Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแปลง E-R Diagram เป็นโครงสร้าง

การแปลง E-R Diagram เป็นโครงสร้าง

Published by ninetom0319a, 2021-06-01 07:08:16

Description: การแปลง E-R Diagram เป็นโครงสร้าง

Search

Read the Text Version

การแปลง E-R Diagram เป็นโครงสรา้ ง ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ โดย ผศ.วิลยั พร ไชยสทิ ธ์ิ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมคอมพวิ เตอร์

1. การแปลงเอนตติ ้ปี กติ (Regular Entity)  การแปลงตามลกั ษณะของเอนตติ ้ปี กตแิ ต่ละเอนตติ ้ใี นแผนภาพ E-R จะถูกแปลงเป็นรเี ล ชนั สาหรบั ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ โดยหน่ึงเอนตติ ้แี ปลงไปเป็นรีเลชนั ได้ 1 รีเลชนั และช่ือของ เอนตติ ้จี ะนามาเป็นช่อื ของรเี ลชนั เสมอ สามารถสรุปหลกั การไดด้ งั ต่อไปน้ี ❖ เปลย่ี นเอนตติ ้ใี หเ้ป็นรเี ลชนั โดยใชช้ ่อื เดยี วกนั ❖ สว่ นแอททรบิ วิ ทต์ ่างๆ ของเอนตติ ้จี ะถกู แปลงใหเ้ป็นแอททริบวิ ทข์ องรเี ลชนั ❖ สว่ นแอททรบิ วิ ทท์ เ่ี ป็น Identifier จะถกู กาหนดใหเ้ป็นคยี ห์ ลกั ของรเี ลชนั ดว้ ยการเขยี นแอ ททรบิ วิ ทด์ งั กลา่ วเป็น แอททริบวิ ทแ์ รกพรอ้ มทง้ั ขดี เสน้ ใตแ้ อททริบวิ ทน์ น้ั

ตวั อย่างการแปลงเอนตติ ้ปี กติ (Regular Entity)

1) แอททรบิ วิ ทแ์ บบธรรมดา (Simple Attribute)

2) แอททรบิ วิ ทแ์ บบรว่ ม (Composite Attribute)

3) แอททรบิ วิ ทแ์ บบท่มี คี ่าขอ้ มูลหลายค่า (Multivalued Attribute)

การแปลงเอนตติ ้อี อ่ น (Weak Entity) การแปลงเอนตติ ้แี บบอ่อน (Weak Entity) เป็นรเี ลชนั มหี ลกั การดงั ต่อไปน้ี 1. ช่อื ของเอนตติ ้แี บบอ่อนกจ็ ะกลายเป็นช่อื ของรเี ลชนั 2. แต่ละแอททรบิ วิ ทข์ องเอนตติ ้แี บบอ่อน กจ็ ะแปลงเป็นแอททรบิ วิ ทข์ องรเี ลชนั ตามลกั ษณะ การแปลง แต่ละชนดิ ของแอททรบิ วิ ท์ หรอื คอลมั นน์ น้ั ๆ 3. นาแอททรบิ วทท์ เ่ี ป็นคยี ห์ ลกั ของเอนตติ ้หี ลกั มาร่วมเป็นคยี ห์ ลกั ในรเี ลชนั ใหม่ ดงั นนั้ คยี ห์ ลกั ของ รเี ลชนั ใหมจ่ ะเกดิ จากการรวมกนั คยี ห์ ลกั ของทกุ เอนตติ ้ที เ่ี ก่ยี วขอ้ ง



การแปลงตามประเภทของความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนตติ ้ี ขนั้ ตอนการแปลงความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนตติ ้ไี ปเป็นความสมั พนั ธร์ ะหว่างรเี ลชนั จะข้นึ อยู่กบั ประเภท ของความสมั พนั ธท์ เ่ี กิดข้นึ ระหวา่ งเอนตติ ้ี นนั้ เอง ซง่ึ ประเภทของความสมั พนั ธ์ ดงั ต่อไปน้ี (สมจติ ร อาจ อนิ ทร์ และงามนิจ อาจอนิ ทร,์ 2550.) ❖ ความสมั พนั ธแ์ บบ หน่ึง-ต่อ-หน่ึง (1:1) ❖ ความสมั พนั ธแ์ บบ หน่ึง-ต่อ-กลมุ่ (1:M) ❖ ความสมั พนั ธแ์ บบ กลมุ่ -ต่อ-กลมุ่ (M:N)

ความสมั พนั ธแ์ บบ หน่ึง-ต่อ-หน่ึง (1:1) มหี ลกั การแปลงดงั น้ี 1. แปลงเอนตติ ้ปี กติ และแอททรบิ วิ ทใ์ หอ้ ยู่ในรูปแบบของรเี ลชนั 2. นาคียห์ ลกั (Primary key) ของรีเลชนั หน่ึงไปเป็นแอททริบวิ ทห์ รอื คยี น์ อก (Foreign key) ในอกี รเี ลชนั หน่งึ (ใหก้ ระทาเพยี งดา้ นใดดา้ นหน่งึ )

ความสมั พนั ธแ์ บบ หน่ึง-ตอ่ -หน่ึง (1:1)

ความสมั พนั ธแ์ บบ หน่ึง-ตอ่ -กลมุ่ (1:M) มหี ลกั การแปลงดงั น้ี 1. แปลงเอนตติ ้ปี กติ และแอททรบิ วิ ทใ์ หอ้ ยู่ในรูปแบบของรเี ลชนั 2. นาคยี ห์ ลกั (Primary key) ของรเี ลชนั ทอ่ี ยู่ดา้ นความสมั พนั ธท์ เ่ี ป็นหน่ึง (One) ไปเป็น แอททรบิ วิ ทห์ รอื คยี น์ อก (Foreign key) ในรเี ลชนั ดา้ นความสมั พนั ธท์ เ่ี ป็นกลมุ่ (Many) 3. การแปลง Many-to-One กก็ ระทาอย่างเดยี วกนั

ความสมั พนั ธแ์ บบ หน่ึง-ตอ่ -กลมุ่ (1:M)

ความสมั พนั ธแ์ บบ กลมุ่ -ต่อ-กลมุ่ (M:N) มหี ลกั การแปลงดงั น้ี 1. แปลงเอนตติ ้ปี กติ และแอททรบิ วิ ทใ์ หอ้ ยู่ในรูปแบบของรเี ลชนั 2. นาช่อื ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอนตติ ้มี าสรา้ งเป็นช่อื ของรเี ลชนั ใหมอ่ กี 1 รเี ลชนั 3. นาคยี ห์ ลกั ของเอนตติ ้ที ง้ั สองดา้ นทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั มาร่วมกนั เป็นคยี ห์ ลกั ในรเี ลชนั ใหม่ 4. นาแอททรบิ วทข์ องความสมั พนั ธม์ าเป็นแอททรบิ วท์ หรอื คอลมั น์ ในรเี ลชนั ใหม่ 5. ผลของการแปลงจะไดร้ เี ลชนั ทงั้ หมด 3 รเี ลชนั

ความสมั พนั ธแ์ บบ กลมุ่ -ตอ่ -กลมุ่ (M:N)

การแปลงตามรูปแบบความสมั พนั ธแ์ บบยูนารี (Unary Relationship) มรี ูปแบบการแปลงอยู่ 2 ชนดิ ดงั น้ี 1.ความสมั พนั ธแ์ บบ Unary ชนดิ หน่งึ ต่อกลมุ่ (1:M) 2.ความสมั พนั ธแ์ บบ Unary ชนดิ กลมุ่ ต่อกลมุ่ (M:N)

ความสมั พนั ธแ์ บบ Unary ชนิดหน่ึงตอ่ กลมุ่ (1:M) มหี ลกั การแปลงดงั น้ี 1. แปลงเอนตติ ้ปี กติ และแอททรบิ วิ ทใ์ หอ้ ยู่ในรูปแบบของรเี ลชนั 2. นาคยี ห์ ลกั (Primary key) ของรเี ลชนั ทอ่ี ยู่ดา้ นความสมั พนั ธท์ เ่ี ป็นหน่ึง (One) ไปเป็น แอททรบิ วิ ทห์ รอื คยี น์ อก (Foreign key) ในรเี ลชนั ดา้ นความสมั พนั ธท์ เ่ี ป็นกลมุ่ (Many) แต่ใหท้ าการเปลย่ี นช่อื คยี น์ อกนนั้ ใหม่

ความสมั พนั ธแ์ บบ Unary ชนิดหน่ึงตอ่ กลมุ่ (1:M)

ความสมั พนั ธแ์ บบ Unary ชนิดหน่ึงตอ่ กลมุ่ (1:M)

ความสมั พนั ธแ์ บบ Unary ชนิดกลมุ่ ตอ่ กลมุ่ (M:N)

การแปลงตามรูปแบบความสมั พนั ธแ์ บบเทอรน์ ารี (Ternary Relationship)  เป็นการแปลงความสมั พนั ธร์ ะหว่างเอนตติ ้ี 3 เอนตติ ้ที เ่ี ก่ยี วขอ้ ง โดยตอ้ งนาเอาเอนตติ ้ี ทงั้ หมดมาอธิบายความสมั พนั ธใ์ นเวลาเดียวกนั ซ่งึ จะไม่สามารถตดั บางส่วนของเอนติต้ี ออกไปได้ ยกตวั อย่างระบบการผลติ และส่งสินคา้ ท่ปี ระกอบดว้ ย ผูผ้ ลติ ซ่ึงทาการผลติ สนิ คา้ และมกี ารส่งสนิ คา้ ใหก้ บั ลูกคา้ โดยมคี วามสมั พนั ธช์ ่ือ “ผลติ และส่งสนิ คา้ ” เช่ือม ระหวา่ งเอนตติ ้ที ง้ั 3 และเป็นความสมั พนั ธท์ ม่ี เี วลามาเก่ยี วขอ้ ง เน่อื งจากมแี อททริบวิ ท์ วนั ท่ี ส่งสนิ คา้ และจานวนสนิ คา้ ทส่ี ่ง เป็นแอททริบวิ ทข์ องความสมั พนั ธด์ ว้ ย



กาหนดคยี ห์ ลกั และคยี น์ อกใหก้ บั รเี ลชนั เชิงสมั พนั ธ์

แบบฝึกหดั ทา้ ยบท จงแปลง ER-Diagram ตอ่ ไปน้ีใหอ้ ยูใ่ นรูปแบบของโครงสรา้ งตาราง

Q&A


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook