เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES งามเอยอนนั ตนาคราช งามผงาดราชนาวา เพรศิ พิพฒั นร์ ัชมงั คลา งามสงา่ พระบารมี พระเกียรตเิ กรกิ ปรากฏ ย่ิงพระยศภูบดี บรมราชจกั ร ี ศรสี วสั ด์มิ ั่นนิรนั ดร อญั เชญิ เทพสทิ ธิ์ศกั ด ิ์ อภิรักษ์พระภธู ร ไตรรตั น์คุณากร ประทานพรพบิ ลู ชัย ขอจงทรงพระเจริญ โลกสรรเสรญิ จอมไผท เกษมสขุ นริ ตั ศิ ยั ไอศวรรยส์ วัสดิ์พิพัฒน์เทอญ ลักษณะของรูปกระบวนพยหุ ยาตราและเรอื ประเภทตา่ งๆ กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เม่ือวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๓๐ กระบวนเรือประกอบไปด้วยริ้ว กระบวน ๕ รว้ิ ใช้เรอื รวมทัง้ สิ้น ๕๑ ล�ำ ระยะตอ่ ระหว่างลำ� ๔๐ เมตร เว้นระหว่างเรอื พระทน่ี ัง่ ๕๐ เมตร ระยะเคียงระหวา่ งร้ิว ๒๐ เมตร ความยาวของกระบวนยาว ๑,๑๑๐ เมตร กว้าง ๙๐ เมตร เรือประเภทต่างๆ ทใี่ ช้ในกระบวนพยหุ ยาตรามีดงั นี้ ๑. เรอื ประตูหน้า เปน็ เรอื นำ� ริว้ กระบวน ประกอบไปดว้ ยเรือ ๒ ล�ำ เปน็ เรอื ล�ำหน้าสดุ ของริ้วท่ี ๒ และ ๔ (นบั จากขวา) ใชเ้ รือดั้งทอง ๒๑ (ขวา) และเรอื ดงั้ ทอง ๒๒ (ซา้ ย) ๒. เรอื พิฆาต เป็นเรือรบท่ีอยู่ในร้วิ ท่ี ๒ และที่ ๔ ถดั จากเรือประตูหนา้ เขา้ มาในกระบวนหวั เรอื เปน็ รูปเสือ มีปนื จ่ารงต้ังที่หวั เรือ ได้แก่ เรือเสือทยานชล (ขวา) และเรือเสอื คำ� รณสนิ ธุ์ (ซ้าย) เรอื ดงั กลา่ วน้ปี กติ จะแล่นสาย โดยเรอื เสือทะยานชลแล่นสายนอกด้านขวา และเรอื เสือค�ำรณสินธ์ุแล่นสายนอกดา้ นซ้าย ๓. เรือด้งั เป็นเรอื ไม้ทาน้ำ� มัน บางล�ำทาสที อง (ด้ัง ๒๑ และ ๒๒) ไม่มลี วดลาย ใช้ส�ำหรบั เป็นเรือ รอบนอกของกระบวนโดยอยใู่ นร้วิ ขวาสดุ และริ้วซา้ ยสดุ - ร้ิวนอกดา้ นหน้าของกระบวนมี ๖ คู่ หรอื ๑๒ ลำ� ไดแ้ กเ่ รือดั้ง ๑ - ๑๒ เลขคีอ่ ยู่ดา้ นขวา เลขคู่อยดู่ า้ นซ้าย - รวิ้ นอกดา้ นท้ายของกระบวนมี ๔ คู่ ๘ ล�ำ ไดแ้ ก่เรอื ด้ัง ๑๓ - ๒๐ ๔. เรือกลองใน - กลองนอก เปน็ เรอื กราบ อยู่ในริว้ กลางหรอื รวิ้ ที่ ๓ มีปชี่ วาและกลองแขกสำ� หรับ บรรเลงมี ๒ ลำ� ได้แก่ - เรือกลองใน (ใช้เรือแตงโม) อยู่บริเวณกลางกระบวนข้างหน้าเรือพระที่นั่งเป็นเรือส�ำหรับ ผูบ้ ญั ชาการกระบวนเรือ - เรอื กลางนอก (ใชเ้ รอื อเี หลอื ง) อยหู่ นา้ สดุ ของรว้ิ กลาง เปน็ เรอื สำ� หรบั รองผบู้ ญั ชาการกระบวนเรอื ๕. เรือตำ� รวจใน – ตำ� รวจนอก เป็นเรอื กราบ มพี ระตำ� รวจหลวงชน้ั ปลดั กรมนั่งคฤหม์ ี ๒ ลำ� ได้แก่ - เรือต�ำรวจใน อยู่ในร้วิ กลางหน้าเรอื อนันตนาคราช - เรือตำ� รวจนอก อยู่หน้าถัดจากเรอื ตำ� รวจใน 95
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๖. เรือรปู สตั ว์ เป็นเรือแกะสลกั เรือเปน็ รูปขนุ กระบี่ รปู อสรู รปู พญาวานร และรูปครุฑ - ปัจจบุ นั มอี ยู่ ๘ ลำ� หรือ ๔ คู่ - จดั ใหอ้ ยใู่ นรวิ้ กระบวนที่ ๒ และท่ี ๔ อยถู่ ดั ระดบั เรอื ตำ� รวจนอกเขา้ มาโดยมตี ำ� แหนง่ เรอื ดงั น้ี อสุรปักษ ี อสุรวายุภกั ษ์ กระบ่ปี ราบเมอื งมาร กระบร่ี าญรอนราพณ์ (ซา้ ย) (ขวา) สคุ รพี ครองเมือง พาลีร้ังทวีป ครฑุ เตรจ็ ไตรจักร ครฑุ เหนิ เห็จ ๗. เรือพระทน่ี ่งั จัดวา่ เป็นเรอื ส�ำคัญที่สุดและสงา่ งามทีส่ ุดในกระบวน - มเี รือพระท่ีนง่ั กงิ่ ได้แก่ เรอื สพุ รรณหงส์ เรอื อนันตนาคราช เรือพระทีน่ ่ังศรี ได้แก่ เรืออเนก ชาติภุชงค์ - ในกระบวนพยหุ ยาตราครงั้ นี้ เรอื อนนั ตนาคราช จะเป็นเรือทรงผา้ ไตร เรอื สุพรรณหงส์ เป็น เรือพระท่ีนั่งทรงและเรืออเนกชาติภุชงค์จะเป็นเรือพระที่น่ังรอง ต�ำแหน่งของเรือจะเป็นไปตามแผนผังรูป กระบวนเรือ ๘. เรือคู่ชัก เป็นเรือที่ท�ำหน้าที่น�ำเรือพระท่ีนั่ง โดยอยู่ทางเบื้องขวาเฉียงไปข้างหน้าล�ำหนึ่งได้แก่ เรือเอกชยั เหนิ หาว และอยู่ทางเบ้ืองซ้ายเฉียงไปขา้ งหนา้ อีกลำ� หน่งึ ไดแ้ ก่ เรอื เอกชยั หลาวทอง ๙. เรอื ตำ� รวจตาม ใชเ้ รอื กราบกญั ญา ใชเ้ ปน็ พาหนะของพระตำ� รวจหลวงรกั ษาพระองคท์ ต่ี ามเสดจ็ ในกระบวน มตี ำ� แหน่งเรืออยูใ่ นร้วิ กลางต่อจากเรอื พระที่นง่ั รอง (เรอื อเนกชาติภชุ งค์) ๑๐. เรือแซง ใชเ้ รือกราบกัญญา เป็นเรอื ทหารเรือแซงเสด็จท้งั ๒ ขา้ งของเรอื พระท่นี ั่ง โดยอยู่ในร้วิ นอกสดุ ของกระบวน มี ๖ ล�ำ หรือ ๓ คู่ โดยแซงดา้ นขวา ๓ ล�ำ (ไดแ้ ก่เรอื แซง ๑, ๓, ๕) และแซงด้านซา้ ย ๓ ล�ำ (ได้แก่เรอื แซง ๒, ๔, ๖) นอกจากนนั้ ยงั จัดเรือแซง ๗ อกี ๑ ล�ำปดิ ทา้ ยร้ิวกลางของกระบวนต่อจากเรือตำ� รวจตาม ๑๑. เรอื ประตหู ลงั ใชเ้ รอื กราบกญั ญาเชน่ เดยี วกบั เรอื ประตหู นา้ เปน็ เรอื สำ� หรบั ขา้ ราชการชน้ั ผใู้ หญ่ ก�ำกบั ท้ายกระบวน ๒ ล�ำ โดยมเี รอื ทองขวานฟ้าอย่ขู วาและทองบ้าบิน่ อยู่ซา้ ย หมายเหตุ เรอื ทง้ั หมดทเ่ี ตรียมไวม้ ี ๕๓ ลำ� แตจ่ ะใช้ในกระบวนพยหุ ยาตรา ๕๑ ล�ำ อีก ๒ ลำ� ที่เหลอื ไดแ้ ก่เรือ ร้งุ ประสานสาย และเรือเหลอื งใหญ่ จดั ไว้สำ� หรบั ฝกึ และส�ำรอง 96
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 97
เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES 98
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 99
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 100
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 101
เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ลักษณะหน้าทแ่ี ละความเป็นมาของเรือพระทน่ี ั่ง และเรือในร้วิ กระบวน ในการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทางชลมารคของพระเจา้ อยหู่ วั ในสมยั โบราณนนั้ เขา้ ใจวา่ แตก่ อ่ นจะมเี รอื ๒ ส�ำรับ เป็นเรือทอง อันหมายถงึ เรอื ท่ีแกะสลักลวดลายและลงรักปดิ ทองส�ำรบั หน่ึง จะใชเ้ ป็นเวลาเสดจ็ ใน กระบวนทเ่ี ปน็ พระราชพธิ ี ส่วนอกี สำ� รบั หนง่ึ เป็นเรอื ไม้ซ่ึงมักจะใช้ทรงในเวลาปกติท่ัวไป ไม่ปะปนกัน จากการจัดริ้วกระบวนเรือ จะมีชื่อเรือต่างๆ มากมายท่ีมาร่วมในกระบวน ซึ่งเรือเหล่าน้ีมีลักษณะ แตกตา่ งกนั ไปตามความส�ำคญั และลกั ษณะที่มาคอื ๑. เรอื ประตู มลี กั ษณะเป็นเรอื กราบ กลางลำ� มีกัญญา เรยี กกนั วา่ เรือกราบกัญญา ทำ� หน้าที่เปน็ เรอื น�ำรวิ้ กระบวน มขี ้าราชการผใู้ หญ่ช้นั ปลัดทลู ฉลองนงั่ ในกัญญาลำ� ละ ๑ ท่าน ๒. เรือพิฆาต เป็นเรือรบไทยโบราณประเภทหนึ่ง มีปืนจ่ารงตั้งที่หัวเรือ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ มี ๕ คู่ ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชแห่ง กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ มี ๖ คู่ ตอ่ มาภายหลงั ตง้ั แตร่ ชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั เปน็ ตน้ มา มี ๑ คู่ คอื เรอื เสือทะยานชล และเรอื เสือค�ำรณสินธ์ุ หวั เรอื ท�ำเป็นรปู หวั เสอื มีคฤหส์ �ำหรบั อำ� มาตย์ฝ่ายทหารนง่ั แต่ ในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาใชเ้ รือแซ เรอื พิฆาตน้ีมีนายเรือ นายท้ายฝพี าย และคนนง่ั คฤห์ รวม ๓๑ นาย ๓. เรอื ดัง้ เปน็ เรอื ไม้ทาสนี �้ำมนั ไม่มลี วดลายอย่างใด ใชเ้ ป็นเรือกระบวนสายนอก กลางล�ำมคี ฤห์ซ่งึ มนี ายทหารนั่งล�ำละ ๑ นาย ในเรือน้มี ีพลปืน ๔ นาย และมีนายเรือ นายท้ายและฝพี าย ลำ� ละ ๒๙ - ๓๕ คน ขน้ึ อยกู่ บั ขนาดของเรอื และมคี นกระทงุ้ เสา้ ลำ� ละ ๒ นาย เรอื ทกี่ ระทงุ้ เสา้ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เปน็ พวกเรอื ชยั ซง่ึ เป็นเรือชนิดทีม่ ีทวนหวั ต้งั สงู และงอนขนึ้ ไป ซง่ึ กลา่ ววา่ มีลักษณะเช่นเดียวกับเรอื ก่งิ แต่ไม่ทราบว่าตา่ งกนั ตรงไหน แต่ปัจจุบนั เรือดัง้ หัวเรือปดิ ทอง ถ้าหัวเรือยงั เขียนลายน�้ำยา ใช้เปน็ เรอื ประจำ� ยศพระราชาคณะ ๔. เรือกลองนอก-กลองใน เป็นพวกเรือกราบ มนี ายเรอื นายท้าย และฝีพายล�ำละ ๓๐ นาย มนี าย ทหารชนั้ ผใู้ หญท่ เ่ี ปน็ ผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการกระบวนพยหุ ยาตรานงั่ คฤห์ พรอ้ มทนายในเรอื กลองและมผี บู้ ญั ชาการ กระบวนพร้อมทนาย นั่งคฤห์เรือกลองใน ภายในเรอื มีพนักงานปช่ี วาและกลองแขกบรรเลงลำ� ละ ๖ นาย ๕. เรือต�ำรวจนอก - ต�ำรวจใน ใช้เรือกราบ มีนายเรือ นายท้าย และฝีพาย ในสองล�ำไม่เท่ากัน ลำ� หนง่ึ มี ๒๒ นาย ลำ� หนงึ่ มี ๒๗ นาย มพี ระต�ำรวจหลวงชน้ั ปลดั กรม น่งั คฤห์ ๖. เรือรูปสัตว์ เป็นเรือท่ีแกะสลักหัวเรือเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ทั้งสัตว์จริงและสัตว์ในเทพนิยาย ความเปน็ มาของเรอื รูปสัตว์ หรอื ทเ่ี ดิมเรียกวา่ เรือศีรษะสัตว์นี้ สันนษิ ฐานวา่ อาจจะเกดิ ข้ึนได้ ๒ ทาง๑ คอื ๑. อาจไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากทางเขมร ทงั้ นเ้ี พราะทปี่ ราสาทหนิ นครวดั ไดม้ ภี าพสลกั รปู เรอื ทม่ี หี วั เรอื เป็นหนา้ สัตว์ เชน่ หน้าหงส์ หนา้ นาค หนา้ เหรามงั กร ซ่ึงอาจท�ำขึ้นเพือ่ ความสวยงาม ทงั้ นี้ ปราสาทหิน นครวดั มอี ายุระหว่าง พ.ศ. ๑๖๕๓ - ๑๗๒๐ ๑ สมเดจ็ ฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ์ และสมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานภุ าพ, สาส์นสมเด็จ เลม่ ๒, ศึกษาภณั ฑพ์ าณิชย์, ๒๕๑๐, หน้า ๒๒๑. 102
เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES ๒. อาจไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากอนิ เดยี ซงึ่ ทอ่ี นิ เดยี นนั้ บรรดาขนุ รถจะมตี ราประจำ� ตำ� แหนง่ ของตนตดิ อยทู่ ีร่ ถ แต่ไทยเรานำ� มาเปน็ ตราตดิ ทเ่ี รอื คือทำ� เป็นรูปหัวเรือเสยี เวลาเข้าในริว้ กระบวนก็ทราบว่าเรอื ลำ� ใด เปน็ ของกรมใด หรอื ของขนุ นางผใู้ ด และแตเ่ ดมิ ขนุ นางหรอื เสนาบดถี า้ มไิ ดต้ ามเสดจ็ กไ็ มไ่ ดเ้ ขา้ ในรวิ้ กระบวน แตใ่ นสมยั หลัง แม้วา่ ตวั เสนาบดีจะมไิ ดต้ ามเสดจ็ ก็เกณฑเ์ รอื ไปโดยไม่ต้องควบคุมไปกไ็ ด้ จากขอ้ สันนิษฐานอาจจะกล่าวได้ว่า เรอื รปู สตั ว์ของไทยคงไดร้ บั อิทธพิ ลมาจากอินเดยี เพราะแมแ้ ต่ ตราประจำ� ตำ� แหนง่ ของเสนาบดตี งั้ แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยามาจนถงึ กรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ มกั ใชร้ ปู สตั วท์ ง้ั สนิ้ เชน่ ราชสีห์ คชสหี ์ ครุฑ นาค ฯลฯ ตราต�ำแหน่งนม้ี ีปรากฏอยู่ในกฎหมายลักษณะศกั ดินาซ่งึ ตัง้ ขน้ึ ในรชั กาล สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. ๑๙๙๘ แลว้ และเรือรูปสตั ว์น้จี ากพงศาวดารปรากฏข้ึนในรชั กาลสมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ พ.ศ. ๒๐๗๖ ซงึ่ พระองคท์ รงแก้เรือแซเป็นเรือชัย และเรอื รปู สตั วต์ า่ งๆ เพ่ือจะใหต้ งั้ ปนื ใหญไ่ ดท้ ่หี วั เรอื เรอื รปู สตั วน์ ัน้ ถ้าเปน็ เรอื ด้งั นา่ จะทำ� เป็นคู่ คอื เรือครฑุ ๑ คู่ เรือกระบ่ี (ลิง) ๒ คู่ เรอื อสรู ๒ คู่ และจะเห็นได้ว่าเรอื เสนาบดแี ละเรอื ประตูเปน็ เรือรูปสตั ว์จากตราต�ำแหนง่ ของตนทัง้ สนิ้ จงึ กล่าวได้ว่า เรือ รปู สตั วน์ นั้ มาจากตราตำ� แหนง่ นน่ั เอง เพราะเมอ่ื เทยี บเรอื รปู สตั วก์ บั ตำ� แหนง่ เสนาบดที ลี่ ดหลน่ั ลงมากจ็ ะเหน็ วา่ ตรงกนั เรือพระทน่ี ง่ั ก็มีหัวเรือเป็นรูปสตั ว์ ตามพระราชลัญจกรเชน่ กัน อย่างเช่นเรือครฑุ มีพระราชลัญจกร “พระครุฑพา่ ห์” หัวเรือแต่เดิมกท็ �ำเป็นรูปครฑุ เท่าน้ัน และมีเรอื นารายณ์ทรงสบุ รรณ ซึ่งเดมิ กม็ ีแตร่ ปู ครฑุ เปลา่ ๆ สร้างข้ึนในรชั กาลท่ี ๓ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ตอ่ มาในรชั กาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดให้ท�ำองค์พระนารายณ์เติมเข้าไปด้วย หรือเรือพาลีร้ังทวีปและเรือสุครีพ ครองเมอื ง ซึ่งเปน็ เรอื ของพวกกองอาสา เชน่ กรมเขนทองซ้าย กรมเขนทองขวา กม็ ตี ราเป็นรปู ลิงซ่ึงเรยี กวา่ “กระบีธ่ ชุ ” ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีเรือครุฑซึ่งมีช่ือว่า “เรือมงคลสุบรรณ” ซ่ึงก็มิได้มีองค์พระนารายณ์อยู่ด้วย แต่ท�ำเป็น “ครุฑยุดนาค” ดังปรากฏในบทเห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) ท่ีว่า “เรอื ครุฑยุดนาคหวิ้ ” น่ันเอง ในสมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ เรอื รปู สัตวน์ ้ี ก็มีช่อื เท่าทปี่ รากฏในรชั กาลท่ี ๔ คือ เรอื ครฑุ มีชื่อว่า “ครุฑเหนิ เหจ็ ” และ “ครุฑเตรจ็ ไตรจักร” เรือพญาวานรมีชือ่ ว่า “พาลรี ง้ั ทวปี ” และ “สคุ รีพครองเมอื ง” เรืออสูร มีช่อื ว่า “อสรุ วายภุ กั ษ”์ และ “อสุรปกั ษา” เรือกระบ่ี มีช่ือว่า “กระบ่ีราญรอนราพณ”์ และ “กระบีป่ ราบเมอื งมาร” เป็นต้น แตช่ อื่ ของเรอื รปู สตั วท์ กี่ ลา่ วถงึ แลว้ นน้ั ปรากฏวา่ มแี ตกตา่ งไปจากชอ่ื ในทำ� เนยี บครง้ั รชั กาลท่ี ๑ อยู่ ๓ ลำ� คอื เรอื อสรุ ปกั ษา ในทำ� เนยี บมีชือ่ วา่ เรอื อสุรปกั ษี เรือพาลรี ้งั ทวปี ในท�ำเนยี บมีชอ่ื วา่ เรือพาลลี า้ งทวปี เรอื ครุฑเหนิ เหจ็ ในทำ� เนียบมชี ื่อว่า เรอื ครุฑเหริ ระเหจ็ เรอื รปู สตั วน์ แ้ี ตล่ ะลำ� มีปนื จา่ รงประจำ� ล�ำละ ๑ กระบอก อาวุธอ่ืนมี เขน ดาบ ทวน หอก งา้ ว และ มีหางนกยูงประดับ มีนายเรือ นายท้าย และฝีพาย ล�ำละ ๓๗ นาย มีนายเส้า ๒ นาย ผู้เชิญธงสามชาย ทางทา้ ยเรือลำ� ละ ๑ นาย ผูเ้ ชิญธงสามชายนใ้ี นสมัยกอ่ นเปน็ หนา้ ท่ขี องต�ำรวจหลวง 103
เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES โขนเรือครุฑ สมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ปัจจุบันจดั แสดงอยทู่ ี่พพิ ิธภณั ฑสถาน แหง่ ชาติ พระนคร The Garuda figure-head of the early Bangkok period in the National Museum, Bangkok. ในคฤห์เรอื กระบ่ี และเรืออสรู มีนายทหาร ๑ นาย พลปืนเล็ก ๖ นาย น่ังประจ�ำ ส่วนในคฤหเ์ รือพญา วานรและเรือครุฑ เป็นเรือกลองชนะ มีเจา้ หน้าทกี่ ลองลำ� ละ ๑๐ นาย อาจจะมเี พิ่มเป็น ๖ ลำ� หรอื ลดเหลือ ๒ ล�ำ ส�ำหรับเรอื รูปสตั วท์ เี่ หลอื อยู่ในปัจจบุ นั มี ๑). เรือครุฑเหินเห็จ ล�ำเดิมสร้างในรัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช เปน็ เรือรูปสตั วพ์ นื้ ดำ� ยาว ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คืบ กวา้ ง ๔ ศอก ลึก ๑ ศอก ๑๐ นวิ้ กำ� ลงั ๑ ๕ ศอก ๑ คบื ๑๑ น้ิว แตไ่ ด้ถกู ระเบดิ เสียหายในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ กรมศิลปากรได้เกบ็ หัวเรอื และท้ายเรอื ไว้ และสร้างข้ึนใหมเ่ มอื่ วันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๕ นำ�้ หนัก ๗ ตัน กว้าง ๑.๕๙ เมตร ยาว ๒๗.๕๐ เมตร ลึก ๐.๕๙ เมตร กนิ นำ�้ ลึก ๐.๓๒ เมตร ฝีพาย ๓๘ คน นายท้าย ๒ คน ๒). เรือครุฑเตร็จไตรจักร ล�ำเดมิ เป็นเรอื พ้นื ดำ� ยาว ๑๓ วา ๑ ศอก ๑ คบื กว้าง ๓ ศอก ๑ คบื ๖ น้วิ ลกึ ๑ ศอก ๙ นว้ิ ก�ำลงั ๕ ศอก ๑ คบื ๗ นวิ้ ล�ำเกา่ ถกู ระเบดิ ชำ� รุด กรมศิลปากรเก็บหัวเรอื และทา้ ย เรือไว้ ลำ� ปจั จบุ นั สร้างใหม่ เมอื่ วันท่ี ๒๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๑ น้ำ� หนกั ๕.๙๗ ตัน กว้าง ๑.๙๐ เมตร ยาว ๒๗.๑๐ เมตร ลึก ๐.๕๒ เมตร กินน้�ำลกึ ๐.๒๙ เมตร ฝีพาย ๓๔ คน นายท้าย ๒ คน ๑ ก�ำลงั หมายถงึ ระยะทางเฉล่ยี ท่ีฝีพายสามารถให้เรอื แล่นไปได้ สำ� หรบั การพาย ๑ คร้ัง 104
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๓). เรือพาลรี ัง้ ทวีป ล�ำเดมิ เปน็ เรือพืน้ ด�ำ น้ำ� หนกั ๖.๙๗ ตนั ยาว ๑๓ วา ๓ ศอก กวา้ ง ๔ ศอก ลึก ๑ ศอก ๒ นวิ้ กำ� ลงั ๕ ศอก ๕ นิ้ว หรือยาว ๒๗.๕๔ เมตร กว้าง ๑.๙๙ เมตร ลึก ๐.๕๙ เมตร กินน�ำ้ ลกึ ๐.๓๑ เมตร หวั เรอื กวา้ งมรี กู ลมโผลไ่ ปทางหวั เรอื สำ� หรบั ตดิ ตงั้ ปนื ใหญบ่ รรจทุ างปากกระบอกได้ ๑ กระบอก ขนาดปากกระบอก ๖๕ มม. เหนือชอ่ งปืนแกะเป็นรูปขนุ กระบี่สีเขยี ว ฝีพาย ๓๔ คน นายท้าย ๒ คน ๔). เรือสุครีพครองเมอื ง ลำ� เดมิ เป็นเรอื พน้ื ดำ� นำ�้ หนกั ๖.๕๖ ตัน ยาว ๑๔ วา กวา้ ง ๓ ศอก ๑ คบื ๑๐ น้วิ ลึก ๑ ศอก ๓ น้ิว กำ� ลัง ๕ ศอก ๔ นวิ้ หรอื ยาว ๒๗.๔๕ เมตร กวา้ ง ๑.๓๙ เมตร ลึก ๐.๕๙ เมตร กนิ น�ำ้ ลกึ ๐.๓๑ เมตร หวั เรอื กวา้ งมรี ูกลมโผล่ไปทางหัวเรอื สำ� หรบั ตดิ ต้ังปืนใหญบ่ รรจุทางปากกระบอกได้ ๑ กระบอก ขนาดปากกระบอก ๖๕ มม. เหนอื ชอ่ งปืนแกะเป็นขนุ กระบ่ีสีแดง ๕). เรือกระบ่ปี ราบเมืองมาร ล�ำเดิมเปน็ เรอื พ้ืนดำ� ยาว ๑๓ วา ๒ ศอก ๑ คบื กวา้ ง ๔ ศอก ลกึ ๑ ศอก ก�ำลงั ๕ ศอก ๔ น้ิว ลำ� เดมิ ถูกระเบิดเสยี หาย กรมศลิ ปากรเก็บหัวเรอื ท้ายเรือไว้ สว่ นลำ� ปัจจบุ ันสรา้ ง ใหมเ่ มื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ นำ้� หนัก ๕.๖๒ ตนั ยาว ๒๖.๘๐ เมตร กว้าง ๒.๑๐ เมตร ลกึ ๐.๕๑ เมตร กินน้ำ� ลึก ๐.๒๕ เมตร ฝีพาย ๓๖ นาย นายทา้ ย ๒ นาย หัวเรอื มีชอ่ งสำ� หรบั ติดตั้งปืนใหญ่ ๑ กระบอก ขนาด ๖๕ มม. เหนือชอ่ งปนื และเปน็ รปู ขนุ กระบีส่ ขี าว ๖). เรอื อสรุ วายภุ กั ษ์ โขนเรอื เปน็ รปู ครงึ่ ยกั ษค์ รงึ่ นก มสี ว่ นบนเปน็ ยกั ษ์ สว่ นลา่ งเปน็ นก องคเ์ ปน็ สมี ่วง ลกั ษณะและขนาดของเรอื ใกล้เคียงกบั เรอื กระบป่ี ราบเมอื งมาร ๗). เรอื อสรุ ปกั ษา โขนเรอื เปน็ รปู ครง่ึ ยกั ษค์ รงึ่ นก มสี ว่ นเปน็ ยกั ษ์ สว่ นลา่ งเปน็ นก องคเ์ ปน็ สเี ขยี ว ลกั ษณะและขนาดของเรอื ใกล้เคียงกบั เรอื กระบปี่ ราบเมืองมาร ๗. เรอื แซ มีรปู รา่ งเป็นเรือชยั โกลน หวั ท้ายเขียนลายน�้ำยา มตี วั อย่างคือ เรอื เสอื ทะยานชล เรอื เสอื คำ� รณสินธุ์ ในสมยั รัชกาลที่ ๔ พลพายเรอื แซ หน้ากระบวนพวกมอญ ๘. เรอื แซง ใช้เรือกราบกัญญา เป็นเรือของทหารเรอื แซงอยู่ตรงเรือพระทน่ี งั่ ในร้ิวกระบวนมักมี ๒ คู่ ๙. เรือริ้ว หมายถึงว่า เรือท่ีเข้ากระบวนยาวเป็นเส้นเป็นสาย๑ หลายเส้นหลายสายเรียงขนานกัน และบรรดาเรอื ทกุ ลำ� ทตี่ อ้ งเกณฑเ์ ขา้ กระบวนแลว้ จดั เปน็ เรอื รวิ้ ทง้ั สนิ้ และเรอื กระบวนโดยมากมธี งประจำ� เรอื ตงั้ แตเ่ รอื พระทน่ี ่งั ลงไป เป็นตน้ ถ้าเป็นเรอื อย่างหัวเปน็ งอนกม็ ธี งทง้ั หวั เรอื และทา้ ยเรอื ถ้าเปน็ เรอื รปู สตั วก์ ม็ ี ธงแต่ทา้ ยเรอื บรรดาเรือแซงกป็ กั ธงท้ายทุกลำ� จงึ สมกบั ค�ำที่ว่า “เรอื ริว้ ทวิ ธงสลอน” ๑๐. เรือก่ิง ในริ้วกระบวนจัดเป็นเรือที่เป็นเคร่ืองประดับยศ เกิดข้ึนคร้ังแรกใน สมัยกรุงศรีอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง๒ บ้างก็ว่าในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๖๓-๒๑๗๑) มรี บั สงั่ ใหเ้ อากง่ิ ดอกเลาประดบั เรอื ตอ่ มาภายหลงั พนกั งานจงึ คดิ เขยี นลายกงิ่ ไมป้ ระดบั ไวท้ ห่ี วั เรอื โปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ รยี กชอ่ื ชนดิ นนั้ วา่ “เรอื พระทน่ี งั่ กงิ่ ” คอื เปน็ เรอื ชนั้ สงู สดุ มโิ ปรดเกลา้ ฯ ใหพ้ ระบรม วงศานุวงศ์ช้ันใดประทับเว้นแต่บางครั้งโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเรือทรงผ้าไตร หรือผ้าทรงสะพักพระพุทธรูป หรอื พานพมุ่ ดอกไมแ้ ละเปน็ เรอื ทรงพระชยั ในกระบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ถวายผา้ กฐนิ เรอื พระทน่ี ง่ั กง่ิ ท่ีเคยใช้เป็นเรือทรงผ้าไตรแต่เดิมมาที่ปรากฏในทำ� เนยี บแตค่ รง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา คอื เรอื พระทน่ี ง่ั ศรสี มรรถไชย ตอ่ มา พ.ศ. ๒๔๗๐ ใชเ้ รอื พระทน่ี งั่ ประภศั รไชยซึง่ เปน็ เรอื พระทนี่ ่ังเอกชัย มิใช่เรือพระทนี่ ่งั ก่งิ แตใ่ นรัชกาล ปัจจุบนั เรือพระท่นี งั่ ประภัศรไชยช�ำรดุ จงึ ใชเ้ รอื พระทน่ี ่งั อนนั ตนาคราช ซึ่งเป็นเรอื พระที่นั่งกงิ่ แทน ๑ สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ, สาส์นสมเด็จ เล่ม ๒, ศกึ ษาภัณฑ์พาณชิ ย์, หนา้ ๒๒๕, ๒๓๖. ๒ คำ� ให้การชาวกรุงเกา่ , หนา้ ๓๒๖. 105
เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES เรอื พระท่นี ่งั กง่ิ นใี้ นสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา ครัง้ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช มี ๙ ลำ� เม่อื เวลาอยู่ในรวิ้ กระบวน เรือพระท่ีน่ังก่ิงจะทอดบัลลังก์บุษบก ปักฉัตร เครื่องสูงกลางล�ำ ท้ังตอนหน้าและตอนหลังบุษบก ดังนี้ ฉัตร ๗ ชน้ั หน้า ๑ องค์ หลัง ๑ องค์ ฉตั ร ๕ ชนั้ หน้า ๓ องค์ หลงั ๒ องค์ มเี จา้ พนกั งานกัน้ พระกลด ๑ นาย บงั พระสูรย์ ๑ นาย และอยู่งานพัดโบก ๑ นาย เบื้องหนา้ บษุ บกมี เจ้าพนักงานประโคมแตรงอน ๖ นาย แตรฝรงั่ ๘ นาย มคี นแห่ ๒ นาย นักสราชเชญิ ธงท้ายเรอื ๑ นาย สมยั รชั กาลที่ ๔ มีนักสราชเชญิ ธงหนา้ เรอื ด้วยอีก ๑ นาย เรอื พระทน่ี ่ังก่ิงนี้มนี ายเรือ นายทา้ ย และฝีพายดังนี้ เรอื พระทน่ี ่งั อนันตนาคราช มีนายเรือ ๒ นาย นายทา้ ย ๒ นาย ฝพี าย ๕๔ นาย เรอื พระทน่ี ง่ั ประภัศรไชย นายเรอื ๒ นาย นายท้าย ๒ นาย ฝพี าย ๔๓ นาย พายทใี่ ชใ้ นเรอื พระทน่ี ง่ั กง่ิ จะเปน็ พายทอง และฝพี ายจะพายในทา่ นกบนิ เรอื กง่ิ นอี้ าจจะเอาแบบอยา่ ง มาจากเรือคา้ ขายลำ� ใหญๆ่ ของพม่า๑ เว้นแตข่ องเขาไมม่ ีก่ิงเท่าน้ัน ถา้ เอากิ่งดอกเลาปักข้นึ ทหี่ วั เรอื ทา้ ยเรือก็ เหมือนเรอื กิง่ ของเรา ๑๑. เรอื คชู่ กั เดมิ ใชส้ ำ� หรบั เปน็ เรอื ชกั ลากเรอื พระทนี่ งั่ ชนดิ พายไมไ่ ด้ เรยี กวา่ เรอื พระทนี่ งั่ ขนานหรอื บลั ลงั กข์ นาน แตต่ อ่ มาได้เลกิ ใช้ไปเพราะไม่สะดวกรวดเร็ว เรือพระที่น่งั ขนานจงึ เปลี่ยนมาใชเ้ รอื พระทนี่ ง่ั กิง่ แทน แตย่ งั คงเรอื คชู่ กั ไว้ เรอื คชู่ กั นเี้ ปน็ เรอื ดงั้ ในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เรอื ดงั้ คชู่ กั มชี อ่ื วา่ เรอื ทองแขวนฟา้ ๒ และ เรือทองบ้าบิ่น เรือท้ังสองล�ำน้ีน�ำหน้าเรือพระท่ีนั่งล�ำทางเรือทองแขวนฟ้า (หรือบางทีก็เป็นทองขวานฟ้า) ใชพ้ ลพายเปน็ คนชาวบา้ นใหม่ ขน้ึ กบั หลวงสุเรนทรนชุ ติ สว่ นเรอื ทองบา้ บ่นิ ใช้พลพายเปน็ ชาวบา้ นโพเรยี ง ขึน้ อยูก่ ับหลวงอภัยเสนา และตรงกับครั้งกรงุ ศรอี ยธุ ยาทกุ อย่าง ผิดกนั แต่ในตำ� ราน้วี ่าเป็น “เรอื พระท่ีน่ัง” ตามแบบชัน้ หลังว่า เป็นเรอื คชู่ ัก ซ่ึงมีหัวเรอื และทา้ ยเรือปิดทองห้อยพู่สแี ดงและสักหลาดดาดหลงั คากญั ญา น้ัน ปกั สายทองเตม็ ทง้ั ผืน แต่เรือด้ังทวั่ ไป หัวเรอื และท้ายเรือไม่ปดิ ทองห้อยพูส่ ีขาวกบั สักหลาด ดาดหลังคา กัญญาปักทองเฉพาะตรงขอบ เรอื ดง้ั คชู่ กั มสี ทิ ธผิ ดิ กบั เรอื อนื่ ทแี่ หเ่ สดจ็ เพราะเรอื พระทนี่ ง่ั นนั้ บรรดาพลพายตอ้ งถกู คดั เลอื กเอาแต่ เฉพาะพวกทม่ี กี ำ� ลงั พายเรอื แลน่ เรว็ และพายทนกวา่ พลพายของเรอื อนื่ เรอื ดง้ั คตู่ อ้ งพายนำ� ใหเ้ รว็ ทนั หนเี รอื พระทีน่ ่งั ถ้าหากจะหนีไม่พ้น พอหัวเรือพระทนี่ ัง่ เกย่ี วแนวท้ายเรอื คชู่ ักเขา้ ไป เรียกกนั วา่ “เข้าดั้ง” เรือคู่ชกั ก็ ใชอ้ ุบายแกล้งคดั เรอื ให้ใกล้กนั จนช่องน้�ำแคบ เรอื พระท่นี ง่ั ไมส่ ามารถจะพายแทรกกลางแขง่ ขนึ้ ไปได้ ๑ สมเดจ็ ฯ เจ้าฟา้ กรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศ์ และสมเด็จฯ กรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ, สาส์นสมเดจ็ เลม่ ๗, หนา้ ๓๑๒. ๒ สมเด็จฯ เจา้ ฟา้ กรมพระยานริศรานุวดั ตวิ งศ์ และสมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ, สาสน์ สมเดจ็ เล่ม ๑๒, หน้า ๖๖. 106
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เหตทุ เี่ ลอื กแตช่ าวบา้ นใหมแ่ ละชาวบา้ นโพเรยี งเปน็ ฝพี ายเรอื คชู่ กั กเ็ พราะชาวบา้ นทง้ั สองนน้ั ชำ� นาญ การพายเรอื มาก จึงไดร้ ับการเลอื กมาทกุ คราว เรือแขวนฟ้านั้นที่เรียกเช่นนี้อาจจะหมายถึงเรือทรงที่เป็นเรือเร็วส�ำหรับใช้ในเวลาเสด็จออกรบด้วย และคงจะเรว็ เหมอื นบินในอากาศ จงึ เรียกวา่ เรือแขวนฟ้า ตอ่ มาเมอื่ เสร็จส้นิ สงครามแลว้ จึงน�ำเรอื มาปิดทอง ตกแต่งให้งดงาม เอาน�ำหนา้ เรอื พระที่น่งั ล�ำทรงในกระบวนแหเ่ สดจ็ ทางชลมารค จงึ เรยี กว่า “เรอื พระท่นี ง่ั ทองแขวนฟา้ ” ท้งั ๒ ลำ� และใช้เปน็ แบบตอ่ มา แต่จะเปล่ยี นเปน็ เรือดั้งค่ชู กั มาแตค่ รัง้ กรุงศรีอยุธยาหรือมา เปล่ียนในสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์ ก็ไมอ่ าจทราบได้ ๑๒. เรอื ชยั หรอื เรอื ไชย เปน็ เรอื ชนดิ ทม่ี ที วนหวั ตงั้ สงู ขน้ึ ไปเปน็ งอน มลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั เรอื กง่ิ เรอื ชยั นเ้ี ดิมเปน็ เรือท่ขี ้าราชการน่ังในรว้ิ กระบวน และมเี จา้ พนักงานคอยกระทงุ้ เส้าใหจ้ งั หวะ แต่ถา้ เปน็ เรือที่น่ัง เจ้านายและเรอื ประตู เรียกว่า เรือเอกชัย ตามท่ีปรากฏในโคลงพระราชพิธีทวาทศมาสน้ันมีชื่อว่า เรือไชยเหินหาว ขึ้นอยู่กับหลวงอภัยเสนา และเรอื หลาวทองเอกไชย ขนึ้ อยู่กับหลวงสุเรนทรวชิ ิต หลังคาเรอื คาดผา้ สีแดงลายกา้ นแย่ง เรอื ตกแต่งดว้ ย ลายรดนำ้� (ลงรกั ปดิ ทอง) มีนักสราชถอื ธงทั้งหน้าเรือและท้ายเรอื มกี ลองมโหระทึก และแตรประจำ� ในเรือมี อาวุธประจ�ำอย่างละคู่ คือ หอกชดั หางโมรี ดาบ ง้าว ทวนทอง ดาบเชลย และเขน ซึ่งล้วนตดิ พสู่ ีแดง เรอื ไชยเหินหาว หรอื เอกชยั เหินหาวนั้นเป็นเรอื พ้ืนดำ� ยาว ๑๔ วา ๑ ศอก ๕ น้ิว กว้าง ๓ ศอก ๑ คืบ ๑๐ นวิ้ ลกึ ๑ ศอก ๓ นิว้ กำ� ลัง ๕ ศอก ๔ น้วิ เรือเดมิ ถูกระเบิดเสยี หายเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๘๗ กรมศลิ ปากรได้ เกบ็ หวั เรอื และทา้ ยเรอื ไวใ้ นพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ เรอื พระราชพธิ เี พอื่ เปน็ ประโยชนใ์ นการศกึ ษาเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๑ ส�ำหรับล�ำปัจจุบันสรา้ งขน้ึ ใหม่ วันท่ี ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ มนี ำ้� หนัก ๖.๙๓ ตนั กวา้ ง ๑.๙๗ เมตร ยาว ๒๗.๕๐ เมตร ลกึ ๐.๖๐ เมตร กนิ นำ�้ ลึก ๐.๗๒ เมตร ฝพี าย ๓๘ คน นายท้าย ๒ คน สว่ นเรอื หลาวทองเอกไชย หรือเอกชยั หลาวทอง เป็นเรอื พนื้ ดำ� ยาว ๑๔ วา ๑ ศอก ๕ น้ิว กวา้ ง ๔ ศอก ลึก ๑ ศอก ๒ น้วิ กำ� ลงั ๕ ศอก ๔ น้วิ ล�ำเดมิ นีถ้ กู ระเบดิ เชน่ เดียวกับเรอื เอกชยั เหินหาว ล�ำปัจจบุ ันได้ สร้างใหมพ่ ร้อมกับลำ� แรก มีน้ำ� หนัก ๗ ตัน กว้าง ๑.๕๙ เมตร ยาว ๒๗.๕๐ เมตร ลึก ๕๙ เมตร กนิ น้ำ� ลกึ ๐.๓๒ เมตร ฝพี าย ๓๘ คน นายทา้ ย ๒ คน ๑๓. เรือโขมดยา โขมดแปลวา่ หวั ยา หมายถงึ น�้ำยาทเ่ี ขยี นลายทห่ี ัวเรอื แตล่ ักษณะเรือโขมดยาครง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา หวั เรอื ทา้ ยเรอื เรยี บ เชดิ ขน้ึ มลี ายแกะเปน็ รปู กลบี บวั สำ� หรบั ผกู ผา้ ตรงกลางตงั้ คฤหด์ าดผา้ แดง ๑๔. เรือพระท่ีน่ังทรง เรือพระที่นั่งล�ำทรง ถ้าเป็นกระบวนพยุหยาตราใหญ่ใช้เรือพระที่น่ังกิ่งทอด พระที่น่ังบุษบกเป็นท่ีประทับ ปักฉัตรเครื่องสูงหักทองขวาง มีพนักงานถวายอยู่งานพระกลด บังพระสูรย์ พดั โบก มนี กั สราชเชญิ ธงทา้ ยเรอื สมี่ มุ บษุ บกมมี หาดเลก็ เชญิ พระแสงรายตนี ตอง ในการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ถวายผา้ พระกฐนิ มมี หาดเลก็ เชญิ หอกอยเู่ บอ้ื งหนา้ บษุ บกอกี ๒ นาย ขา้ ราชการผใู้ หญใ่ นราชสำ� นกั หมอบเฝา้ ฯ หน้าพระทีน่ ัง่ บุษบก ๒ นาย 107
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรือพระที่นั่งกิ่งที่ใช้ในกระบวนพยุหยาตราใหญ่ชลมารค ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จะใช้ล�ำใดล�ำหน่ึง ใน ๓ องคค์ ือ เรือพระที่น่ังศรีสุพรรณหงส์ เป็นเรือท่ีแกะสลักโขนเรือเป็นรูปหงส์ ส�ำหรับล�ำปัจจุบันน้ีสร้างขึ้นใน สมยั รชั กาลที่ ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ซงึ่ โปรดใหส้ รา้ งขน้ึ แทนลำ� เดมิ ทส่ี รา้ งในสมยั รชั กาล ท่ี ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช แตค่ วามจรงิ แลว้ เรอื พระทนี่ งั่ สพุ รรณหงสม์ มี าแตส่ มยั กรุงศรอี ยธุ ยาแล้ว ดงั ทราบไดจ้ ากบทเห่เรอื ของเจ้าฟา้ ธรรมธเิ บศร์ฯ ที่ว่า ๏ สพุ รรณหงส์ทรงพู่หอ้ ย งอนชดชอ้ ยลอยหลังสินธ์ุ เพียงหงส์ทรงพรหมิน ลินลาศเลอื่ นเตือนตาชม หรอื จากลิลติ พยุหยาตราเพชรพวงของเจา้ พระยาพระคลงั (หน) วา่ ๏ สวุ รรณหงส์เหนิ เหจ็ ฟ้า ชมสนิ ธุ์ ดจุ พา่ ห์พรหมินบนิ ฟอ่ งฟอ้ น จตรมขุ พิมานอนิ ทร ์ อรอาสน์ เป็นที่นง่ั รองร้อน ทุเรศรา้ งวงั เวง สำ� หรบั ลำ� ปจั จบุ นั นไี้ ดม้ กี ารประกอบพธิ ลี งนำ้� เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๔ เปน็ เรอื พน้ื ดำ� นำ�้ หนัก ๑๕.๖ ตัน กว้าง ๓.๑๕ เมตร ยาว ๔๔.๗๐ เมตร ลกึ ๐.๙๐ เมตร กินนำ้� ลกึ ๐.๔๑ เมตร ฝีพาย ๕๐ นาย นายทา้ ย ๒ นาย นายเรือ ๒ นาย พายทใ่ี ชเ้ ปน็ พายทอง พลพายจะพายในท่านกบนิ และถือเปน็ ธรรมเนียมว่า ถ้าจะเปล่ียนท่าพายเป็นพายธรรมดา หรือพายกระเดียด จะต้องรับพระราชทานพระบรม ราชานญุ าตเสยี กอ่ น จงึ เปลยี่ นทา่ พายได้ เรือพระทนี่ ่ังอนนั ตนาคราช เปน็ เรือพระท่นี ง่ั ก่งิ ซงึ่ มีโขนเรือเปน็ รปู พญานาค ๗ เศียร ในสมัยกรุง รตั นโกสนิ ทรน์ นั้ สรา้ งขนึ้ ในรชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ๑ ซง่ึ ทรงพระราชดำ� รวิ า่ พระทน่ี งั่ ครุฑของเดิมก็มีอยแู่ ลว้ แตพ่ ระทน่ี งั่ นาคยังหามีไม่ จึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมใหส้ มเด็จพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมขุนราชสีหวกิ รม เอามาดเสน้ ๒ ๔ ศอก ทำ� เป็นเรอื พระทน่ี ่ังนาค ๗ เศยี ร ชอื่ วา่ พระทีน่ งั่ อนันตนาคราช ในสมยั รชั กาลที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใชเ้ รอื พระทน่ี งั่ อนนั ตนาคราชเปน็ เรอื พระทนี่ งั่ ลำ� ทรง ๓ ซงึ่ จะตง้ั บษุ บกผกู มา่ นทำ� ดว้ ยผา้ ตาดมนี กั สราชประจำ� ทง้ั ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั ทห่ี วั เรอื ตงั้ ปืนจ่ารงครำ�่ เงนิ หนา้ บษุ บกจะตงั้ เคร่อื งสูง ด้านหน้ามีฉตั ร ๗ ช้นั ๑ องค์ ฉตั ร ๕ ชัน้ ๓ องค์ ดา้ นหลงั บุษบก เป็นฉตั ร ๗ ชน้ั ๑ องค์ ๕ ชนั้ ๒ องค์ และมีพระกลด พดั โบก บังพระสรู ย์ บงั แทรก (บงั ดนั้ ) ด้านหน้าพระ แทนมีอาวุธผูกติด คอื ปืนนกสับ พระแสงงา้ วนากถมเงิน ดา้ นทา้ ยพระแทน่ มีทวน ๑ คู่ ขุนนางท่ีอยปู่ ระจำ� เรอื มจี มื่นมหาดเลก็ ขา้ งละ ๒ ทา่ น ส�ำหรับเชญิ พระแสงตีนตอง มจี างวางปลดั ทูลฉลอง และหมุ้ แพรอยูห่ นา้ พระท่ี พวกพลเลวอยทู่ ้าย ๒ คน พลพายใช้พายทอง เช่นเดยี วกับเรือพระท่นี งั่ สุพรรณหงส์ ๑ พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๓, ศึกษาภัณฑพ์ าณิชย์, ๒๕๑๕, หน้า ๓๖๘. ๒ มาดเส้น มาจากค�ำ “มาดเหลา” ซงึ่ หมายถึงเรอื ไม้ขุดทงั้ ล�ำเรอื เกลาแต่งผิวให้เรยี บ เรือ่ ทมี่ ีขนาดใหญท่ ่ยี าว ๑ เส้น หรือ ๔๐ เมตรขนึ้ ไปเรียกว่ามาดเส้น เปน็ การเรียกขนาดเรือไปดว้ ย. ๓ สมเด็จฯ เจา้ ฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำ� ราบปรปักษ.์ อา้ งแลว้ , หนา้ ๕๓. 108
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES สำ� หรบั เรือพระทนี่ งั่ อนันตนาคราชลำ� ปัจจุบัน สรา้ งขน้ึ ในรัชกาลที่ ๖ แทนลำ� เดมิ สร้างเสร็จเมื่อวนั ท่ี ๑๕ เมษายน ๒๔๗๕ เป็นเรอื พืน้ เขียว นำ้� หนัก ๑๕.๓๖ ตัน กว้าง ๒.๙๕ เมตร ยาว ๔๒.๙๕ เมตร ลกึ ๐.๗๖ เมตร กินน�้ำลึก ๐.๓๑ เมตร ฝีพาย ๕๔ นาย นายท้าย ๒ นาย มกี ารซ่อมใหม่ พ.ศ. ๒๕๑๒ อาจท�ำใหน้ ำ้� หนัก เปลย่ี นไป เรอื พระที่น่งั ศรีสมรรถไชย เรอื พระที่นั่งนม้ี ีมาแล้วแตค่ รั้งกรงุ ศรีอยธุ ยา ปรากฏในตำ� ราร้ิวกระบวน แห่พยุหยาตราชลมารค สมเด็จพระนารายณม์ หาราช เป็นเรอื ก่ิงพ้นื ด�ำ และมีปรากฏช่อื ในโคลงพระราชพิธี ทวาทศมาส ๑ ในรัชกาลท่ี ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ด้วย เป็นเรือพระที่น่ังส�ำหรับทรงเปลื้องเครื่องเพราะมี การต้งั บัลลงั ก์บุษบก อญั เชิญพระชฎามหากฐนิ นำ� หนา้ เรือพระท่นี ่งั ลำ� ทรง ตัง้ เครอ่ื งสงู ด้านหน้าฉตั ร ๗ ชนั้ ๑ องค์ ฉัตร ๕ ชน้ั ๒ องค์ ดา้ นหลังบษุ บกตั้งฉัตร ๗ ชนั้ ๑ องค์ ฉัตร ๕ ชนั้ ๒ องค์ มา่ นบษุ บกเป็นผา้ ตาดมี ต�ำรวจประจ�ำเรอื ๖ นาย นกั สราชน่ังเชญิ ธง ดา้ นหน้าและดา้ นหลงั ดา้ นละ ๑ นาย ในรชั กาลปจั จบุ นั เนอื่ งจากเรอื พระทน่ี ง่ั ศรสี มรรถไชยชำ� รดุ ไมส่ ามารถซอ่ มแซมได้ ดงั นน้ั เรอื พระทนี่ ง่ั สำ� หรบั ทรงเปล้อื งเครือ่ ง จึงใช้เรือพระทน่ี ่ังศรีแทนเรอื พระทีน่ ั่งกงิ่ คอื ใชเ้ รอื พระทน่ี ั่งอเนกชาติภุงคแ์ ทน โดย การทอดบลั ลงั กก์ ญั ญามมี า่ นกนั้ โดยปกตเิ มอื่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยกระบวน พยุหยาตราใหญ่นั้น จะทรงเคร่ืองบรมราชภูษิตาภรณ์ และทรงพระมหามงกุฎ หรือพระชฎามหากฐินทรง พระมาลาเสา้ สงู เรอื ท่ใี ชท้ รงเปล้อื งเครอ่ื งนี้เรยี กวา่ เรอื พลับพลา เรอื นจ้ี ะเข้าเทยี บเทา่ ก่อน แล้วเรือพระท่ีน่งั ลำ� ทรงเทยี บดา้ นนอกเรอื พลบั พลา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ สพู่ ลบั พลา เปลอื้ งพระมหามงกฎุ หรอื พระชฎามหากฐินแล้ว จึงเสด็จขึ้น ตอนเสด็จลงก็เช่นกัน เสด็จลงเรือพลับพลาทรงพระมหามงกุฎ หรือ พระชฎามหากฐนิ กอ่ น จึงเสด็จข้นึ ประทับเรอื พระท่ีนัง่ ในเวลาเสด็จกลับเรอื พลบั พลาแลน่ หลงั เรือพระท่นี งั่ เรือพระทน่ี งั่ อเนกชาติภุชงค์ มนี ายเรอื ๒ นาย นายทา้ ย ๒ นาย ฝีพาย ๖๑ นาย ใชพ้ ายทองพาย ทา่ นกบินเช่นเดียวกับเรอื พระทนี่ ั่ง ไม่มีนักสราญเชิญธง เพราะถือเปน็ ธรรมเนียมว่า เรือพระท่ีนัง่ ศรีถา้ ทอด บลั ลังก์กญั ญา จะไม่มธี งทา้ ย เรือพระที่นัง่ อเนกชาติภชุ งคล์ �ำปัจจุบนั สร้างข้ึนในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั เป็นเรือพระที่น่ังสพี นื้ ชมพู น�ำ้ หนกั ๗.๗ ตัน กวา้ ง ๓.๑๕ เมตร ยาว ๔๕.๔๐ เมตร ลึก ๑.๑๑ เมตร กินน�้ำลกึ ๑.๔๖ เมตร กำ� ลงั ๓.๕ เมตร ซ่อมใหญ่ พ.ศ. ๒๕๑๗ น�้ำหนักอาจเปล่ยี นแปลงได้ ๑๕. เรอื พระที่น่งั รอง ใชเ้ รอื พระท่ีน่งั ศรี ทอดบลั ลงั กก์ ญั ญาเชน่ เดียวกับเรือพลบั พลา มกั มี ๒ องค์ หลังคาดาดผา้ ลายก้านแย่ง บัลลังก์มมี ่านก้ันผกู ผา้ พูจ่ ามรี ๑๖. เรือศรี คำ� วา่ เรอื ศรีนี้ บางทีก็มีคำ� ว่า “เรือศรีสักหลาด” ค่ไู ปดว้ ย แสดงว่าคงจะมีลกั ษณะตา่ ง กนั ตรงดาดหลงั คากญั ญา อาจจะเปน็ ไดว้ า่ แตเ่ ดมิ คงจะดาดหลงั คากญั ญาดว้ ยผา้ ธรรมดาจงึ เรยี กวา่ เรอื ศรอี นั หมายถงึ สผี า้ หลงั คากญั ญา ตอ่ มาเมอื่ ใชผ้ า้ สกั หลาดมาดาดหลงั คากญั ญาแทนผา้ ธรรมดา ซง่ึ คงจะดาดเฉพาะ เรือท่สี ำ� คญั เชน่ เรอื พระที่นง่ั จงึ เรยี กช่อื อีกค�ำหนง่ึ เป็นการเน้นช่อื ผ้า วา่ เรือศรสี ักหลาด ต่อมาในสมัยกรุง รัตนโกสนิ ทร์ การดาดหลังคากญั ญาเรือศรีดว้ ยสักหลาดมีทุกล�ำจึงงดคำ� “สักหลาด” ไป เรยี กแตเ่ รือศรี ๑๗. เรือกราบ เป็นเรอื รบทใ่ี ชฝ้ พี ายของไทยแต่โบราณ มไี มก้ ระดานตดิ ด้านข้างเรอื ไปตามแนวนอน ส�ำหรับเดิน ๑ “กระบวนเสดจ็ โดยทางชลมารค” ใน ลทั ธธิ รรมเนยี มตา่ งๆ เลม่ ๒, สำ� นกั พมิ พบ์ รรณาคาร, ๒๕๑๕, หนา้ ๙ - ๑๒. 109
เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES หน้าทข่ี องเจา้ พนักงานในกระบวนเสดจ็ กระบวนเสดจ็ โดยทางชลมารค ครง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา๑ แตม่ าชำ� ระในปลายรชั กาลพระเจา้ ตากสนิ มหาราช ใน พ.ศ. ๒๓๒๓ มรี ะเบยี บดงั นีค้ ือ ถา้ เปน็ การเสดจ็ ทางชลมารคไปประพาสแห่งใดโดยทม่ี ิได้ประทบั แรมนน้ั เจ้าพนักงานต่างๆ ลว้ นมีหน้าท่ีดังนี้ พนั ทพิ ราชกลาโหม เวรพระตำ� หนกั คมุ เจา้ พนกั งานสตี่ ำ� รวจทำ� ฉนวนพลบั พลารบั เสดจ็ ของพระมหา กษตั รยิ ์ สนมต�ำรวจ ท�ำฉนวนทำ� พลบั พลา เจา้ ต่างกรม ข้างหน้า ขา้ งใน หลวงอินทรเทพ หลวงพเิ รนทรเทพ จดั แตง่ เรอื พระทีน่ ั่ง ศรีสักหลาดลำ� ทรงและเรอื พระทีน่ ง่ั หมื่นชัยภูษา หมืน่ ไชยาภรณ์ รอง เกณฑบ์ โทนพันหวั พนั ท้าย และฝีพาย หนา้ เรือพระทน่ี งั่ มีมหาดเล็ก หวั หม่นื หรือนายเวรลง ๑ คน มีชาวแสงปืนต้น ถือปนื หรอื กระสนุ หม่นื อัคนศิ รหรอื หมน่ื ศรส�ำแดง ก�ำนันพระแสงลง ๑ คน ทา้ ยเรือพระทน่ี ง่ั มีมหาดเลก็ ห้มุ แพร หรอื มหาดเลก็ เลวคมุ พระเต้า ลงพระบงั คน หีบใส่เงินพระแสง กระสุน ๑ คน มชี าวพระภูษามาลาเอาถุงสักหลาดใส่พระภษู ามาลาไป ๑ คน ทง้ั มหาดเล็กและภษู ามาลาท่ีลงท้ายเรอื นต้ี อ้ งพายเรอื ดว้ ย พนั พรหมราชกลาโหม เกณฑ์เรอื ดัง้ รับเสดจ็ รวมทั้งส้ิน ๗ ล�ำ ไดแ้ ก่ เรอื คชู่ กั ๒ ลำ� เรอื พระทนี่ ง่ั ทองแขวนฟา้ ลำ� หนง่ึ มฝี พี ายเปน็ ชาวบา้ นใหม่ มหี ลวงสเุ รนทรวชิ ติ ควบคมุ อีกล�ำหนง่ึ มฝี พี ายเปน็ ชาวบา้ นโพเรียง มหี ลวงอภยั เสนา ควบคมุ โดยมหี มออยงู่ านลงเรอื พระที่น่ังนี้ ๑ คน เรือด้งั ทหารในขวา-ซ้าย มีหลวงพพิ ิธเดชะเป็นเจ้ากรม ซ่ึงมีปลดั กรมคมุ ล�ำขวา-ซ้าย คือ ขนุ พพิ ิธณรงค์ และขุนทรงวชิ ยั แต่เขา้ กระบวนเพยี งล�ำเดียว เรอื ด้งั อาสาวิเศษ ขวา-ซา้ ย มีหลวงเสนานนท์ และหลวงพลอาศรัย คุม ในเรือดั้งทั้ง ๕ ล�ำนี้ จะมีชาวแสงเกณฑ์ทนายเลือก ถือปืนคาบศิลาลงเรือด้ังล�ำละ ๑ คนเป็น ๑ กระบอก เรอื ขา้ ทูลทูลละอองฯ มที งั้ ทีม่ ตี �ำแหน่งนำ� เสดจ็ มี ๒ ลำ� ตามเสดจ็ มี ๒๑ ลำ� เรือนำ� เสด็จ ๑. เรอื ของมหาดไทย หลวงราชนิกุล เจา้ กรม ๒. เรือปลัดกรมตำ� รวจ ผอู้ ยูเ่ วร ๑ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์, พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔, ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์, ๒๕๒๑, หนา้ ๓๑ - ๓๙. 110
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรอื ตามเสด็จ ๑. เรอื ตำ� รวจในขวา ของหลวงมหามนตรี กบั ของหมนื่ ทิพเสนา ปลดั กรม ๒. เรอื ต�ำรวจในซา้ ย ของหลวงมหาเทพ กบั ของหมน่ื ราชามาตย์ ปลัดกรม ๓. เรือตำ� รวจนอกขวา ของหลวงราชรินทร์ กบั หมนื่ ทพิ รกั ษา ปลดั กรม ๔. เรอื ต�ำรวจนอกซา้ ย ของหลวงอนิ ทรเดช กบั หมื่นราชาบาล ปลัดกรม ๕. เรอื ตำ� รวจใหญ่ ขวา-ซา้ ย ของพลวงพเิ รนทรเทพ กบั หลวงอนิ ทรเทพ ๖. เรือต�ำรวจใน มี ๓ ล�ำ ล�ำขวาของหลวงวิสูตรโยธามาตย์ ล�ำกลางของพระราชสงคราม และลำ� ซ้ายของหลวงราชโยธาเทพ ๗. เรอื ของบา้ นใหม่ หลวงสุเรนทรวิชติ คกู่ บั เรอื ของบา้ นโพเรียง ของหลวงอภยั เสนา ๘. เรือกรมวงั ของหลวงรักษามณเฑียร คูก่ บั ของหลวงบ�ำเรอศกั ดิ์ ๙. เรือจมื่นจงขวา คกู่ บั เรอื จมื่นจงซา้ ย ๑๐. เรอื ปลัดวังขวา ค่กู ับ เรือปลัดวังซ้าย ต่อมาเปน็ เรือของสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เรอื ของพระเจา้ หลานเธอ ตามดว้ ย เรอื ใช้ ๘ ล�ำ คอื ๑. เรอื ทนายเลือกหอก ขวาของขุนภักดอี าสา ซ้ายของขุนโยธาภักดี ๒. เรอื ทนายเลอื กปนื ขวาของหมื่นอศั นศิ ร ซ้ายของหม่นื ศรส�ำแดง ๓. เรอื ต�ำรวจใหญ่ ขวาของหลวงอนิ ทรเทพ ซ้ายของหลวงพเิ รนทรเทพ ๔. เรอื ทหารใน ขวาของหลวงวสิ ตู รโยธามาตย์ ซ้ายของหลวงราชโยธาเทพ เรอื ทุกล�ำนี้ เจา้ กรม ปลดั กรมได้แตง่ พันทนายไปลำ� ละ ๖ คน บรรดาขา้ ทูลละอองฯ ท้ังหมดน้ี นายเวรมหาดไทย และนายเวรกลาโหม สง่ รายชื่อต่อชาววัง แล้ว ชาววังน�ำส่งมหาดเล็กผู้รับเวร เม่ือถึงท่ีประทับ กรมวังตรวจบัญชีเรือผู้ตามเสด็จช้ัน ๑ ช้ัน ๒ และเรือผู้ใด ตามทนั หรือไมท่ ัน แลว้ น�ำความข้นึ กราบบังคมทลู 111
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 112
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES การแตง่ กายของผ้ปู ระจำ� เรือ ในรว้ิ กระบวนเรอื พระราชพิธี จากการเสดจ็ เลียบพระนครทางชลมารคในสมยั รชั กาลที่ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว ทำ� ให้เราไดท้ ราบการแต่งกายของนายเรอื และฝพี ายไดอ้ ย่างดี ๑. เรือแง่รายน�ำเสดจ็ เจา้ กรมทหารปืนปากน�้ำเป็นนายล�ำแตง่ ตวั นุ่งปูม สวมเสอ้ื เขม้ ขาบ โพกขลบิ ทอง ฝพี ายสวมเสื้อแดง กางเกงขาว สวมหมวกฝาชี ๒. เรือประตู เปน็ เรือกัญญา นายล�ำคือพระเทพผลู และพระราชรองเมอื ง น่งุ ปมู สวมเสอื้ เข้มขาบ โพกขลิบทอง ฝีพายสวมเสือ้ แดง หมวกแดง ๓. เรอื เหราสายกำ� มะลอ หลวงเสนห่ ส์ รชติ นายลำ� นงุ่ ปมู สวมเสอ้ื เขม้ ขาบ โพกขลบิ ทอง ฝพี าย สวม เส้ือแดง ๔. เรอื แซงตา่ งๆ นายล�ำแต่งตัวเปน็ รามญั คนตีกรรเชยี งแตง่ ตวั โพกผ้าแพรรามญั สวมเสือ้ สคี ราม ๕. เรอื พาลีร้งั ทวีป เจ้าพระยาอคั รอดุ มบรมเสนาบดี นายล�ำ แตง่ ตวั สวมมาลา สวมเสือ้ ตาดอย่าง น้อย ทนายหมอบหน้า สวมเส้อื อตั ลดั โพกแพรสี ฝพี าย สวมกางเกงมสั รู่ ๖. เรอื กญั ญา ของพระยาเทพอรชุน นายลำ� นุ่งปูม สวมเส้ือทรงประพาส หมวกต้มุ ป่ี ๗. เรอื กัญญากลองนำ� เสด็จ ของพระยาวิชิตณรงค์ นายลำ� สวมเสื้อทรงประพาส หมวกตุม้ ปี่ ๘. เรอื กระบรี่ าญรอนราพณ์ และเรอื กระบปี่ ราบเมอื งมารของพระอนรุ กั ษโ์ ยธา และพระมหาสงคราม นายลำ� นุง่ ปูม สวมเสอื้ เขม้ ขาบ โพกขลิบทอง ๙. เรือเสือทะยานชล และเรือเสือค�ำรณสินธ์ุ นายล�ำนงุ่ ปมู สวมเสอ้ื เข้มขาบ โพกขลบิ ทอง ๑๐. เรือโตขมงั คลืน่ และเรือโตฝืนสมุทร นายล�ำนงุ่ ปูน สวมเสอ้ื เขม้ ขาบ โพกขลบิ ทอง ๑๑. เรือสางก�ำแพงหาญ และเรือสางชาญชลสินธ์ุ นายล�ำนงุ่ ปูม สวมเสอื้ เข้มขาบ โพกขลบิ ทอง ๑๒. เรือเหราล่องลอยสนิ ธุ์ และเรอื เหราลลี าสมทุ ร นายล�ำนุง่ ปูม สวมเสอื้ เขม้ ขาบ โพกขลบิ ทอง ๑๓. เรอื กเิ ลนประเลน และเรือกิเลนละเลิงชล นายลำ� นุ่งปูม สวมเส้ือเขม้ ขาบ โพกขลิบทอง ๑๔. เรอื มังกรจ�ำแลง และเรือมงั กรแผลงฤทธ์ิ นายล�ำนุ่งปูม สวมเส้ือเขม้ ขาบ โพกขลิบทอง ๑๕. เรืออสรุ วายภุ กั ษ์ และเรืออสุรปกั ษี นายล�ำนุ่งปูม สวมเสอื้ เขม้ ขาบ โพกขลบิ ทอง ๑๖. เรือครฑุ เหนิ เหจ็ และเรือครฑุ เตร็จไตรจกั ร นายลำ� นงุ่ ปูม สวมเสอื้ เข้มขาบ โพกขลิบทอง ๑๗. เรือสุวรรณเหรา และเรือเหราข้ามสมุทร นายล�ำนงุ่ ปูม สวมเสอ้ื เข้มขาบ โพกขลิบทอง ๑๘. เรอื กลอง นายล�ำนงุ่ ปูม สวมเสือ้ ทรงประพาส สวมหมวกตุ้มป่ี ๑๙. เรือมงคลสุบรรณ และเรือศรสี ุพรรณหงส์ นายลำ� นงุ่ ปมู สวมเสือ้ เข้มขาบ โพกขลบิ ทอง ฝีพาย ใส่เสื้อสกั หลาดขลิบโหมด หมวกกลีบลำ� ดวน กางเกงมีกรวยเชงิ ใชพ้ ายทอง 113
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 114
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๒๐. เรือกิง่ ศรสี มรรถไชย และเรือก่ิงไกรแกว้ จกั รรตั น์ นายลำ� นุ่งปมู สวมเสอื้ เข้มขาบ โพกขลิบทอง ๒๑. เรือกิง่ ศรสี ุนทรไชย และเรือไกรสรจกั ร นายลำ� น่งุ ปูม สวมเสือ้ เข้มขาบ โพกขลิบทอง ๒๒. เรือกระโห้อาสาจาม นายล�ำนุ่งปมู สวมเส้อื เขม้ ขาบ โพกขลบิ ทอง ๒๓. เรือกัญญาสารวตั ร นายลำ� น่งุ ปมู สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง ๒๔. เรอื เอกไชยเหนิ หาว และเรือเอกไชยหลาวทอง นายลำ� นุ่งปมู สวมเส้ือเข้มขาบ โพกขลบิ ทอง ๒๕. เรอื กลองนำ� เสดจ็ นายล�ำนงุ่ ปมู สวมเสอ้ื ทรงประพาส หมวกตมุ้ ป่ี ๒๖. เรอื ในกระบวนหน้า ฝีพายสวมเสื้อแดง หมวกแดง กางเกงแดง ๒๗. เรอื กงิ่ ศรปี ระภศั รไชย และเรอื กงิ่ ไกรสรมขุ ฝพี าย สวมเสอ้ื หมวกสวมกางเกงสกั หลาดขลบิ โหมด ๒๘. เรอื กราบมีกญั ญา ผา้ หนา้ โขนหกั ทองขวาง นายลำ� นุง่ ปูม สวมเสอื้ ทรงประพาส หมวกต้มุ ป่ี สวมเสือ้ เข้มขาบ โพกขลิบทอง ๒๙. เรือตาร้ายเกณฑ์หัด แสงปนื ประทนุ แถว นายล�ำนุง่ ปูม สวมเสือ้ เข้มขาบ โพกขลิบทอง ฝีพาย สวมเสอ้ื แดง กางเกงแดง หมวกแดง ๓๐. เรอื ศรปี ระกอบเขยี นลายทอง เปน็ เรอื ประเทยี บ ๖ ลำ� ฝพี ายสวมเสอื้ แดง กางเกงแดง หมวกแดง ๓๑. เรือแซตา่ งๆ นายลำ� น่งุ ปมู สวมเสอ้ื ทรงประพาส หมวกตุ้มปี่ ฝีพายแต่งตัวโพกศีรษะ สวมเสอ้ื เปน็ รามัญ ๓๒. เรอื กราบมีกัญญา เป็นเรือประตูหลงั นายลำ� นงุ่ ปูม สวมเส้ือเข้มขาบ โพกขลบิ ทอง ๓๓. เรอื กญั ญา ของพระเจ้านอ้ งยาเธอพระเจา้ ลูกเธอ พระเจา้ หลานเธอ พระราชวรวงศเ์ ธอ บรรดา เจา้ นายแต่งพระองค์ ทรงเคร่ืองฉลองพระองคจ์ บี เอว สวมพระมหามาลาเสา้ สงู ปกั ขนนก๑ ๑ เจา้ พระยาพระคลงั (หน), “ลลิ ติ พยหุ ยาตราเพชรพวง”, ใน วรรณคดเี จา้ พระยาพระคลงั (หน), ศกึ ษาภณั ฑพ์ าณชิ ย,์ ๒๕๑๖, หนา้ ๑๓๔ - ๑๔๗ และ สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ มหามาลา กรมพระยาบำ� ราบปรปกั ษ,์ โคลงพระราชพธิ ที วาทศมาส, หา้ งหนุ้ สว่ น สามญั นติ บิ คุ คล ไทยวฒั นาพาณชิ พมิ พแ์ จกในการทอดกฐนิ พระราชทาน ณ วดั บรมวงศอ์ ศิ รวราราม จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา วนั ที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๐๙. 115
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 116
เรอื พระราชพิธี : ROYAL BARGES ๓๔. เรอื สคุ รพี ครองเมอื ง ของเจา้ พระยาบรมมหาพชิ ยั ญาตเิ ปน็ นายลำ� สวมมาลา เสอ้ื ตาดอยา่ งนอ้ ย ทนายหมอบหนา้ สวมเสื้ออัตลัด โพกแพรสี ฝีพาย สวมกางเกงมัสรู่ ๓๕. เรอื กญั ญา ของขนุ นางตา่ งๆ ทม่ี ไิ ดเ้ ขา้ กระบวน นายลำ� นงุ่ ปมู สวมเสอื้ ทรงประพาส หมวดตมุ้ ป่ี ฝพี ายสวมกางเกงตา่ งๆ ๓๖. เรอื เกง๋ พง้ั ขนุ นางจีน แตง่ ตัวอยา่ งขุนนางเมอื งจนี ฝพี ายสวมกางเกง เสื้อกกั๊ หมวกจโี บ จาก สารานุกรมไทย ๑ เราจะทราบการแตง่ กายของทหารเรือพระราชพธิ ที คี่ ่อนข้างละเอียด ดงั นี้ ๑. นายเรือ มี ๒ แบบ คอื ๑. สวมเสื้อผ้าโหมดเทศ นุ่งผ้าม่วงเชิงทอง สวมหมวกทรงประพาสสีด�ำยอดเกี้ยว คาดเข็มขัด แถบทองทั้งพกู่ ระบี่ ขัดดาบ สวมถงุ เทา้ ยาวสขี าว รองเท้าชตู ดิ โบว์ ๒. สวมเสอ้ื ผา้ อตั ลดั นงุ่ ผา้ เกย้ี วลาย คาดผา้ โหมดเทศ สวมหมวกทรงประพาส ผา้ โหมดเทศยอด เกี้ยว สวมถงุ เท้ายาวสีขาว และรองเท้าหนังสีดำ� ๒. คนน่งั คฤหใ์ นกญั ญา ในเรอื รูปสตั ว์ ๒ เรอื กลองและเรือต�ำรวจเอก สวมเส้อื นอกสขี าว น่งุ ผา้ มว่ ง มเี ชิง สวมหมวกทรงประพาสสีนำ้� เงิน สวมถุงเท้ายาวสขี าว และรองเท้าหนงั สดี ำ� ๓. คนนง่ั คฤห์ในกัญญา ในเรอื ต�ำรวจใน เรือดงั้ และเรอื แซ สวมเส้อื นอกสขี าว นงุ่ ผ้าเกีย้ วลาย สวม หมวกทรงประพาสผา้ โหมดเทศยอดจุก สวมถงุ เทา้ ยาวสีขาว รองเทา้ หนังสีด�ำ ๔. คนเห่ สวมเส้ือผา้ โหมดเทศ น่งุ ผ้าเก้ยี วลาย คาดผ้าคาดโหมดเทศ สวมหมวกทรงประพาสยอด เก้ียว สวมถงุ เทา้ ยาวสขี าว รองเท้าชูติดโบว์ ๕. คนกระทงุ้ เส้า สวมเสอ้ื ผา้ มัสรู่ไหม นุง่ ผ้าเก้ยี วลาย คาดผ้าคาดโหมดเทศ สวมหมวกหูกระตา่ ย ผา้ สแี ดง แถบลกู ไมใ้ บข้าว สวมถุงเท้ายาวสขี าว รองเทา้ ชูติดโบว์ ๖. ภษู ามาลาและพนกั งานศภุ รตั สวมเสอ้ื นอกสขี าว นงุ่ ผา้ มว่ งเชงิ ทอง คาดผา้ รดั ประคดแพรสแี ดง สวมหมวกทรงประพาสก�ำมะหยส่ี ีดำ� สวมถุงเทา้ ยาวสขี าว รองเท้าชูตดิ โบว์ ๗. มหาดเล็กเชิญหอก และถวายงานพัด สวมเส้ือนอกสีขาว นุ่งผ้าม่วงเชิงเงิน คาดผ้ารัดประคด สีนำ�้ เงินดอกขาว สวมหมวกทรงประพาสสีน้ำ� เงิน สวมถุงเท้ายาวสขี าว รองเท้าชูติดโบว์ ๘. คนเชญิ พระกลด บงั พระสูรย์ และพดั โบก สวมเสื้อนอกสีขาว นุ่งผา้ เกี้ยวลาย สวมเส้ือครุยแพร ใหญ่ ศีรษะสวมลอมพอก๓ สีขาว สวมถุงเท้ายาวสขี าว รองเทา้ หนงั สดี �ำ ๙. นักสราช หรือคนเชิญธง สวมเสื้อผ้ามัสรู่ไหม นุ่งผ้าเกี้ยวลาย คาดผ้าโหมดเทศ สวมหมวกหู กระตา่ ยสีแดง ลกู ไม้แถบใบข้าว สวมถงุ เท้าขาวสยี าว รองเทา้ หนงั สดี �ำ ๑๐. คนสัญญาณ สวมเสือ้ ผ้าอัตลัด นงุ่ ผา้ เกี้ยวลาย คาดผ้าโหมดเทศ สวมหมวกหกู ระต่ายสีแดง ติด ลูกไม้แถบใบข้าว สวมถุงเทา้ ยาวสีขาว รองเท้าหนงั สีดำ� ๑ ราชบณั ฑติ ยสถาน, สารานกุ รมไทย เล่ม ๖, ๒๕๐๗ - ๒๕๐๘, หนา้ ๓๔๐๔ - ๓๔๐๗. ๒ เรอื รปู สตั ว์ เชน่ เรอื เสอื ทะยานชล เรอื เสอื คำ� รณสนิ ธ์ุ เรอื พาลรี ง้ั ทวปี เรอื สคุ รพี ครองเมอื ง เรอื อสรุ วายภุ กั ษ์ เรอื อสรุ ปกั ษา. ๓ เป็นหมวกรูปกลมตามแนวศีรษะ ขอบหมวกสูง และมียอดเรียวแหลม ตัดหมวกด้านในท�ำด้วยไม้ไผ่สานลงรัก หรือยาชันหุ้มด้วยผ้าที่จับจีบขึ้นไปอย่างสวยงามจนถึงยอด รอบตัวหมวกตกแต่งด้วยโลหะตามแต่ยศ เช่น เงิน หรือนาก หรอื ทอง และมีประดับดอกไม้ไหว. 117
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๑๑. ฝพี ายเรอื พระทนี่ ง่ั ลำ� ทรงและเรอื พระทนี่ ง่ั รอง สวมเสอื้ สกั หลาดสแี ดงตดิ ลกู ไมใ้ บขา้ ว กางเกง ผ้าเสิรจ์ สีด�ำ คาดผา้ รัดประคดโหมดเทศดาบฝกั ไม้ ด้ามไมก้ ลงึ สายสะพายดาบสกั หลาดสีแดงตดิ แถบลูกไม้ สวมหมวกทรงประพาสสักหลาดแดงติดลกู ไม้ใบข้าว สวมถงุ เท้ายาวสขี าว รองเท้าหนังสดี �ำ ๑๒. ฝพี ายเรือรปู สตั ว์ สวมเส้ือเสนากุฎลาย สวมกางเกงผา้ ขาวริว้ ทางแดง คาดผ้ารัดประคดสแี ดง ดอกขาว สวมหมวกสังกะสที าสีแดง มลี ายยันตร์ สวมรองเท้าหนงั สีดำ� ๑๓. ฝพี ายเรอื เสอื สวมเสอ้ื ผา้ ปศั ตสู แี ดงตดิ แถบสเี หลอื ง กางเกงผา้ ขาวรว้ิ ทางแดง คาดผา้ รดั ประคด สีแดงดอกขาว สวมหมวกกลีบล�ำดวนสแี ดงติดแถบเหลือง สวมรองเท้าหนังสีด�ำ ๑๔. ฝพี ายเรือกลอง สวมเส้ือสขี าวตดิ แถบสีนำ้� เงนิ กางเกงผา้ สีเงนิ คาดผา้ รัดประคดสีนำ�้ เงนิ ดอก ขาว สวมหมวกหูกระตา่ ยผา้ สีเงนิ ตดิ แถบสเี หลือง รองเท้าหนงั สดี �ำ ๑๕. ฝีพายเรือต�ำรวจ สวมเส้ือผ้าสีเงิน ข้อมือติดแถบสีแดง กางเกงผ้าสีน้�ำเงิน คาดผ้ารัดประคด สแี ดงดอกสขี าว สวมหมวกหกู ระตา่ ยสีแดงแถบผา้ สีเหลือง รองเท้าหนังสดี ำ� ๑๖. ฝพี ายเรือต�ำรวจ สวมเส้อื ผา้ สนี �ำ้ เงนิ แถบแดง กางเกงผ้าสนี ้ำ� เงนิ ปลายขาตดิ แถบสแี ดงคาดผา้ รัดประคดสีแดงดอกขาว สวมมงคลสีแดง รองเท้าหนังสดี ำ� ๑๗. ฝีพายเรือด้ัง สวมเสื้อผ้าสีด�ำริ้วทางแดง กางเกงผ้าสีแดงติดแถบสีด�ำ คาดผ้ารัดประคดสีแดง ดอกขาว สวมหมวกทรงประพาสสีด�ำตดิ แถบสีแดง รองเทา้ หนังสีด�ำ ๑๘. ฝีพายเรือแซ สวมเสื้อผ้าขาวคอติดแถบแดง ข้อมือมีแถบแดง กางเกงผ้าสีน�้ำเงิน คาดผ้ารัด ประคดสแี ดง หน้ามเี ชิงชาย สวมหมวกหูกระต่ายสแี ดง รองเท้าหนงั สีดำ� ๑๙. ฝีพายเรือประตู สวมเสือ้ ผ้าสีน�้ำเงินติดแถบสีเหลือง กางเกงผ้าสนี ำ�้ เงิน คาดผ้ารัดประคดสแี ดง ศีรษะสวมมงคลสแี ดง รองเท้าหนังสีดำ� ๒๐. คนตกี ลองชนะ มี ๒ ชดุ คอื ชุดสีเขยี วและชดุ สแี ดง ชดุ สีเขียว สวมเส้อื สเี ขียว ปลายแขนติดแถบ สเี หลอื ง กางเกงสเี ขยี วปลายขาตดิ แถบสเี หลอื ง สวมหมวกกลบี ลำ� ดวนสเี ขยี ว รองเทา้ หนงั สดี ำ� ชดุ สแี ดง สวม เสอื้ สแี ดง ปลายแขนตดิ แถบเหลอื ง กางเกงสแี ดงปลายขาตดิ แถบสเี หลอื ง สวมหมวกกลบี ลำ� ดวน รองเทา้ หนงั สดี �ำ ๒๑. สงั ข์ แตร สวมเสื้อผา้ ปศั ตูสแี ดง ติดแถบทองปลายแขนบาน กางเกงผ้าปัศตูแดง ขอบปลายขา ตดิ แถบเหลือง สวมหมวกผ้าปัศตแู ดงรปู กรวยพยู่ อดหมวกสีเหลืองหรอื สีขาว รองเทา้ หนงั สดี ำ� ๒๒. จ่าปี่ จา่ กลอง เส้ือเขม้ ขาบไหม กางเกงผา้ มสั รไู่ หม สวมหมวกทรงประพาสผา้ โหมดเทศยอด เกี้ยวสวมถุงเท้าสีขาว รองเทา้ หนงั สดี ำ� ๒๓. คนเชิญเคร่ืองสูง สวมเส้ือเข้มขาบไหม กางเกงผ้ามัสรู่ไหม คาดผ้าคาดโหมดเทศ ศีรษะสวม ลอมพอก หางเหยีย่ วแดง สวมรองเทา้ หนังสีด�ำ ๒๔. คนตีมโหระทึก สวมเสื้อเข้มขาบไหม กางเกงผ้ามัสรู่ไหม คาดเข็มขัดแถบทองหัวมงกุฎ สวม หมวกทรงประพาสผา้ โหมดเทศยอดเก้ียว สวมถงุ เทา้ ยาวสีขาว รองเทา้ หนงั สีดำ� 118
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 119
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 120
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 121
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 122
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ๑. เรอื พระทน่ี งั่ อเนกชาตภิ ุชงค์ แสดงการแต่งกายของ 1. Anekchat Bhujong, another important royal ฝพี าย ซึ่งอยู่ในชดุ สีแดง และทา่ พายในจังหวะนกบิน barge manned by the oarsmen in red, They มคี นให้สญั ญาณถอื แพนหางนกยูงน่งั อยดู่ ้านหนา้ also row the barge in the fashion of flying bird, The signaler holding peacock tail is seen ๒. ลกั ษณะพระท่ีนัง่ ราชบลั ลงั กก์ ัญญา ซึ่งทอดกลางเรอื at the stern. พระที่น่งั อเนกชาติภุชงค์ 2. This throne of the Kanya type with canopy is ๓. ท้ายเรอื พระที่นัง่ อเนกชาตภิ ชุ งค์ มีนักสราชอญั เชิญธง placed in the middle of the Anekchat สามชาย น่ังอยู่ท่เี กรนิ ท้ายเรอื Bhujong Barge. 3. The stem of Anekchat Bhujong. The beaver of Victory flag is seated at the stem. 123
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 124
เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES โขนเรืออสรุ วายุภกั ษ์ The stem of Asura Wayuphak Royal Barge. เรอื อเนกชาติภชุ งค์ Anekchat Bhujong Royal Barge. 125
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 126
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ลกั ษณะเรือเอกชยั The Stem of Ekkachai Royal Barge. 127
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 128
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 130
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ประวัตยิ อ่ ของเรอื พระราชพธิ ี คราวสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ๑ วันที่ ๕ เมษายน ๒๕๒๕ เรอื พระทนี่ ั่งสพุ รรณหงส์ ช่ือเรอื พระทนี่ ง่ั นม้ี ีกล่าวถงึ เป็นครัง้ แรก ในสมัยกรุงศรอี ยุธยาตน้ รชั กาลพระมหาจกั รพรรดิราว พ.ศ. ๒๐๙๑ ล�ำปัจจุบนั สรา้ งขน้ึ ในปลายสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั รัชกาลท่ี ๕ เพ่อื ทดแทน เรอื ลำ� เดมิ ทไี่ ดส้ รา้ งมาตงั้ แตส่ มยั รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑ เรอื ลำ� น้ี มาแลว้ เสร็จในสมัยรชั กาลพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี ๖ ประกอบพิธีลงน�ำ้ เมอ่ื วันท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๔ ๑ กองประวตั ศิ าสตร์ กรมยุทธการทหารเรอื , ประวัตยิ ่อเรือพระราชพธิ ี, ๒๕๒๕. 131
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES - พ.ศ. ๒๕๑๐ ซอ่ มเพอื่ ใชช้ วั่ คราวใหท้ นั ใชใ้ นการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ถวายผา้ พระกฐนิ โดยมบี รษิ ทั สหายสนั ต์ จำ� กัด เป็นผู้รบั เหมาการซอ่ มทำ� ช่ัวคราวให้แลว้ เสรจ็ ภายในวันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ - พ.ศ. ๒๕๑๒ ซอ่ มใหญ่ โดยซอ่ มทำ� ตวั เรอื ใหมท่ ง้ั หมด ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๒ จนถงึ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ตอ่ จากนั้นได้ท�ำการซอ่ มทำ� ลวดลายเรอื และเครอื่ งหมายตกแต่งประกอบเรือ ตง้ั แต่ ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๓ จนถงึ วนั ที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญ่เปลี่ยนไมต้ ัวเรือท่ีผชุ ำ� รุดบางสว่ น ตกแตง่ ลวดลาย ลงรกั ปิดทองทาสีเรอื ใหมแ่ ละอน่ื ๆ เพื่อให้ทนั ใช้ในงานสมโภชกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เรม่ิ ซ่อม ท�ำตง้ั แตว่ ันท่ี ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ท่ี ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมีบรษิ ทั สหายสนั ต์ จ�ำกดั เป็นผู้รบั เหมาซอ่ มทำ� รางวลั เกยี รตยิ ศทีไ่ ดร้ บั จากต่างประเทศ จากความงดงามในศิลปกรรมท่ีประกอบขึ้นเป็นเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ประกอบกับเป็นเรือท่ีมี ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติไทยแล้ว ยังมีความส�ำคัญในการเป็นมรดกของโลกในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกไกลอยา่ งยงิ่ ลำ� หนง่ึ ทแ่ี สดงถงึ ความมอี จั ฉรยิ ะในการตอ่ เรอื ของชา่ งไทยโบราณ ซง่ึ สามารถแสดงออก ถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติได้อย่างดีย่ิง นอกจากน้ี ยังเป็นงานศิลปกรรมที่รัฐบาลไทยได้ตระหนักถึง คณุ คา่ และความส�ำคัญ จึงได้ให้การทะนบุ �ำรงุ รกั ษาเรือพระทนี่ ง่ั สุพรรณหงส์เปน็ อย่างดี จนสามารถนำ� มารบั ใชเ้ บอ้ื งพระยคุ ลบาทพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในการพระราชพธิ ตี า่ งๆ มาจนปจั จบุ นั อนั ถอื ไดว้ า่ เปน็ การ สืบตอ่ ความสำ� คัญทางประวัติศาสตรใ์ นการตอ่ เรือและการเดนิ เรอื และการค้าขายทางทะเลในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกไกลซง่ึ ก�ำเนดิ ขน้ึ มาเป็นเวลาหลายรอ้ ยปมี าแลว้ ด้วยความส�ำคัญของเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ดังกล่าวมาแล้ว จึงท�ำให้องค์การเรือโลกแห่งสหราช อาณาจักรให้ความสนใจส่งผู้แทนมาพิจารณามอบรางวัลเรือโลกแก่เรือพระท่ีน่ังสุพรรณหงส์ ต่อมาในวันท่ี ๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ (ค.ศ. ๑๙๙๒) คณะกรรมการองคก์ าร WORLD SHIP TRUST ประกอบด้วยนาย อเี วน เซาธบ์ -ี เทลยวั ร์ (MR. EWEN SOUTHBY-TAILYOUR) ประธานองคก์ ารเรอื โลก นายไมเคลิ ไทแนน (MR. MICHAEL TYNAN) นกั กฎหมายประจ�ำองค์การฯ และนายเจมส์ ฟอรไ์ ซธ์ (MR.JAMES FORSYTHE) ได้เดิน ทางมายงั ราชอาณาจกั รไทยและไดเ้ ขา้ เฝา้ ฯ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวายเหรยี ญ รางวัลเรอื พระทีน่ ่ังสุพรรณหงส์ คอื เหรียญรางวลั มรดกทางทะเลขององค์การเรือโลก ประจ�ำปี ค.ศ. ๑๙๙๒ (THE WORLD SHIP TRUST MARITIME HERTIAGE AWARD “SUPHANNAHONG ROYAL BARGE) จาก น้ันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานเหรียญรางวัลดังกล่าวแก่อธิบดีกรมศิลปากรในเวลาน้ันคือ นายสุวิชญ์ รัศมิภูติ ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบดูแลรักษาเรือพระท่ีนั่งสุพรรณหงส์ ซ่ึงจัดแสดงอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ เรอื พระราชพิธี ในคลองบางกอกน้อย องคก์ ารเรือโลก (WORLD SHIP TRUST) แห่งสหราชอาณาจักรเปน็ องคก์ ารทไ่ี ด้รบั การจดทะเบยี น เปน็ องคก์ รการกศุ ลอย่างเปน็ ทางการเม่อื วนั ท่ี ๒๙ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๗๙ (พ.ศ. ๒๕๒๒) มีดยุก ออฟ เอดิน เบิรก์ (DUKE OF EDINBURGH) เปน็ องคอ์ ุปถมั ภ์ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื สง่ เสริมการศกึ ษาและความรขู้ อง สาธารณชนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การเดินเรือ การต่อเรือ ส่งเสริมการทะนุบ�ำรุงรักษาเรือสมัยโบราณท่ีมี 132
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ความส�ำคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ ทั้งตอ่ โลกและมนุษยชาติ เพื่อให้เปน็ มรดกท่ลี ำ�้ คา่ ที่สาธารณชนร่นุ หลงั จะได้ มโี อกาสได้ชน่ื ชมตอ่ ไป รวมท้ังด�ำเนนิ การส�ำรวจและรวบรวมขอ้ มูลเกยี่ วกบั เรือต่างๆ เพ่ือบนั ทึกไว้เปน็ หลัก ฐานและเป็นประโยชนใ์ นการทำ� นุบ�ำรุงเรือน้ันๆ องคก์ ารเรือโลกไดเ้ คยมอบรางวัลแก่ องค์กร บคุ คลและเรือต่างๆ แลว้ ๑๒ เหรยี ญ ท่สี ำ� คัญ มีเรือ วาซา (WASA) ของสวเี ดน เรอื แมรี่โรส (MARY ROSE) ขององั กฤษ เรือจิลแลนด์ (JYLLAND) ของเดนมารก์ เรอื ยู เอส เอส คอนสตติ ิวช่นั (U S S CONSTITUTION) ของสหรัฐอเมริกาและในปีเดียวกบั ท่ีมอบเหรียญ รางวลั ใหเ้ รอื พระทน่ี ง่ั สพุ รรณหงส์ แหง่ ราชอาณาจกั รไทยนน้ั กไ็ ดม้ อบรางวลั ใหก้ บั เรอื มกิ าซา (MIKASA) แหง่ ประเทศญ่ปี ุน่ ดว้ ย สำ� หรบั เรอื พระทน่ี ง่ั สพุ รรณหงส์ นอกจากไดร้ บั เหรยี ญรางวลั แลว้ ยงั ไดร้ บั สาสน์ แสดงความยนิ ดจี าก เจา้ ชายฟิลปิ ดยุกแหง่ เอดินเบิรก์ ดว้ ย นายอีเวน เซาธ์บี-เทลยัวร์ ประธานองค์การเรอื โลกได้เขา้ เฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทลู เกลา้ ทูลกระหม่อม ถวายเหรียญรางวัลเรือพระท่ีน่ังสุพรรณหงส์ คือ เหรียญรางวัลมรดกทางทะเลขององค์การเรือโลก ประจ�ำปี ค.ศ. ๑๙๙๒ เม่ือวันท่ี ๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๕ 133
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES หนงั สือจากองค์การเรือโลก แหง่ สหราชอาณาจักร มอบรางวัลมรดกทางทะเล แกเ่ รอื พระทน่ี ่ังสุพรรณหงสข์ องราชอาณาจกั รไทย 134
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรือพระท่ีนงั่ อนนั ตนาคราช - ลำ� ปจั จบุ นั สรา้ งขนึ้ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๖ สำ� เรจ็ เมอื่ วนั ที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ แทนลำ� เดิมทไ่ี ด้สร้างมาตัง้ แต่สมยั รชั กาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รชั กาลที่ ๔ - พ.ศ. ๒๕๑๐ ซ่อมแซมเพ่ือใช้ชัว่ คราวให้ทันใช้ในการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ถวายผ้าพระกฐิน โดยมี บริษัท สหายสันต์ จำ� กดั เปน็ ผรู้ บั เหมาการซอ่ มท�ำชั่วคราวให้แลว้ เสรจ็ ภายในวันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ - พ.ศ. ๒๕๑๒ ซอ่ มใหญ่ โดยซอ่ มทำ� ตวั เรอื ใหมท่ ง้ั หมด ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๒ จนถงึ วันที่ ๒๓ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ตอ่ จากนั้นได้ท�ำการซ่อมท�ำลวดลายเรอื และเคร่อื งตกแต่งประกอบเรอื ตัง้ แต่ วนั ที่ ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๓ จนถึงวันที่ ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๕ - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญ่ เปลีย่ นไมต้ วั เรือทีผ่ ุชำ� รดุ บางสว่ น ตกแตง่ ลวดลาย ลงรกั ปิดทอง ทาสตี วั เรอื ใหม่ และอืน่ ๆ เพื่อให้ทนั ใชใ้ นงานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เรมิ่ ซ่อมท�ำต้ังแตว่ นั ท่ี ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วันที่ ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมบี ริษทั สหายสนั ต์ จ�ำกัด เป็นผรู้ ับเหมาซ่อมทำ� เรอื พระที่น่งั อเนกชาตภิ ุชงค์ - สรา้ งขนึ้ ใหม่ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ - พ.ศ. ๒๕๑๐ ซอ่ มตัวเรอื เพือ่ ใชช้ วั่ คราวใหท้ ันในการเสด็จพระราชด�ำเนินถวายผา้ พระกฐิน โดยมี บริษทั สหายสนั ต์ จ�ำกัด เปน็ ผรู้ ับเหมาซ่อมทำ� เสรจ็ ภายในวันท่ี ๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๐ - พ.ศ. ๒๕๑๒ ซอ่ มใหญ่ โดยซอ่ มทำ� ตวั เรอื ใหมท่ งั้ หมด ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๒๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๒ จนถงึ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ต่อมาได้ท�ำการซ่อมท�ำลวดลายเรือ และเคร่ืองตกแต่งประกอบเรือต้ังแต่ วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ จนถึงวันที่ ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๕ บริษัท สหายสันต์ จ�ำกัด เปน็ ผ้รู บั เหมาซ่อม ท�ำอยใู่ นความควบคมุ ของ กรมอู่ทหารเรอื และกรมศิลปากร - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญ่ เปล่ียนไมต้ วั เรอื ทผ่ี ุช�ำรดุ บางส่วน ตกแตง่ ลวดลาย ลงรกั ปดิ ทอง ตวั เรอื ทาสใี หมแ่ ละอ่นื ๆ เพ่อื ใหท้ นั ใชใ้ นงานสมโภชกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เร่มิ ซ่อมท�ำตง้ั แต่วนั ที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยบรษิ ทั สหายสันต์ จำ� กัด เปน็ ผ้รู ับเหมาซ่อมท�ำ เรือเอกชัยเหนิ หาว - ลำ� เดมิ ไมพ่ บหลกั ฐานการสรา้ ง และเรอื ลำ� นไ้ี ดถ้ กู ระเบดิ ไดร้ บั ความเสยี หายในสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๔๘๗ ต่อมากรมศิลปากร ได้ตดั หวั เรอื และท้ายเรอื เกบ็ รกั ษาไวใ้ นพิพธิ ภณั ฑสถาน เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๙๑ - ลำ� ปัจจุบัน สรา้ งขน้ึ เม่อื พ.ศ. ๒๕๐๘ โดยกรมอู่ทหารเรอื วางกระดกู งูเรอื เมอื่ วนั ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ เสรจ็ เม่ือ ๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ลงน้�ำเม่ือวนั ที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๐ จากนัน้ จึงทำ� การ ตกแตง่ ตวั เรอื โดยชา่ งแกะสลกั ซง่ึ ทำ� งานประมาณ ๑๔ เดอื น ชา่ งรกั ปดิ ทองทำ� งานประมาณ ๖ เดอื น ชา่ งเขยี น ลายรดน�้ำทำ� งานประมาณ ๖ เดอื น ชา่ งปดิ ทองและประดับกระจกท�ำงานประมาณ ๔ เดอื น 135
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานเหรียญรางวัลมรดกทางทะเลขององค์การเรือโลก ประจ�ำปี ค.ศ. ๑๙๙๒ แกอ่ ธิบดีกรมศิลปากร ขณะน้ันคือ นายสุวิชญ์ รศั มิภตู ิ 136
เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่อมใหญ่เปล่ียนไม้ตัวเรือท่ีผุซึ่งช�ำรุดบางส่วน ลงรักปิดทอง ทาสีตัวเรือใหม่และ อนื่ ๆ เพอื่ ให้ทนั ใช้ในงานสมโภชกรุงรตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เร่มิ ซ่อมท�ำต้งั แต่ วนั ท่ี ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ที่ ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมบี รษิ ทั สหายสนั ต์ จำ� กดั เปน็ ผรู้ บั เหมา ซอ่ มทำ� เรอื เอกชัยหลาวทอง - ล�ำเดิมไม่พบหลักฐานการสร้าง และเรือล�ำน้ีได้ถูกลูกระเบิดได้รับความเสียหายในสงครามโลก คร้ังท่ี ๒ พ.ศ. ๒๔๘๗ ตอ่ มากรมศลิ ปากรไดต้ ดั หวั เรือ และทา้ ยเรอื เก็บรกั ษาไวใ้ นพิพิธภัณฑสถาน เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๑ - ลำ� ปจั จุบนั สรา้ งข้นึ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๘ โดยกรมอทู่ หารเรอื วางกระดูกงเู รอื เมอื่ วันท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ เรม่ิ สร้างเมือ่ วันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๘ ลงนำ้� เมือ่ วนั ที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๐ จากนน้ั จึงทำ� การตกแตง่ ตัวเรือ โดยช่างแกะท�ำงานประมาณ ๑๔ เดอื น ชา่ งรักปดิ ทองท�ำงานประมาณ ๖ เดอื น ชา่ ง ปิดทองและประดบั กระจกท�ำงานประมาณ ๔ เดอื น - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่อมใหญ่เปล่ียนไม้ตัวเรือที่ผุช�ำรุดบางส่วน ลงรักปิดทองทาสีตัวเรือใหม่ๆ และ อื่นๆ เพอ่ื ให้ทนั ใช้ในงานสมโภชกรงุ รัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เริม่ ซอ่ มท�ำต้ังแต่ วนั ท่ี ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ที่ ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมบี รษิ ทั สหายสนั ต์ จำ� กดั เปน็ ผรู้ บั เหมา ซอ่ มท�ำ เรืออสรุ วายุภักษ์ - ไม่พบหลักฐานการสร้าง - ซ่อมท�ำเคร่ืองตกแต่งเรือ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ จนถึงวันท่ี ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยบรษิ ทั ส�ำนกั งานเกษรดอกประดู่ เป็นผซู้ ่อมทำ� - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญ่ เปล่ยี นไม้ตัวเรือท่ผี ุช�ำรุดบางสว่ น ตกแต่งลวดลาย ลงรกั ปิดทอง ทาสตี วั เรอื ใหมแ่ ละอ่นื ๆ เพือ่ ใหท้ นั ใช้งานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เรม่ิ ซ่อม ทำ� ต้งั แต่วนั ท่ี ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถึงวนั ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมีบริษทั สหายสนั ต์ จ�ำกดั เป็น ผรู้ บั เหมาซอ่ มท�ำ เรอื อสรุ ปักษา (เช่นเดียวกบั เรอื อสุรวายภุ ักษ์) เรือเสอื ทะยานชล - ไม่พบหลักฐานการสร้าง - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่อมใหญ่ เปลี่ยนไมต้ วั เรอื ท่ผี ชุ �ำรุดบางส่วน ตกแต่งลวดลาย ทาสีตัวเรอื ใหมแ่ ละ อน่ื ๆ เพื่อให้ทนั ใชใ้ นงานสมโภชกรุงรตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เรมิ่ ซอ่ มท�ำตง้ั แต่ วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถึงวันท่ี ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมบี ริษัท สหายสนั ต์ จำ� กดั เปน็ ผูร้ บั เหมาซ่อมทำ� 137
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES เรือเสอื คำ� รณสินธุ์ (เช่นเดยี วกบั เรือเสอื ทะยานชล) เรอื พาลีรง้ั ทวปี - ไมพ่ บหลกั ฐานการสรา้ ง - ซ่อมทำ� เครอ่ื งตกแต่งเรือตั้งแตว่ ันท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ จนถงึ วันท่ี ๑๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยมีบริษทั สำ� นกั งานเกษรดอกประดู่ เปน็ ผู้จัดท�ำ - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญ่เปลยี่ นไมต้ วั เรอื ท่ชี ำ� รุด ลงรกั ปิดทองใหม่ ทาสีตวั เรอื ใหม่ และอ่ืนๆ ให้ทนั ใชใ้ นงานสมโภชกรงุ รตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เรม่ิ ซ่อมท�ำตัง้ แตว่ นั ท่ี ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถึงวนั ที่ ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมี บริษัท สหายสนั ต์ จำ� กดั เป็นผ้รู ับเหมาซ่อมท�ำ เรอื สคุ รพี ครองเมอื ง (เช่นเดยี วกบั เรือพาลีรั้งทวีป) เรือกระบีป่ ราบเมืองมาร - ไม่พบหลักฐานการสร้าง แต่ถูกระเบิดได้รับความเสียหายในสงครามโลกครั้งท่ี ๒ พ.ศ. ๒๔๘๗ กรมศลิ ปากรได้ตดั หัวเรอื และท้ายเรอื เกบ็ รกั ษาไวใ้ นพิพธิ ภัณฑสถานเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๑ - ลำ� ปจั จบุ นั ไดส้ รา้ งขนึ้ ใหมเ่ มอื่ พ.ศ. ๒๕๑๐ โดยใชห้ วั เรอื เดมิ นำ� มาซอ่ มแซม ชา่ งแกะสลกั ลวดลาย ท�ำงานประมาณ ๑๒ เดอื น ชา่ งรักท�ำงานประมาณ ๔ เดือน ชา่ งเขียนทำ� งานประมาณ ๖ เดอื น ชา่ งปิดทอง และประดบั กระจกทำ� งานประมาณ ๔ เดอื น - พ.ศ. ๒๕๑๒ จดั ทำ� เครือ่ งตกแต่งเรือใหมต่ ัง้ แต่วันท่ี ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๒ จนถึงวนั ที่ ๒๕ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๓ โดยบริษัท ส�ำนกั งานเกษรดอกประดู่ เปน็ ผทู้ ำ� - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญเ่ ปลย่ี นไมต้ วั เรอื ทผ่ี หุ รอื ชำ� รดุ บางสว่ น ลงรกั ปดิ ทอง ทาสตี วั เรอื ใหมแ่ ละอนื่ ๆ เพอ่ื ใหท้ นั ใชง้ านสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เรม่ิ ซอ่ มทำ� ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ที่ ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมี บรษิ ทั สหายสนั ต์ จำ� กดั เปน็ ผรู้ บั เหมาซอ่ มทำ� เรือกระบร่ี าญรอนราพณ์ - ไม่พบหลกั ฐานการสร้าง - พ.ศ. ๒๕๐๙ ซอ่ มทำ� ตวั เรอื ทงั้ ลำ� และไดท้ ำ� หางเรอื ขนึ้ ใหม่ ชา่ งแกะสลกั ลวดลายทำ� งานประมาณ ๑๒ เดอื น ชา่ งรกั ทำ� งานประมาณ ๔ เดอื น ชา่ งเขยี นทำ� งานประมาณ ๖ เดอื น ชา่ งปดิ ทอง และประดบั กระจก ท�ำงานประมาณ ๔ เดือน - พ.ศ. ๒๕๑๔ จดั ท�ำเครื่องตกแต่งเรือใหม่ ตง้ั แตว่ นั ที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ จนถึงวนั ท่ี ๑๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยบรษิ ทั ส�ำนักงานเกษรดอกประดู่ เปน็ ผจู้ ัดทำ� 138
เรือพระราชพธิ ี : ROYAL BARGES - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่อมใหญเ่ ปลย่ี นไม้ตัวเรือทีผ่ ุชำ� รุดบางสว่ น ตกแต่งลวดลาย ลงรกั ปดิ ทองใหม่ และ อน่ื ๆ เพอ่ื ให้ทันใช้ในงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ในวันท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เริม่ ซอ่ มท�ำต้ังแต่ ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ท่ี ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมี บริษัท สหายสนั ต์ จ�ำกัด เปน็ ผรู้ บั เหมา เรือครฑุ เหนิ เหจ็ - ไมพ่ บหลกั ฐานการสรา้ ง และเรอื ลำ� นถ้ี กู ลกู ระเบดิ ไดร้ บั ความเสยี หายในชว่ งสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๘๗ กรมศลิ ปากรไดต้ ัดหวั เรอื และทา้ ยเรอื เกบ็ รักษาไว้ในพิพิธภณั ฑสถาน เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๑ - ลำ� ปัจจุบนั สรา้ งใหม่เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๑ โดยใช้หัวเรอื เดิมนำ� มาซ่อมแซม ทา้ ยเรอื ท�ำใหมเ่ ร่มิ สร้าง เมือ่ วนั ท่ี ๒๓ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๑ แล้วเสรจ็ เมื่อวันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๑ แล้วช่างแกะสลกั ลวดลาย ทำ� งานประมาณ ๑๘ เดือน ช่างรักท�ำงาน ๖ เดือน ชา่ งเขียนลายรดน�ำ้ ท�ำงานประมาณ ๖ เดือน ชา่ งปดิ ทอง และประดับกระจกทำ� งานประมาณ ๔ เดือน - ท�ำเคร่ืองตกแต่งเรือใหม่ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ จนถึงวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยมบี ริษทั ส�ำนกั งานเกษรดอกประดู่ เป็นผจู้ ัดทำ� - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่อมใหญ่เปลี่ยนไม้ตัวเรือที่ผุช�ำรุดบางส่วน ลงรักปิดทองทาสีใหม่ๆ และอ่ืนๆ เพือ่ ให้ทันใชใ้ นงานสมโภชกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ซง่ึ ซอ่ มท�ำตั้งแตว่ ันท่ี ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมี บริษทั สหายสันต์ จ�ำกดั เป็นผู้รบั เหมา ซ่อมทำ� เรอื เรือครุฑเตรจ็ ไตรจกั ร (เช่นเดยี วกบั เรอื ครุฑเหินเหจ็ ) เรอื ทองขวานฟ้า - ล�ำเดมิ เดมิ ไมพ่ บหลักฐานการสรา้ ง ในสมยั สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๘๗ ไดถ้ ูกลกู ระเบิด ตัวเรือไดร้ ับความเสยี หาย กรมศิลปากรไดต้ ัดหวั เรอื และท้ายเรอื เก็บรักษาไว้ในพิพธิ ภณั ฑสถาน - พ.ศ. ๒๕๐๗ ได้สร้างตวั เรือขน้ึ ใหม่ โดยใชห้ วั เรือเดมิ และไดแ้ กะสลกั ลวดลาย คาดหัว – ท้ายเรอื ปดิ ทองประดับกระจก ใช้เวลาท�ำประมาณ ๑๒๐ วัน และท�ำเครอื่ งตกแตง่ เรือใหม่ - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหม่ เปลย่ี นไมต้ วั เรอื ทผ่ี ชุ ำ� รดุ บางสว่ น ตกแตง่ ลวดลาย ลงรกั ปดิ ทองเพอื่ ใหท้ นั ใชใ้ นงานสมโภชกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เร่มิ ซ่อมทำ� ต้งั แตว่ ันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมี บรษิ ัท สหายสนั ต์ จำ� กัด เป็นผู้รับเหมาซอ่ มทำ� เรอื ทองบ้าบน่ิ - ลำ� เดมิ เดิมไม่พบหลักฐานการสร้าง ในสมัยสงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๔๘๗ ได้ถูกลกู ระเบดิ ตัวเรือได้รับความเสยี หาย กรมศิลปากรไดต้ ัดหวั เรือและท้ายเรอื เก็บรักษาไว้ในพพิ ิธภณั ฑสถาน - พ.ศ. ๒๕๐๗ ได้สรา้ งตวั เรอื ขึน้ ใหม่ โดยใช้หัวเรือเดมิ และได้แกะสลกั ลวดลาย คาดหวั – ท้ายเรือ ปิดทองประดบั กระจก ใชเ้ วลาท�ำประมาณ ๑๒๐ วนั และท�ำเคร่อื งตกแตง่ เรอื ใหม่ 139
เรือพระราชพิธี : ROYAL BARGES - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญ่ เปลย่ี นไมต้ วั เรอื ทผ่ี ชุ ำ� รดุ บางสว่ น ตกแตง่ ลวดลาย ลงรกั ปดิ ทองเพอ่ื ใหท้ นั ใชใ้ นงานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เรม่ิ ซอ่ มทำ� ตง้ั แต่ วนั ท่ี ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมบี ริษัท สหายสันต์ จำ� กดั เปน็ ผ้รู บั เหมาซอ่ มทำ� เรืออีเหลอื ง - ไมพ่ บหลักฐานการสร้าง - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซอ่ มใหญ่ เปลีย่ นไมต้ วั เรือทีผ่ ุชำ� รดุ บางสว่ น ทาสีตัวเรอื ใหม่และอนื่ ๆ เพื่อใหท้ นั ใช้ ในงานสมโภชกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เริ่มซ่อมทำ� ตัง้ แต่วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ วนั ที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมีบรษิ ัท สหายสันต์ จำ� กดั เปน็ ผรู้ บั เหมาซ่อมท�ำ เรือดั้งและเรอื แซง - ไม่พบหลักฐานการสรา้ ง สว่ นมากมักจะซ่อมท�ำโดยการเปล่ยี นไมท้ ่เี ก่าออก แล้วใส่ไมใ้ หม่ - พ.ศ. ๒๕๐๖ กรมอทู่ หารเรอื ไดต้ อ่ เรอื ดง้ั ๖ ขนึ้ ใหม่ โดยวางกงเหลก็ เพอื่ ใหเ้ รอื แขง็ แรงและทนทาน ทำ� ใหต้ ัวเรอื หนักมาก - พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่อมใหญ่ เปล่ียนไมต้ วั เรอื ทผี่ ชุ �ำรดุ บางสว่ น ทาสีตัวเรือใหมแ่ ละอ่นื ๆ เพ่อื ให้ทันใช้ ในงานสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ในวนั ที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ เร่ิมซ่อมท�ำตง้ั แต่วนั ที่ ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถึงวันท่ี ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมบี ริษทั สหายสันต์ จ�ำกดั เปน็ ผู้รับเหมาซ่อมท�ำ - ส�ำหรบั เรอื ดง้ั ๑๙ ได้รับการซอ่ มท�ำเปล่ียนตวั เรอื ไม้ กระดกู งู และกงใหมเ่ กือบทง้ั หมด เรือพระราชพธิ ลี ำ� ใหม่ “เรอื พระท่นี ่งั นารายณท์ รงสุบรรณ รชั กาลท่ี ๙” กองทพั เรอื รว่ มกบั กรมศลิ ปากรและสำ� นกั พระราชวงั เรมิ่ สรา้ งเรอื พระทน่ี ง่ั ลำ� นต้ี ง้ั แตว่ นั ท่ี ๑ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๗ และวนั จันทรท์ ่ี ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๗ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช และ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ ได้เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปทรงวางกระดกู งูเรือพระที่น่ังลำ� ใหม่ ณ กรมอูท่ หารเรอื กรงุ เทพมหานคร เมอื่ เวลา ๑๗.๑๕ นาฬิกา การสร้างเรอื พระราชพิธลี ำ� ใหมน่ ้ี กองทัพเรอื ได้เตรียมโครงการไว้เพื่อการเฉลิมฉลองในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ ๕๐ ปี ซง่ึ รัฐบาลไดก้ ำ� หนดใหม้ งี านพระราชพธิ ีกาญจนาภเิ ษก และกองทพั เรือจะได้น้อมเกลา้ ฯ ถวาย เรอื พระราชพธิ ลี ำ� ใหม่ ไดท้ รงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทานนามวา่ “เรอื พระทนี่ ง่ั นารายณท์ รงสบุ รรณ รชั กาลท่ี ๙” ตามหนังสือส�ำนักราชเลขาธิการลงวันท่ี ๖ สงิ หาคม ๒๕๓๗ นบั เปน็ เรอื พระท่นี ง่ั ลำ� แรกที่สร้าง ในรัชกาลปัจจบุ นั ในการเสด็จพระราชดำ� เนนิ ไปทรงวางกระดูงเู รือพระที่น่ังนารายณ์ทรงสุบรรณ รชั กาลท่ี ๙ การพระ ราชพิธีประกอบข้ึนระหวา่ งเวลา ๑๗.๑๕ - ๑๗.๔๙ นาฬิกา เมือ่ เสด็จพระราชดำ� เนินถึงบริเวณพิธี พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียน เครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย และทรงศีล ผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรอื เอก ประเจตน์ ศริ เิ ดช กราบบงั คมทลู รายงานการสรา้ งเรอื พระทน่ี ง่ั ฯ แลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั 140
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES ทรงพระสุหร่าย ทรงเจิมหัวเรือ ทรงผูกผ้าสีชมพู และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงคล้อง พวงมาลัย พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงตอกหมุดตอนกระดกู งเู รือ แล้วทรงประเคนจตปุ ัจจัยไทยธรรม ถวายพระสงฆ์ และทรงหล่งั ทกั ษโิ ณทก ในระหวา่ งท่พี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงประกอบพิธี พระสงฆ์ เจริญชัยมงคลคาถา โหรพราหมณ์ท�ำพิธีบูชาฤกษ์ เจ้าพนักงานล่ันฆ้องชัย เป่าสังข์และแกว่งบัณเฑาะว์ พณิ พาทย์ท�ำเพลงมหาฤกษ์ซ่ึงเป็นเพลงหนา้ พาทย์สำ� หรบั การประกอบพธิ ีมงคล สำ� หรับการสร้างเรือพระทีน่ ง่ั นารายณท์ รงสบุ รรณ รัชกาลท่ี ๙ นี้ กองทพั เรือร่วมกบั กรมศิลปากรได้ น�ำเอาโขนหรอื พระทนี่ ัง่ นารายณ์ทรงสุบรรณ ทส่ี รา้ งในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระรามาธบิ ดี ศรีสินทรมหา เจษฎาบดนิ ทร์ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๓ และพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ มาเปน็ แมแ่ บบ โดยกองทพั เรอื ดำ� เนนิ การสรา้ งในสว่ นทเ่ี ปน็ โครงสรา้ งของตวั เรอื พายและ คดั ฉาก สว่ นกรมศิลปากรด�ำเนินการในงานท่ีเกีย่ วกบั ศลิ ปกรรมของเรือทั้งหมด ลกั ษณะของเรอื จากการพจิ ารณาโขนเรอื พระทน่ี งั่ นารายณท์ รงสุบรรณเดิม ซ่งึ เป็นโขนเรอื แกะสลกั จากไม้ ลงรกั ปดิ ทองประดับกระจกตลอดทง้ั ล�ำ ลวดลายเขียนลายดอกพดุ ตานพ้นื สว่ นท้ายเรอื มีลกั ษณะคลา้ ยเรอื พระท่นี ่งั อนนั ตนาคราช แตส่ ว่ นเหนอื มาลยั ทา้ ยเปน็ สรอ้ ยหางครฑุ ปลายทางสดุ ของทา้ ยเรอื เปน็ กนกหางครฑุ ทอ้ งลาย ของทอ่ นหางเป็นขนครฑุ สพี นื้ เรอื หรอื สที ้องเรอื เปน็ สีแดงชาด ใช้กัญญาเรอื เชน่ เดยี วกบั เรอื พระทนี่ ั่งสพุ รรณ หงส์ คอื ตวั บลั ลงั กก์ ญั ญาเรอื เปน็ ลวดลายแกะสลกั ลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจก แผงพนกั พงิ แกะสลกั ลวดลาย เปน็ รูปครฑุ ยุคนาค ลงรักปิดทองประดบั กระจก ภายในเหมอื นเรอื พระทีน่ งั่ สพุ รรณหงส์ ลกู แกว้ รบั ขอ่ื เปน็ ไม้ แกะสลักลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจก เสาสองตน้ ทาสีด�ำ สว่ นพายกับฉากลงรกั ปดิ ทอง การวางฉตั รใหเ้ ว้น ๒ กระทงตอ่ ๑ ฉัตร ผ้าดาดหลังคากัญญาเรอื เป็นทองแผ่ลวดลายโคมแย่ง ลงรกั ปิดทองประดับกระจก พน้ื แดง ลายจัว่ และลายผ้ามา่ นโดยรอบประดบั ดว้ ยทองแผ่ลวด มฝี พี าย ๕๐ นาย ส้ินคา่ ใช้จ่ายประมาณ ๑๑.๗ ล้าน บาท ขนาดของเรือ ความยาวท้งั หมด ๔๔.๓๐ เมตร ความยาวแนวน้�ำหนกั บรรทกุ เตม็ ท ่ี ๓๔.๖๐ เมตร ความกวา้ งของเรือ ๓.๒๐ เมตร ความลึกของเรอื ๑.๑๐ เมตร กินน้ำ� ลกึ ๐.๔๐ เมตร ระวางขบั น�้ำบรรทกุ เต็มที ่ ๒๐ เมตร ระยะเวลาดำ� เนนิ การในการสรา้ งเรอื พระทน่ี งั่ นารายณท์ รงสบุ รรณ รชั กาลท่ี ๙ กำ� หนดสรา้ งแลว้ เสรจ็ วันท่ี ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๙ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฏราชกุมารในฐานะผู้แทนพระองค์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดเ้ สดจ็ เปน็ องคป์ ระธานในพธิ ี ปลอ่ ยเรอื พระทนี่ งั่ นารายณท์ รงสบุ รรณ รชั กาล ท่ี ๙ ทกี่ รมอ่ทู หารเรือ ในวนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๙ 141
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 142
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 143
เรอื พระราชพธิ ี : ROYAL BARGES 144
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176