตราสารตา่ ง ๆ ดีขน้ึ 2.ใหค้ วามปลอดภยั ไดด้ ีกวา่ ผอู้ อมปลอ่ ยกู้เอง - มีประสบการณ์มานาน - มเี งนิ ทนุ มากในการจา้ งผูม้ ปี ระสบการณ์ - กระจายเงนิ ทนุ ไดห้ ลายทาง 25

ประเภทของสถาบนั การเงนิ สถาบันการเงนิ ที่เปน็ ธนาคาร (Bank institution) 1.ธนาคารแหง่ ประเทศไทย 2.ธนาคารพาณชิ ย์ 3.ธนาคารออมสนิ 4.ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 5.ธนาคารเพอื่ การสง่ ออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย 6.ธนาคารพัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม 26

สถาบนั การเงินทม่ี ิใชธ่ นาคาร (Non-Bank) 1.บรษิ ัทเงนิ ทุน 7.สหกรณ์ออมทรพั ย์ 2.บริษทั หลกั ทรพั ย์ 8.โรงรับจานา 3.บรษิ ทั เครดิตฟองซเิ อร์ 9.กองทนุ สารองเลีย้ งชพี 4.บรษิ ทั ประกันชีวิต 10.บรรษทั เงินทนุ อตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย 5.ตลาดหลักทรัพย์ 6.กองทุนรวม 27

3.ธนาคารพาณชิ ย์และการฝากเงนิ ธนาคารพาณชิ ย์ เป็นสถาบันการเงนิ เอกชน รับฝากเงินกระแสรายวนั จา่ ยโอนโดย เชค็ ซงึ่ ทาใหส้ ามารถสรา้ งเงินฝากได้ และมีธนาคารกลางควบคมุ ดแู ล 28

การสรา้ งเงนิ ฝากของระบบธนาคารพาณชิ ย์ เงนิ สดที่มีผนู้ ามาฝาก เงนิ ฝากทีเ่ กิดจาก เงนิ ฝากขั้นแรก เขา้ บัญชเี งนิ ฝากกระแส รายวนั การให้ลกู ค้าของ ธนาคารกยู้ ืม จานวนเงนิ สดท้งั ส้นิ ท่ีธนาคารมี อยู่ ได้แก่ผลรวมของเงนิ สด เป็นอตั ราทธ่ี นาคาร เงินฝากข้ันต่อไป สารองตามกฎหมายและเงินสด เงนิ สดทีเ่ หลือหลังจากหัก กลางกาหนดข้ึนเปน็ สารองสว่ นเกนิ เงินสดสารองตามกฎหมาย รอ้ ยละของเงินฝาก จานวนเงนิ สดที่ธนาคารต้องดารง โดยคานวณจากอตั ราเงินสด แล้ว สารองตามกฎหมายคณู ด้วย จานวนเงนิ ฝากกระแสรายวัน อตั ราเงินสดสารอง เงินสดสารอง เงนิ สดสารอง เงินสดสารอง ตามกฎหมาย ตามกฎหมาย ทงั้ ส้ิน สว่ นเกิน 29

ตารางแสดงกระบวนการสร้างเงนิ ของระบบธนาคาร ธนาคาร เงินฝากและเงนิ เงนิ สดสารอง เงินสดสารอง เงนิ ที่ธนาคาร ส่วนเกนิ ให้กู้ สารองทง้ั หมด ตามกฎหมาย 80.00 80.00 64.00 64.00 ก. 100.00 20.00 51.20 51.20 40.96 40.96 ข. 80.00 16.00 32.77 32.77 131.07 131.07 ค. 64.00 12.80 400.00 400.00 ง. 51.20 10.24 จ. 40.96 8.19 ฯลฯ 163.84 32.77 รวม 500.00 100.00 ทมี่ า : วนั รกั ษ์ มิง่ มณีนาคนิ (2554) หลกั เศรษฐศาสตร์มหภาค 30

สตู รการคานวณปรมิ าณเงินฝากสูงสุดท่ธี นาคารสร้างขนึ้ กาหนดให้ P = เงนิ ฝากข้นั แรก D1 = เงนิ ฝากทัง้ หมดทร่ี ะบบธนาคารสรา้ งขึน้ (ไมร่ วมเงินฝากครงั้ แรก) D2 = ผลรวมของเงนิ ฝากคร้ังแรกและเงนิ ฝากทง้ั หมดทร่ี ะบบธนาคารสรา้ งข้ึน r = อตั ราเงนิ สดสารองตามกฎหมาย A = เงนิ สดสารองสว่ นเกินของธนาคารแรก น่ันคือ P – Pr หรือ P(1-r) ผลรวมจานวนเงนิ ฝากครง้ั แรกและเงนิ ฝากทแ่ี ต่ละธนาคารสร้างข้ึนมาตัง้ แตธ่ นาคาร ก ไป จนถึงธนาคารสุดทา้ ยเทา่ กบั 31

