Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคนิคการทำซึงของครูสล่า

เทคนิคการทำซึงของครูสล่า

Description: เทคนิคการทำซึงของครูสล่า

Search

Read the Text Version

๔๑ ช่างบุญรัตน์เกิดความเชี่ยวชาญในการทำซึง แบบขุด ฝีมือเชิงช่าง ศลิ ปหัตถกรรม อย่างมีเอกลกั ษณ์ ประจำตัว พ่อครูบุญรัตน์ ทิพย์รัตน์ เทคนิคการทำซงึ ของครสู ลา่ ❖ เทคนิคการทำซงึ ของครูสล่า พอ่ ครูบุญรตั น์ ทพิ ย์รตั น์ สว่ นหนง่ึ ของเครือ่ งมือชา่ ง

๔๒ ไม้ท่ีนำมาทำซึง ปัจจุบันนิยมทำด้วยไม้ขนุน ไม้สัก ไม้ประดู่ โดยส่ังซื้อจากคนตัดไม้ ราคาท่อนละ ๕๐๐-๑,๐๐๐ บาท หรือเป็นไม้ท่ีผู้ว่าจ้างนำมาให้ด้วยตนเอง ช่างจะต้องมีความรู้เรื่อง ชนิดของไมเ้ ป็นอยา่ งดี ดูไม้เป็น ไม้ทที่ ำซงึ แบบขดุ มี ๓ ขนาด คอื ซึงเล็ก ขนาดหน้ากวา้ ง ๘ น้วิ ซงึ กลาง ขนาดหนา้ กว้าง ๑๐ นิ้ว และซงึ ใหญ่ ขนาดหนา้ กว้าง ๑๒ นิว้ ❖ ขั้นตอนเทคนิคการทำซึงเชิงช่างของครูสล่า ของพ่อครูบุญรัตน์ ทิพย์รัตน์ มีข้ันตอนการ สร้างดังน้ี ๑) เตรียมไม้ วัดสัดส่วน เพอ่ื ขุด เจาะ ขนึ้ รปู ซึง ตามแบบที่วาดขึน้ ๒) ขั้นทำหน้าซึง หรอื เรียกวา่ ตาดซึง โดยเล่อื ยหน้าไม้ (ไมส้ ัก) ด้วยมือ สว่ นความหนา ความบางของตาดซงึ น้นั ใช้การเคาะเพือ่ ฟังเสียง กลา่ วคือใช้ประสบการณ์เป็นหลัก

๔๓ ๓) ขั้นแต่งซึง หรือการตกแต่งเจียหน้าซึงให้เป็นเน้ือเดียวกัน หลังจากน้ัน ทำการขัดซึง เพอ่ื ให้สามารถทาสไี ด้ ๔) ข้ันทำการสร้างลูกบิดซึง สำหรับเป็นหลักเทียบเสียง ท้ังแบบของเก่า(ลูกบิดไม้) และ ของใหม่ (ลกู บดิ กีตาร์) ๕) ขั้นใส่สายซงึ และตดิ ลกู ซึง ทีมงาน KM ขอบพระคุณและถา่ ยภาพร่วมกับพ่อครูบุญรัตน์ ทพิ ยร์ ัตน์ เรื่อง เทคนคิ การทำซึงของครสู ล่า

๔๔ ๒. เจ้าสุรศกั ดิ์ ณ เชียงใหม่ ประวตั ิ เจา้ สุรศักด์ิ ณ เชียงใหม่ อายุ ๖๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓) เป็นบตุ รชายเจา้ สนุ ทร ณ เชียงใหม่ เกดิ ทอี่ ำเภอเมอื ง จ.เชียงใหม่ ทอี่ ยู่ ร้านเชียงใหม่การดนตรี บ้านเลขที่ ๒๔๑ หมู่๑ ตำบลสันผักหวาน อำเภอหางดง เชียงใหม่ ๕๐๒๓๐ โทรศัพท์ ๐๕๓-๔๓๑๗๐๐ ๐๘๑-๙๘๐๗๗๔๘ เจา้ สุรศกั ดิ์ ณ เชยี งใหม่ เทคนคิ การทำซึงของครสู ล่า

๔๕ ๓. นายอินทร์ ทองจำรสั ประวัติ นายอินทร์ ทองจำรสั อายุ ๖๗ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓) ช่างทำซึงประจำรา้ นเชียงใหมก่ ารดนตรี ท่ีอยู่ บา้ นเลขท่ี ๓๒ หมู่ ๗ ตำบลหนองควาย อำเภอหางดง เชียงใหม่ ๕๐๒๓๐ นายอินทร์ ทองจำรัส ช่างทำซงึ ร้านเชียงใหมก่ ารดนตรี

๔๖ ❖ ข้ันตอนเทคนิคการทำซึงเชิงช่างของครสู ล่า ของเจา้ สุรศักด์ิ ณ เชียงใหม่ ร้านเชียงใหม่ การดนตรี มีขนั้ ตอนการสรา้ งดังน้ี โรงงานร้านเชียงใหม่การดนตรี เปน็ โรงงานทำดนตรีขนาดใหญ่ มกี ารเตรียมไวจ้ ำนวนมาก ไมเ้ หลา่ นสี้ ง่ั มาจากโรงเลือ่ ยและบางคร้ังก็คดั มาเป็นพิเศษ เพ่ือทำเครอื่ งดนตรโี ดยเฉพาะ เชน่ ไมป้ ระดู่ ไมบ้ ุนนาค ไม้ชิงชนั (ไม้เกล็ด) ไมพ้ ญาง้ิวดำ ไมม้ ะเก๋อื แผ่นไมอ้ ดั ฯลฯ เคร่ืองมือในโรงงานมีทกุ ชนดิ ท้ังขนาดใหญแ่ ละขนาดเล็ก

๔๗ การทำซึง มที ั้ง ๒ แบบ คือ แบบประกอบ และแบบขุด และนำไมข้ นนุ (ส่วนใหญ่) ท่ผี ่านการ คัดเลือกจากช่างท่ีชำนาญ การสรา้ งซึงส่วนมาก เป็นศิลปะเชงิ อสุ าหกรรม จะทำเป็นซึงประกอบ คือ นำไม้มาประกอบ ขึ้นเป็นซึง ข้ึนรูปเป็น ๓ ขนาดคือ ซึงเล็ก ขนาดหน้ากว้าง ๘ น้ิว ซึงกลาง ขนาดหน้ากว้าง ๑๐ น้ิว และซงึ ใหญ่ ขนาดหน้ากวา้ ง ๑๒ นิว้ โดยมีข้ันตอนการสรา้ ง ดังน้ี ๑) ข้ันการเตรียมไม้ ซึ่งสว่ นใหญ่จะเปน็ ไม้ขนนุ ที่เป็นวัสดทุ ่ีสะดวกและงา่ ยต่อการสรา้ ง ซงึ แบบขุด โดยการสรา้ งซึงทุกคร้ัง การสรา้ งตัวซึง ภายหลังจากการตัดไม้ท่อนใหญ่ ให้เหลอื เป็นด้าม ไมส้ ำหรบั ทำซงึ จะเริม่ ตน้ ด้วยการทาบแบบการสรา้ งตัวซึงทท่ี ำไว้ตามขนาดที่ต้องการ ขึ้นรปู แบบและ เจาะลายละเอียด ด้วยเคร่อื งมือตดั มอเตอรไ์ ฟฟ้า

๔๘ ๒) ขั้นข้ึนรูปกล่องเสียงซึง ขั้นตอนนี้ ถือเป็นพัฒนาการทางการสร้างเคร่ืองดนตรีพ้ืนเมือง อกี เร่ืองหน่ึง ท่ีคิดคน้ ข้ึนโดยเจา้ สนุ ทร ณ เชียงใหม่ และมีการปรับปรุงตามยุคสมัย โดยการสร้างกลอ่ ง เสียง จะใช้แผ่นไม้อักอบไอน้ำ ดัดให้โค้งงอ ตามสัดส่วนท่ีต้องการ ติดกาวลาเท็กซ์ ตอกตะปู เมื่อไม้ แห้งจะทำใหไ้ ม้เกดิ ความแข็งแรง จากนั้นจงึ เริ่มประกอบโครงทั้งหมดรวมกัน ครบเปน็ ตัวซงึ ๓) ข้ันปิดหน้าซึง ด้วยแผ่นไม้อัด วัดขนาดตามโครงกล่องเสียงซึง จากน้ันตัดแผ่นไม้ด้วย เคร่ืองมือตัดไฟฟ้า หลักการสำคัญอย่างงหน่ึงของการทำหน้าซึง กล่องเสียง คือส่วนท่ีสำคัญของ การกำเนิดเสียง ปัญหาท่ีพบ คือ เม่ือเวลาผ่านไป หน้าซึง หรื อตาดซึง จะโก่ง โค้งงอ ดังน้ัน มีการทดลองวิธีการแก้ไขอยู่ ๒ ระยะ คอื ระยะแรก ทำคานไม้ตั้งตรงกลางตาดซึงด้านใน แต่เสียงไม่ กังวาน ระยะท่ีสอง ปรับปรุงเป็น ทำคานไม้วัดตามขนาดแนบติดกาวขวางตรงกลางตาดซึงด้านใน คุณภาพเสยี งกงั วานยงิ่ ขึน้

๔๙ ๔) ขนั้ ประกอบ แต่งซึง ขัดซงึ ใชก้ ระดาษทรายขัด ให้ราบเรียบ พน่ สี ใหเ้ รียบร้อยสวยงาม ๕) ขั้นใส่สาย ติดลูกซึง ไล่ระดับเสียง ลักษณะเหมือนกับลูกแบบขุด ใส่กล่องเพ่ือรอการ สง่ ออกเคร่อื งดนตรี

๕๐ ทีมงาน KM ขอขอบพระคุณเจ้าสรุ ศกั ด์ิ ณ เชยี งใหม่ และคณะ

๕๑ ๔. นายกำจร เทโวขตั ิ ประวัติ นายกำจร เทโวขัติ เกดิ วนั ที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๑๔ อายุ ๔๙ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓) เกดิ ทบ่ี ้านแม่ลาย อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ บิดาชื่อ นายทอง เทโวขตั ิ มารดาชือ่ นางออ่ นแกว้ เทโวขตั ิ ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขที่ ๑๓๖/๑ หมู่ ๖ บา้ นวังสิงห์คำใต้ ตำบลปา่ แดด อำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ โทรศพั ท์ ๐๘๑-๓๕๒๕๐๙๔ ประวตั กิ ารศึกษา ระดบั ประถมปที ่ี ๖ โรงเรยี นบ้านแมล่ าย อำเภอแมอ่ อน จังหวัดเชยี งใหม่ ระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ กศน. จังหวดั เชียงใหม่ ประวัติการทำงาน หลังจากจบการศึกษาตามเกณฑ์ในสมัยน้ัน ช่างกำจร โทโวขัด ราวอายุประมาณ ๑๘ ปี ได้ขอเข้าเป็นศิษย์กับพ่อครูบุญรัตน์ ทิพย์รัตน์ เป็นช่างฝึกหัด เริ่มจากฝึกแกะกะลามะพร้าวทำซออู้ เป็นครั้งแรก พัฒนาฝีมือเรื่อยมาจากฝึกประกอบขิม ขุดจะเข้ ซอด้วง รวมไปถึงเทคนิคการทำซึง เม่ือพ่อครูบุญรัตน์ ทิพย์รัตน์เห็นว่าตนมีความชำนาญในวิชาท่ีสอนให้ จึงเริ่มสอนเทคนิควิธีการกลึง ลูกบิดซอด้วง ลูกบิดซออู้ ลูกบิดจะเข้ ใหแ้ ก่ช่างกำจร เทโวขัติ จนกระทัง่ ความกระแสความนิยมการ ดนตรีเมืองมีมากย่ิงขึ้น จึงมีคนส่ังทำเคร่ืองดนตรีซึง สะล้อ จากพ่อครูสู่ลูกศิษย์ ผลิตผลการสร้าง เครื่องดนตรีขึ้นในแนวทางที่เป็นแบบการขุด ฝีมือเชิงช่าง ศิลปหัตถกรรม เปี่ยมด้วยความสวยงาม และเสยี งท่มี คี ุณภาพ ปัจจุบัน ช่างกำจร เทโวขัติ ได้ถูกจัดลำดับช่างทำเครื่องดนตรีพื้นเมือง ซึง-สะล้ออิสระ เป็นที่ยอมรับของเหล่าศิลปินนักดนตรีมืออาชีพ ต้องเข้ามาเยี่ยมเยือน และจัดส่ังทำเครื่องดนตรีที่ บ้านช่างกำจร เทโวขัติ และนับได้ว่า ได้เป็นผู้สืบทอดลมหายใจของศิลปะเชิงช่างมาจาก พ่ อครูบุ ญ รัตน์ ทิ พ ย์รัตน์ ท่ี รับ ถ่ายท อ ดมาจาก เชิงช่างม าอี ก ที (สืบ ค้น เพ่ิ มเติมได้ ท่ี ประวตั ิพอ่ ครบู ญุ รตั น์ ทพิ ยร์ ัตน์)

52 นายกำจร เทโวขัติ เทคนิคการทำซึงของครสู ล่า ไม้ที่นำมาทำซึง ปัจจุบันนิยมทำด้วยไม้ขนุน ไม้สัก ไม้ประดู่ ไม้ฮอกเก้ียน (ไม้ที่ใช้ทำไวโอลิน กีตาร์ เครื่องดนตรฝี ร่งั ) โดยสง่ั ซอื้ จากคนตดั ไม้ ราคาท่อนละ ๕๐๐-๑,๐๐๐ บาท หรือเป็นไมท้ ่ี ผ้วู ่าจา้ งนำมาให้ด้วย ตนเอง ช่างจะต้องมคี วามรู้เรื่องชนดิ ของไม้เป็นอย่างดี ดูไมเ้ ป็นไม้ทท่ี ำซึงแบบขดุ มี ๓ ขนาด คอื ซึงเล็ก ขนาด หน้ากวา้ ง ๘ นว้ิ ซึงกลาง ขนาดหน้ากวา้ ง ๑๐ นิว้ และซึงใหญ่ ขนาดหน้ากว้าง ๑๒ น้ิว ข้ันตอนเทคนิคการทำซึงเชิงชา่ งของครูสล่า ของกำจร เทโวขัติ มขี นั้ ตอนการสร้างดงั น้ี ๑) ขัน้ วัด ขดุ เจาะ การเตรียมไม้สำหรับทำซงึ ทำดว้ ยไมข้ นนุ ไมส้ กั ไม้ประดู่ ไม้ฮอกเกี้ยน (ไมท้ ใ่ี ชท้ ำ ไวโอลิน กีตาร์ เคร่ืองดนตรีฝร่ัง) ต้องวัดและวาดตามสูตรและขนาดที่วางไว้ ในขั้นตอนน้ี จะเป็นข้ันตอนท่ี สำคญั อย่างหน่งึ เพราะตอ้ งใชค้ วามชำนาญในการใช้เครื่องมือไฟฟา้ ในการตัด เป็นพิเศษ และใชไ้ ม้ท้งั แผ่นเป็น แผ่นใหญ่ ขุดเจาะ เพอ่ื เจาะสรา้ งโครงซงึ ท้ังตัว

53 ๒) ข้นั ทำหนา้ ซึง หรือเรยี กว่า ตาดซงึ โดยเล่ือยหน้าไม้ (ไม้สัก) ดว้ ยมือ ส่วนความหนา ความบางของ ตาดซึงน้ัน ใช้การเคาะเพื่อฟังเสียง กล่าวคือใช้ประสบการณ์เป็นหลัก สืบทอดหลักการมาจากพอ่ ครูบุญรัตน์ ทิพยร์ ตั น์ ผ่านการขัด ทาสี เพ่อื ให้ซงึ มคี วามสวยงาม

54 ๓) ข้ันการฉลุ เป็นข้ันตอนท่ีต้องใช้ความละเอียดของศิลปะเชิงช่าง หัตถกรรมมาผสมผสาน กับการ สร้างเคร่ืองดนตรี ซงึ ไปพร้อม ๆ กนั ด้วย ซึง่ จะทำใหซ้ ึงมีความสวยงาม เป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะของช่างกำจร เท โวขตั ิ ๔) ขั้นกลงึ ลูกบิด ติดตั้งลูกบิดกตี าร์ เพื่อการขึงสายซึงเข้ากับโครงซงึ ขั้นตอนนี้ ตอ้ งใช้ความชำนาญ เป็นอยา่ งย่งิ สำหรบั ลูกบิดไมเ้ มื่อกลึงแลว้ สไี มต่ ้องทา เมือ่ ก่อนใชเ้ ทคนคิ ไขปลาวาฬถลู งไปบนเน้อื ไม้ แตต่ อนนี้ ใช้น้ำมนั เมอ่ื นำมนั ถลู งไปบนเนอ้ื ไม้ จะเกิดความมันวาว สวยงาม เปน็ ธรรมชาติ

55 ๕) ขน้ั ติดลูกซึง ต้องเทียบเสียงและติดลูกซึง หรือนมซึง ให้ตรงตามเสียงท่ีเป็นมาตรฐาน วัดเสียงขีด ดินสอ ตดิ กาวให้เรยี บร้อย พร้อมส่งออกสู่ศลิ ปินมอื อาชพี เทคนคิ ลกั ษณะเฉพาะ ของการทำซงึ ของช่างกำจร เทโวขตั ิ ทมี งาน KM ขอขอบพระคณุ ช่างกำจร เทโวขัติ

56 ๕. สรุปความรเู้ ก่ียวกับการทำซึง จากการลงพ้ืนที่การจัดการความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ิน เรื่อง เทคนคิ การทำซงึ ของครสู ลา่ พบว่า ซึง มหี ลักการสรา้ งเครอื่ งดนตรอี ยู่ ๒ ลกั ษณะ คือ การทำซึงแบบขดุ และการทำซงึ แบบประกอบ ท้งั สองลักษณะ นี้มีความแตกต่างในกลไกลการประดิษฐ์สรา้ ง กล่าวคือ การทำซงึ แบบขุด เป็นการใชไ้ มท้ ั้งแผ่นตามขนาดของ ลักษณะซึง เม่ือได้ไม้แล้ว ผู้สร้างจะนำไม้ไปเลื่อย และเจีย ให้เกิดรูปทรงตามท่ีได้ออกแบบไว้ ส่วนการทำซึง แบบประกอบ จะเป็นการนำเอาช้ินส่วนแต่ละส่วนของไม้ ที่ผู้สร้างไดจ้ ัดเตรียมไว้แล้ว มาประกอบขน้ึ รูปเป็น เครื่องดนตรี ซึง ถือว่า เป็นนวัตกรรมหน่ึงของ การใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่า ดังนั้น รูปแบบ การประดิษฐ์สร้าง ซึง ท้ัง ๒ แบบ จะเป็นที่นิยมมากน้อยเพียงใด ก็ขึ้นอยู่กับหลักการใช้ของผู้บรรเลงดนตรี พืน้ เมือง หากกล่าวถึงลักษณะเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ของครูสล่าทั้ง ๓ ท่าน จะเห็นว่า แต่ละท่านแม้ว่าจะมี ทีม่ าจากแหล่งเดียวกนั และเม่อื มกี ารทำเคร่ืองดนตรดี ้วยตัวเอง กม็ ีวธิ ีการคิดพัฒนาให้เป็นเอกลักษณะเฉพาะ ตนเอง เชน่ การสร้างซงึ แบบขุด กจ็ ะมกี ารออกแบบตกแตง่ หวั ซึง ตาดซึงทีแ่ ตกตา่ งกนั ไป สำหรบั การสรา้ งซึง แบบประกอบ พัฒนาการมาตั้งแต่เจ้าสุนทร ณ เชียงใหม่ที่วิธกี ารอบที่ทันต่อยุคสมัย การตกแต่งบางประการ เชน่ จากการทาสี กป็ รับมาเป็นการพ่นสี ด้วยเครอ่ื งแอบัส (เครอื่ งพ่นสี) การตดั ไม้ โบราณใช้ไมเ้ ลื่อย ปัจจุบัน ใชเ้ ครือ่ งเล่ือยไฟฟ้า ตอบสนองต่อการจัดการแบบอุตสาหกรรมดนตรี การปรบั ตัวทีอ่ ยู่บนพ้นื ฐานของ สถานที่ และเวลา แหลง่ ทนุ เป็นสำคัญ ในขณะเดยี วกนั เทคนิคการทำซึง ย่อมต้องอยู่บนพ้ืนฐานของคุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนรู้ การ เข้าหาองค์ความรู้จากครูสล่าสู่ผู้เรียน อันจะเป็นการพัฒนาฝีมือ และเพ่ือเป็นการยกระดับวิธคี ิดสู่ความดีงาม ให้เกดิ การนา่ ติดตามของการจัดการองค์ความรู้ ทีย่ ่อมตอ้ งใหท้ ้งั กรณีน้ี เดนิ ทางควบคไู่ ปด้วยกันอยสู่ ม่ำเสมอ ลักษณะท่วั ไป การจัดการความรู้ (KM) เรื่อง เทคนิคการทำซงึ ของครูสล่า สรุปได้ดังนี้ จากเอกสารโบราณ คำว่า ซึง เป็นเครื่องดนตรพี ื้นบา้ นล้านนา ที่มีลักษณะเรยี บง่าย ชาวบ้านสามารถทำเล่นเองได้ และปัจจุบนั ก็ยังมีเครื่อง ดนตรีทมี่ ีจำหนา่ ยอยา่ งแพร่หลายอีกด้วย ซึง มีรปู ร่างคลา้ ยกับ พิณของ ภาคอีสาน แต่ในวรรณกรรมบางเรอื่ ง และโคลงนิราศหริภุญชัยเรียกว่า “ติ่ง” ซึง เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองเหนือประเภทเคร่ืองดีด มี ๒ สาย (บรรเลงวงขบั ซอ) มี ๔ สาย (บรรเลงวงสะล้อซึง) นิยมบรรเลงเลน่ กันอย่างแพรห่ ลายในภาคเหนือ ซ่ึงเดิมใช้ เป็นเครื่องดนตรปี ระจำตัวของ ผู้ชาย สำหรับไปแอว่ สาว เช่นเดียวกับพิณเพ๊ียะ มีรปู ร่างบางอย่างคล้ายคลึง กับกระจับป่ี (ไทยโบราณ) เหมือนพิณอีสาน และบางทีก็เหมือนกับกีตาร์ (เคร่ืองดนตรีฝร่ัง) ปัจจุบันซึงมี ทัง้ หมด ๓ ขนาด ได้แก่ ขนาดเลก็ (ซงึ หนอ้ ย) ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ (ซึงหลวง)

57 จากการศึกษาเรื่องเทคนคิ การทำซงึ ของครสู ล่า สามารถแบ่งตามลักษณะได้ ๓ ประเภทของขนาดซึง คือ ซงึ เล็ก ซ่ึงกลาง และซึงหลวง (ซึงที่มีขนาดใหญ)่ แบ่งการเทียบเสียงได้ ๒ ชนิด คือ ซึงลูก ๓ และซึงลูก ๔ (แตกต่างกันท่ีเสียง ลูก ๓ เสียงซอลจะอยู่ ดา้ นล่าง สว่ นซึงลกู ๔ เสยี งซอลจะอย่ดู ้านบน) ซงึ มีสว่ นประกอบสำคญั ดงั นี้ ๑. โรงเสยี ง ๒. ตาดซึง ๓. คอซงึ ๔. ลูกซงึ ๕. สายซึง ๖. ก๊อปซงึ ๗. หลกั ซึง หรอื ลกู บดิ ซงึ ๘. หัวซึง ส่วนประกอบของซงึ จากการศึกษาเทคนิคการทำซึงของครูสลา่ ทำใหเ้ ห็นหลักการสรา้ ง ดงั น้ี ๑. ตัวซึง หรือ ด้ามซึง เป็นท่ีตั้งหรือเป็นส่วนประกอบท่ีสำคัญท้ังหมด ซงึ่ จะทำให้สามารถปิดตาดซึง ติดลูกบิด ติดหยอ่ ง ขงึ สายทำให้เกิดเสยี งข้ึนมาได้ นับได้ว่า คือร่างกายของซึง ท่ีซึงต้องมีร่างกายเพื่อเป็นท่ีต้ัง แห่งการกำเนิดเสยี งนั้น ๒. ตาดซึง ทำด้วยแผ่นไม้ ท้ังไม้สักแห้ง ตัดให้เป็นแผ่นบาง ๆ ใช้ประสบการณ์เคาะฟังเสียง (ภูมิ ปัญญาบรรพชน) และหากเป็นซึงประกอบ จะใช้ไม้อัดพร้อมท้ังสอดเทคนิคกันตาดซึงแอ่น โค้งงอ ไม่สวย ตกแต่งฉลุลาย ตามแต่ละสำนักจะสร้างข้ึน และไม่ว่าซึงขุด และซึงประกอบ การสร้างขึ้นมา ย่อมขึ้นอยู่กับ ความต้องการของผใู้ ช้ ๓. ลูกบิด ทำด้วยไม้เนื้อแข็งลักษณะกลม เรียวด้านหัวใหญ่ขนาดมือจับพอดีตรงกลางทำสี่ลูกบิด ปจั จบุ นั ลกู บดิ ไม้ เป็นเพียงสญั ญาลกั ษณ์ เพอ่ื ความสวยงามเท่านัน้ จะใช้ลกู บดิ กีตาร์ตดิ ไว้ข้าง ๆ แทน ๔. หย่องบน ทำด้วยไมเ้ ล็กๆสูงกว่านมเล็กน้อยโดยติดต่อลงมาจากช่องสายผ่านเพ่ือหนุนสายให้ลอย เหนือนม ๕. ตะพานหรือนมทำด้วยไม้เล็กๆเหลาเป็นทรงสามเหลี่ยมติดท่ีด้านหน้าตัวซึง พาดยาวลงมาให้ เหมาะสมกับตัวซงึ ๖. สายทำด้วยลวดทองเหลือง ๔ เส้น โดยพนั ผูกจากลกู บิดกีตาร์ แยกเป็นคู่ๆขงึ ขนานผ่านมายังหน้า ซึง ผา่ นรรู ะบายผาดบนหย่องล่าง ซ่ึงทำดว้ ยไมเ้ ลก็ เช่นเดยี วกับหย่องบนติดที่หน้าตวั ซงึ เพ่ือหนุนสายให้ผ่านนม และไปพันผกู ที่หลักผกู สาย

58 ๕.๑ การประมวลและกลนั่ กรอง จัดกิจกรรมเสวนาเชิญคณะกรรมการ ครู อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบข้อมูล วิพากษ์ รายงานความรู้ต่อผทู้ รงคุณวุฒิ นำเสนอองคค์ วามรู้ต่อท่ีประชุมวิทยาลัยฯ จดั ทำคู่มือ แต่งตั้งคณะกรรมการ พจิ ารณา ตรวจสอบแก้ไขคำผดิ ตรวจเอกสาร ประชาสมั พันธ์ ๕.๒ การเขา้ ถงึ ความรู้ การเข้าถึงความรู้โดยการเผยแพร่ คู่มือการจัดทำเทคนิค การจัดทำเอกสาร CD จัดทำเว็บเพจเพ่ือให้สามารถ download ข้อมูลได้ จัดทำ facebook จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ จัดทำ บอรด์ ประชาสมั พันธ์ หนังสือเวียน ๕.๓ การแบง่ ปนั แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ มีการแบ่งปันแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยการจัดประชุมสัมมนา แลกเปล่ียนเรียนรู้ทางเว็บไซต์ จดั เวทีแลกเปล่ียนเรยี นรู้ จัดทำ Blog แลกเปล่ียนทาง facebook สรุปข้อมูลท่ีได้รับ มีการนำเสนอข้อมลู ทั้ง ในและนอกวทิ ยาลยั ฯ โดยดำเนนิ การเมื่อวันเสาร์ที่ ๑๔ กนั ยายน ๒๕๖๓ ณ บา้ นครชู ่างทงั้ ๓ ทา่ น วิทยากร ทม่ี าแลกเปลย่ี นเรยี นรู้คอื พ่อครูบุญรตั น์ ทิพยร์ ัตน์ เจ้าสุรศักด์ิ ณ เชยี งใหม่ นายกำจร เทโวขัติ โดยได้เดินทาง แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ยังบา้ นวทิ ยากร แบบอาศรมศิลปิน ๕.๔ การเรียนรู้ การจัดการความรู้เรื่อง เทคนิคการทำซึงของครูสล่า สามารถดำเนินการเรียนรู้โดยการทำ แบบประเมินความพึงพอใจ ทำแบบประเมินครูผู้สอน นำความรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในวิทยาลัยฯ บูรณาการความรู้ประกอบการเรียนในแต่ละรายวิชา ส่งผลการรายงานไปยังเครือข่าย จัดทำบัญชีผู้นำ ประโยชนจ์ ากการจดั การความร้ไู ปใช้ และประมวลความรู้จัดทำเปน็ คมู่ ือแนวทางการปฏบิ ตั ิ ๖. เสนอแนะกิจกรรมท่ีจะดำเนินการตอ่ ไปเมอื่ เสรจ็ สิ้นกระบวนการจดั การความรใู้ นครงั้ นี้ - ควรจดั การเรยี นรู้เรอ่ื งเคร่ืองดนตรีชนดิ อน่ื ๆ ของลา้ นนาตอ่ ไป เชน่ เป๊ยี ะ ป๊าด เปน็ ต้น

59 บรรณานุกรม กำจร เทโวขัต.ิ สมั ภาษณ์ วนั ที่ ๑๒ กนั ยายน ๒๕๖๓ กำธร เช้ือเจ็ดตน. “การผสมวงดนตรพี ้ืนเมอื งภาคเหนือ” ใน ลักษณะไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกดั , ๒๕๔๑. ธรี ยทุ ธ ยวงศร.ี การดนตรี การขับ การฟ้อนล้านนา. เชียงใหม่ : สรุ วิ งศ์บุ๊คเซนเตอร์, ๒๕๔๐. บญุ รตั น์ ทิพย์รตั น.์ สัมภาษณ์ วนั ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๓ ยงยุทธ ธรี ศิลป. “สะล้อ เครื่องดนตรีพนื้ เมืองภาคเหนือ” ใน ลักษณะไทย ธนาคารกรุงเทพ จำกัด กรงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๔๑. ศรัณย์ นกั รบ. ดนตรีชาติพนั ธว์ุ ทิ ยา Ethnomusicology กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ ๒๕๕๗ สน่ัน ธรรมธ.ิ นาฏดรุ ยิ การล้านนา. เชียงใหม่ : สเุ ทพการพมิ พ์, ๒๕๕๐. สุรศักดิ์ ณ เชยี งใหม.่ สมั ภาษณ์ วนั ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๓