D1 = P( 1-r )1 + P( 1-r )2 + P( 1-r )3 + ………….+ P( 1-r )n = P [( 1-r )1 + ( 1-r )2 + ( 1-r )3 + ………….+ ( 1-r )n ] (1 - r) A D1 = P r = r (1 - r) P 1 D2 = P+P r = r = P r 1 ดงั น้นั r คือตวั คูณการสร้างเงินฝาก 32

Ex. กาหนดให้ เงนิ ฝากครัง้ แรก เทา่ กับ 18,000 บาท อัตราเงนิ สดสารองตาม กฎหมายรอ้ ยละ 5 จงคานวณหาปรมิ าณเงินฝากสงู สดุ ที่ระบบธนาคารสรา้ งข้ึน (D1) และหาผลรวมเงินฝากครั้งแรกและเงินฝากสูงสุดทร่ี ะบบธนาคารสรา้ งข้ึน (D2 ) 33

การวเิ คราะหด์ ลุ ยภาพในตลาดเงนิ 1.อุปสงคต์ ่อการถือเงนิ (demand for money) 2.อปุ ทานของเงนิ (money supply) 3.ดลุ ยภาพของตลาดเงิน (equilibrium of money market ) 34

1.อุปสงค์ตอ่ การถือเงิน (demand for money) ทฤษฎีการเงินของสานักเคนสแ์ บง่ ความต้องการถอื เงนิ เป็น 3 ลักษณะ ดังน้ี 1) ความตอ้ งการถือเงนิ เพือ่ ใช้จา่ ยประจาวัน 2) ความต้องการถอื เงินเพือ่ ใช้จา่ ยในยามฉกุ เฉนิ 3) ความตอ้ งการถือเงนิ เพือ่ เก็งกาไรหรอื เพ่ือหาผลตอบแทน 35

1) ความตอ้ งการถอื เงนิ เพ่อื ใชจ้ ่ายประจาวัน สมการ Lt = kY Lt =ปรมิ าณเงินที่ต้องการถอื ไว้เพอ่ื ใช้จ่าย k = อัตราสว่ นของรายได้ที่ต้องการถือไว้เพือ่ ใชจ้ ่าย Y = รายได้ 36

Y Lt = kY จากรูปจะเห็นไดว้ า่ เส้นอปุ สงค์ต่อการถือเงิน เพือ่ ใชจ้ า่ ยเปน็ เสน้ ตรงทามุมนอ้ ยกวา่ 45๐ กบั แกนตัง้ เพราะอัตราส่วนของรายได้ ประชาชาตติ อ่ มลู ค่าของธุรกรรมทางเศรษฐกจิ คงท่ีทุกระดับรายได้ และมีคา่ น้อยกว่า 1 และ เปน็ เสน้ เฉียงข้ึนจากซ้ายไปขวา แสดงวา่ ปริมาณเงินท่ีตอ้ งการถือจะแปรผนั โดยตรงกับ รายได้ แต่จะแปรผันกับอตั ราดอกเบีย้ 0 Lt รูปท่ี 1 อุปสงค์ต่อการถือเงินเพ่ือใช้จ่าย 37

❖กรณีท่ผี ้ถู ือเงินไวใ้ ชจ้ า่ ยโดยเฉล่ยี เปน็ จานวนมากจะสามารถหาผลประโยชนร์ ะยะส้นั จากเงนิ ทีถ่ อื ไว้ เช่น บรษิ ัทขนาดใหญ่ อาจนาเงนิ ไปซอ้ื หลักทรัพย์ท่ีให้ผลตอบแทน ❖กรณีที่ผ้ถู อื เงินไว้ใชจ้ า่ ยโดยเฉลยี่ เป็นจานวนน้อย การเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบี้ยยอ่ ม ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ ความต้องการถอื เงนิ เพือ่ ใชจ้ า่ ย ดังน้นั นกั เศรษฐศาสตร์จงึ เห็นว่า เม่ืออัตราดอกเบ้ียสูงพ้นระดับหน่ึงไปแลว้ เส้นความต้องการถอื เงนิ เพ่อื ใชจ้ า่ ยจะมี ลักษณะโค้งกลับ ดงั รปู ที่ 2 38

r Lt = f ( Y,r ) Lt =ปรมิ าณเงนิ ทีต่ ้องการถอื ไว้เพอ่ื ใช้จ่าย L1 L2 r = อตั ราสว่ นดอกเบีย้ r1 Y = รายไดป้ ระชาชาติ จากรปู ณ ระดบั อัตราดอกเบยี้ ค่อนข้างต่า ความต้องการถือเงนิ จะ ไมม่ ีความยืดหยุ่นเลย แต่ความ ตอ้ งการถือเงินข้ึนกับอตั ราดอกเบย้ี เม่อื อตั ราดอกเบีย้ อยู่ในระดับสูง 0 Lt รูปที่ 2 อุปสงค์ตอ่ การถอื เงินเพ่อื ใช้จ่าย 39

• เพอื่ การวเิ คราะหใ์ หง้ า่ ย สมมตใิ หว้ า่ การเปล่ยี นแปลงอตั ราดอกเบ้ยี มีผลกระทบ ความตอ้ งการถือเงนิ นอ้ ยมาก จึงตัดออกไมพ่ จิ ารณา โดยเหตุท่ีชว่ งเวลาของการ ไดร้ ับรายไดม้ กั จะไมเ่ ปลี่ยนแปลง ดงั นน้ั จงึ สรุปไดว้ า่ ความตอ้ งการถอื เงนิ มวล รวมข้ึนอย่กู ับระดบั รายได้ประชาชาตอิ ยา่ งเดยี ว มีสมการดังน้ี Lt = kY 40

2) ความตอ้ งการถือเงินเพ่อื ใชจ้ า่ ยในยามฉกุ เฉนิ มี 2 ปจั จยั ไดแ้ ก่ รายได้และอตั ราดอกเบ้ยี บคุ คลที่มรี ายได้มากย่อมกันเงินไวใ้ ช้จ่ายในยามฉกุ เฉนิ ไดม้ าก และถา้ อัตราดอกเบ้ียสูงพอที่จะ ได้กาไรจากการลงทุนซ้อื หลักทรพั ย์ กจ็ ะนาเงนิ ไปซ้อื หลักทรพั ย์มาถือไว้ และขายเมื่อต้องใช้ ฉุกเฉิน การถือเงินเพ่อื ใช้จ่ายกรณฉี กุ เฉนิ จึงมีปรมิ าณลดลง สมการ Lp = L t(Y,r ) 41

เพอื่ ใหก้ ารวิเคราะหง์ ่ายขน้ึ สมมติวา่ อัตราดอกเบ้ียมีอทิ ธพิ ลตอ่ ความต้องการถือเงินใช้ จ่ายยามฉุกเฉินนอ้ ยมากหรอื ไม่มเี ลย ดงั นนั้ ความต้องการถอื เงินเพอื่ ใชจ้ า่ ยยามฉกุ เฉนิ จึงขน้ึ อยู่ กับระดบั รายได้ประชาชาติอย่างเดียว สมการ Lp = kY 42

3) ความตอ้ งการถือเงินเพื่อเก็งกาไรหรอื เพอื่ หาผลตอบแทน ผู้มรี ายไดท้ ั่วไปจะแบง่ รายได้ 2 ส่วน 1.เพ่ือใช้จ่าย 2.เกบ็ ออมไว้ เรยี กว่า การถอื เงนิ เพื่อหาผลตอบแทน (Ls) ปรมิ าณเงินที่ ถือไวเ้ พ่อื หาผลตอบแทนมคี วามสมั พนั ธ์ผกผันกับอตั ราดอกเบี้ย ส่วนอตั ราดอกเบยี้ กม็ คี วามสัมพันธ์ ผกผนั กับราคาหลักทรพั ย์ การตัดสินใจของผู้ออมทีจ่ ะถือเงนิ สว่ นน้ี จะขน้ึ อย่กู ับการคาดคะเน แนวโน้มของอตั ราดอกเบี้ยและราคาหลกั ทรพั ย์ในอนาคต 43

r Ls Ls 0 44 รปู ท่ี 3 เสน้ ความต้องการถือเงินเพอ่ื เก็งกาไร

• ความต้องการถือเงนิ ทั้งสามลักษณะรวมกนั คือ อุปสงคต์ ่อการถือเงินทัง้ หมด ( demand for money , Md ) สมการ Md = Lt (Y,r) + L p (Y) + Ls (r) • เมื่อนารปู ที่ 2 และ 3 มาบวกกันตามแนวนอน จะได้เส้นอปุ สงคต์ ่อการถอื เงินทงั้ หมด แสดงในรปู ท่ี 4 45

r Md 0 M รปู ท่ี 4 เสน้ อุปสงคต์ อ่ การถอื เงนิ 46

2.อุปทานของเงนิ (money supply) คอื ปรมิ าณเงนิ M1 M2 และ M3 ซงึ่ การวิเคราะห์โดยท่ัวไปจะใชป้ ริมาณเงนิ ตาม M2 ดังนัน้ อุปทานของเงนิ คือ ปรมิ าณเงินที่หมุนเวยี นอยู่ในระบบเศรษฐกิจในขณะ ใดขณะหนึ่ง ซ่งึ เป็นอสิ ระไม่ขน้ึ กับอัตราดอกเบ้ียแตข่ น้ึ อย่กู บั นโยบายการเงินของ ธนาคารกลาง ดังนนั้ เสน้ อุปทานของเงิน จึงไม่มีความยืดหยนุ่ ตอ่ อัตราดอกเบีย้ 47

r Ms1 Ms2 Ms3 0 M1 M2 M3 M รูปท่ี 5 เส้นอุปทานของเงนิ 48

3.ดลุ ยภาพของตลาดเงนิ M E r Md r1 r r2 M1 M M2 M รูปท่ี 6 ภาพดุลยภาพของตลาดเงิน 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook