สรุปผลการดาเนินงาน ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ในการขับเคล่ือนศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ระดับดีเด่น ตามโครงการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผู้นาเปล่ียนแปลง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนบา้ นไอรต์ ุย หมู่ที่ 1 ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั นราธวิ าส
คานา “จติ อาสา” คือ จติ แห่งการให้ความดีงามท้ังปวงแก่เพื่อนมนุษย์ โดยเต็ม ใจ สมัครใจ อิ่มใจ ซาบซงึ้ ใจ ปีติสุข ทพี่ รอ้ มจะเสียสละเวลา แรงกาย และสติปัญญา เพ่ือสาธารณประโยชน์ ในการทากิจกรรม หรอื ส่ิงท่ีเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่ืนโดยไม่หวัง ผลตอบแทน และมีความสุขท่ีได้ชว่ ยเหลอื ผู้อื่น เป็นจติ ทีไ่ ม่น่ิงดูดาย เม่ือพบเห็น ปัญหาหรอื ความทกุ ข์ยากที่เกิดขนึ้ กับผู้คน เปน็ จติ ท่ีมีความสุขเมื่อได้ทาความดี และ เห็นน้าตาเปลี่ยนเป็นรอยย้ิม เป็นจติ ที่เป่ ยี มด้วย \"บุญ\" คือความสงบเยน็ และพลังแห่ง ความดี ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน เป็นการน้อมนาพระราชดาร ิ เร่อื ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ ประยุกต์ “โคก หนอง นา” เป็น จุดเรม่ ิ ต้น เพื่อให้ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน เป็นแกนหลักในการนาส่งเอาสิ่งท่ีดีไปสู่พี่ น้องประชาชน ทาให้เกิด “ศูนย์จิตอาสาพัฒนาชุมชน” เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้นาจิต อาสาพัฒนาชุมชน ผู้นาชุมชน ประชาชนในหมู่บ้าน และผู้เก่ียวข้องสามารถนาไป พัฒนาและต่อยอดในการขับเคลื่อนงานจติ อาสาพัฒนาชุมชน ด้วยปณิธานที่ว่า“ผู้นา จติ อาสาพัฒนาชุมชนจะทางานให้เป็นระบบ จะตั้งมั่นในคุณธรรมจะเคารพข้อตกลง รว่ มกันภายในกลุ่ม” ภายใต้การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ให้คาปรกึ ษาและแก้ปัญหา แบ่งปันความรูแ้ ละทรพั ยากร ค้นหาภาคีเครอื ข่ายที่มีอุดมการณ์ ขยายผลเครอื ข่าย ตาบลและพื้นที่ใกล้เคียง สรา้ งความย่ังยืน ด้านอาชีพ รองรบั ภัยพิบัติ สามารถ พึ่งพาตนเองได้อย่างย่ังยนื สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส
สารบัญ หน้า 1 เรอ่ ื ง 1 ส่วนที่ 1 4 10 บทนา 19 ความเป็นมา 32 ข้อมูลทว่ั ไป 35 ส่วนท่ี 2 36 1) ผลสาเรจ็ เป็นรูปธรรมของทมี ขับเคลื่อนศูนย์ผู้นา จติ อาสาพัฒนาชุมชน 42 2) กระบวนการสรา้ งและพัฒนาทีมผู้นาการเปล่ยี นแปลง ในการขับเคลอ่ื นศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน 3) วธิ กี าร/แนวทางการขับเคลือ่ นศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนา ชุมชนให้เกิดความยั่งยืน 4) การพฒั นาขยายผลและความคิดสรา้ งสรรค์ ในกระบวน การขบั เคลอ่ื นการสรา้ งความม่ันคงทางอาหารให้ต่อเน่ือง อย่างยัง่ ยนื ส่วนท่ี 3 แบบเสนอโครงการขอรบั การสนับสนนุ การดาเนินงานฯ (งบประมาณ 10,000 บาท) ส่วนที่ 4 ภาคผนวก
1 ส่วนที่ 1 บทนา กรมการพัฒนาชุมชนได้ค้นหาและดาเนินการพัฒนาผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ด้วยการน้อมนาพระราชดาร ิ เรอ่ ื ง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ ประยุกต์ โคก หนอง นา เป็นจุดเรม่ ิ ต้น เพื่อให้ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนที่กระจาย อยู่ ทั้ง 76 จังหวัด เป็นเหมือนหัวขบวนในการที่จะ นาส่งเอาส่ิงท่ีดีงามไปสู่พ่ีน้อง ประชาชน และเป็นหัวขบวนท่ีทาให้เกิดศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนเพิ่มมากขึ้น จน ในอนาคตอันใกล้ อาจจะมีครบทุกตาบล เป็นความหวังท่ีจาเป็นต้องอาศัยความรกั ความสามัคคี ตลอดจนความเสียสละของพ่ีน้องทกุ คนในการชว่ ยกันทาให้ 76 จงั หวดั ดาเนินงานชว่ ยเหลือพ่ีน้องคนไทยด้วยกัน ความเป็นมา ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนบ้านไอรต์ ุย เดิมเป็นศูนย์เรยี นรูแ้ ละขับเคลื่อน ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยต่อมากรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้จงั หวัด คัดเลือกศูนย์จติ อาสาพัฒนาชุมชนตามโครงการส่งเสรมิ การขับเคล่ือนการดาเนินงาน ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติและถวายเป็น พระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี ินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เน่ืองในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 71 พรรษา ในวันท่ี 28 กรกฎาคม 2565 โดยจัดต้ังศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนเพื่อเป็นสถานท่ีบ่ม เพาะภาวะผู้นาทักษะชีวติ ทักษะอาชีพการพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชนและการ บรหิ ารจดั การชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนและเป็นศูนย์ประสานงานภาคีเครอื ข่าย จิตอาสาพัฒนาชุมชนระหว่างภาครฐั ภาคประชาชน และภาคการพัฒนาในพื้นท้ัง 7 ภาคส่วน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลางด้วยการส่งเสรมิ ผู้นาชุมชน กลุ่ม องค์กร เครอื ข่ายพัฒนาชุมชนท่ีเป็นทุนทางสังคมใชพ้ ลังภูมิปัญญาให้เป็นพลังการสรา้ งสรรค์ งานพัฒนาชุมชน ส่งเสรมิ สนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวติ ทักษะอาชีพ รวมถึงการ พัฒนาภาวะผู้นา สรา้ งเสรมิ อุดมการณ์ทางานเพ่ือสาธารณะในรูปแบบผู้นาจติ อาสา พัฒนาชุมชน มีจติ สานึกรบั ผิดชอบต่อชุมชน มีบทบาทและมีส่วนรว่ มในการพัฒนา และเสรมิ สรา้ งชุมชนให้เขม้ แขง็ อย่างยั่งยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2 กิจกรรม Kick off เปิดศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน
3
4 ขอ้ มูลทว่ั ไป 1.แผนทห่ี มู่บา้ น 2. ประวัติความเป็นมาของบ้านไอรต์ ุย บา้ นไอรต์ ุย หมู่ที่ 1 ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร จงั หวัด นราธวิ าส มาจากเมื่อสมัยก่อนในพ้ืนที่แห่งน้ีเป็นพ้ืนที่ท่ีมีเสือแห้วที่ดุรา้ ย ไม่มีใคร กล้าเข้ามาในพื้นท่ีแห่งน้ีได้เลย ซง่ึ มันจะเก่ียวพันธก์ ับความดุรา้ ยของเสือและสายน้า ทไ่ี หลผ่านหมู่บา้ น เดิมท่ีบ้านไอรต์ ุยเป็นป่ากว้าง มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่นานาชนิด คนเฒ่าคน แก่ได้เล่าให้ลูกหลานฟังต่อๆ กันมาว่าในสมัย พ.ศ. 2498 ( โดยประมาณ ) ได้มี ชาวบ้านใช้เส้นทางแม่น้าสายบุร ี เดินเรอื เข้ามาโดยลงเรอื ที่บ้านท่าเรอื อาเภอ รอื เสาะปัจจุบัน มาข้ึนเรอื ท่ีบ้านคลองหงส์ ตาบลตะมะยูง บางทีก็ที่ตาบล ศรสี าคร แล้วแต่ความสะดวกของแต่ละคน บางคนก็เดินทางเท้าบ้างโดยผ่านบ้านไอรเ์ จี๊ยะ บางคนก็เดินเลียบแม่น้าบุรขี ึ้นมาบ้าง โดยมาจบั จองท่ีดิน บุกเบิกพ้ืนที่โดยการแพ้ว ถางป่า แล้วแบ่งอาณาเขตของตนเองกับเพื่อน ที่มาจบั จองด้วยกัน ชกั จูงชาวบ้าน คนอื่นๆ เข้ามา จงึ ได้ตั้งชอ่ื เป็นหมู่บ้านไอรต์ ุย เม่ือปี พ.ศ. 2528 เคยเปลี่ยนชอ่ื เปน็ หมู่บา้ นสายวาร ี แต่ก็เรยี กได้ไม่ติดปาก คนก็ยงั คงเรยี กว่า ไอรต์ ุย
๕ 3. ลักษณะภูมิประเทศ ตาบลศรบี รรพต เป็นตาบลท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นพื้นท่ีราบสูง มี ภูเขาล้อมรอบ บ้านเรอื นตั้งกระจดั กระจายตามเชงิ เขาบ้าง ที่ราบบ้าง พื้นท่ีเหมาะ แก่การเพาะปลกู ทาสวน เชน่ สวนยางพารา , สวนผลไม้ ( ทเุ รยี น ลองกอง เงาะ ฯลฯ ) เลีย้ งปลา ๔. บา้ นไอรต์ ุยมีหมู่บา้ นยอ่ ยอีก 4 หมู่บ้าน 1.บ้านสวนปาล์ม 2.บ้านโคกสูง 3.บา้ นไอรซ์ อื ดอ 4.บา้ นตะเคียนต้นเดียว ๕. อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ จดบา้ นไอรเ์ จยี๊ ะ ตาบลซากอ อาเภอศรสี าคร ทศิ ใต้ จดบา้ นไอรแ์ ยง2 ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร ทศิ ตะวนั ออก จดบ้านละโอ ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร ทศิ ตะวันตก จดบ้านกิแย ตาบลซากอ อาเภอศรสี าคร ๖. ลักษณะภูมิอากาศ สภาพอากาศเป็นแบบรอ้ นช้นื มี 2 ฤดู คือ ฤดูรอ้ น ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ ถึง พฤษภาคม และฤดูฝนระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงมกราคม ปรมิ าณ นา้ ฝนเฉลย่ี ประมาณ 213 อุณหภมู ิ โดยท่ัวไปอยู่ระหว่าง 18 – 32 องศาเซลเซยี ส ๗. ขอ้ มูลพื้นฐานของหมู่บ้านตาม จปฐ. และ กชช.2ค. ด้านการปกครอง จานวนประชากร รวมท้ังส้ิน 654 คน แยกเป็น ชาย ๓๓๐ คน หญิง ๓๒๔ คน ๕.1 ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี บรบิ ูรณ์ข้ึนไป ) รวมทั้งสิ้น ๘๗ คน แยกเป็น ชาย ๔๗ คน หญงิ ๔๐ คน ๕.2 คนพิการรวมทั้งส้ิน ๕๒ คน แยกเป็น ชาย ๒๕ คน หญิง ๒๗ คน ๘. จานวนครวั เรอื น ๑๙๗ ครวั เรอื น
๖ ๙. การนับถือศาสนา ศาสนาอิสลาม จานวน 51.68 % ศาสนาพุทธ จานวน ๔๘.๓๒ % ประชากรสามารถอยู่รว่ มกัน ทากิจกรรมรว่ มกันได้อย่างสมานฉันท์ มีการ ชว่ ยเหลอื ดูแลซง่ึ กันและกัน โดยไม่มีเหตุการณ์ความรนุ แรงเกิดขึน้ ในชุมชน ๑๐. การประกอบอาชพี /ผลผลิต/รายได้ - อาชพี หลัก ทาสวนยางพารา ,สวนไม้ผล - อาชพี รอง รบั จา้ งทั่วไป ,เล้ียงสัตว์, ค้าขาย - ผลผลิตหลกั ยางก้อนถ้วย ผลไม้ตามฤดูกาล ๑๑. แหล่งนา้ 9.1 แหล่งน้าตามธรรมชาติ - ลาห้วย, ลาคลอง 9.2 แหลง่ นา้ ทส่ี รา้ งขน้ึ ในหมู่บา้ น - ฝาย, ประปา ๑๒. หน่วยงานราชการ/สถานทีส่ าคัญ ๑๒.๑ มัสยิดฮีดายาตุ้ลอิสลามียะห์ ๑๒.๒ ศูนย์เรยี นรแู้ ละขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้าน ไอรต์ ุย ๑๒.๓ ท่พี ักสงฆ์บา้ นไอรต์ ุย ๑๓. กลุ่มส่งเสรมิ อาชพี มีจานวน ๔ กลุ่ม ดังนี้ 1๓.1 กองทนุ หมู่บา้ น 1๓.2 กลุ่มน้าดื่มประชารฐั ๑๓.3 กลุ่มรบั ซอ้ื นา้ ยาง ๑๓.๔ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน จงั หวัดนราธวิ าส 1. ชอ่ื ศูนย์ ศูนยเ์ รยี นรูแ้ ละขบั เคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงบา้ นไอรต์ ุย หมู่ที่ 1 ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส 2. ที่ต้ัง บ้านเลขท่ี 50/4 หมู่ที่ 1 บ้านไอรต์ ุย ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส พิกัด ละติจูด 6.184558 ลองติจูด 101.54038
๗ ๓. ความโดดเด่น (หมายถึง จุดเด่นท่ีอัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ หรอื ความเชย่ี วชาญเฉพาะ หรอื ธมี (Theme)) เป็นศูนย์ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เป็นครัวเรอื นต้นแบบ โคกหนองนาโมเดล มีกิจกรรมภายในศูนย์ฯที่ หลากหลาย มีทีมวทิ ยากรที่พรอ้ มถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการฝึกทักษะอาชพี ให้แก่ผู้ท่ี สนใจ มีฐานการเรยี นรู้ จานวน 13 ฐานการเรยี นรู้ มีอาคารสถานที่พรอ้ มรบั การ ฝึกอบรมในบรรยากาศท่ีรม่ รน่ ื ท่ามกลางสวนผลไม้ เช่น ทุเรยี น มังคุด ลองกอง เงาะ สะตอ และสวนปา่ ธรรมชาติ 4. ประธานศูนย์ฯ ชอื่ – สกลุ นายพรเทพ พัสมุณี ตาแหน่ง ประธาน โทรศัพทต์ ิดต่อ 084-8609699 ๕. การบรกิ ารของศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ด้านฐานเรยี นรู้ ที่ ชอ่ื ฐานเรยี นรู้ วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ ขอบเขตการเรยี นรู้ 1 ฐานเรยี นรู้ การเลย้ี งแพะเน้ือ/การเลี้ยง สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร พื้นฐานการ โคเน้ือ พึ่งตนเอง 2 ฐานการเรยี นรู้ สวนสมุนไพรไทย สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร พื้นฐานการ พึ่งตนเอง 3 ฐานการเรยี นรู้ การเพาะบอนสี ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน สรา้ งมูลค่าเพิม่ 4 ฐานการเรยี นรู้ การเพาะเลี้ยงแหนแดง ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน พื้นฐานการ พึง่ ตนเอง 5 ฐานการเรยี นรู้ การสรา้ งความมั่นคงทาง สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร พ้ืนฐานการ อาหารการปลูกพืชผักปลอดภัย พึ่งตนเอง 6 ฐานการเรยี นรู้ การเลย้ี งปลานิล/ปลา ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน สรา้ งมูลค่าเพิม่ ทบั ทิม 7 ฐานการเรยี นรู้ การปลูกขา้ วในปล้องบอ่ ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน พ้ืนฐานการ พึ่งตนเอง 8 ฐานการเรยี นรู้ การทาฝายชะลอน้า ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน พื้นฐานการ พึ่งตนเอง 9 ฐานการเรยี นรู้ การเลย้ี งหอยขม ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน สรา้ งมูลค่าเพิ่ม 10 ฐานการเรยี นรู้ การเลี้ยงไก่ไข่ ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน สรา้ งมูลค่าเพิ่ม 11 ฐานการเรยี นรู้ การปลกู หญา้ เลยี้ งสัตว์ ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน พ้ืนฐานการ พึง่ ตนเอง 12 ฐานการเรยี นรู้ การปลูกทเุ รยี นพนั ธดุ์ ี ต่อยอด ถ่ายทอด ความรชู้ ุมชน สรา้ งมูลค่าเพิม่ 13 ฐานการเรยี นรู้ การทาปุย๋ หมักชวี ภาพ เพ่ือบารงุ ดินและดูแลดิน ดินและจุลินทรยี ์
๘ ๖. โครงสรา้ งการบรหิ ารศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ทปี่ รกึ ษา ที่ ชอ่ื – สกุล ตาแหน่ง สังกัด 1 นายไพโรจน์ จรติ งาม รองผู้ว่าราชการจงั หวัดนราธวิ าส จงั หวัดนราธวิ าส 2 นายกรชิ น้อยผา นายอาเภอศรสี าคร ที่ทาการปกครอง อาเภอศรสี าคร 3 นายหฤษฎ์ มาหะมะ ปลดั อาเภอหัวหน้ากลุ่มงาน ท่ที าการปกครอง บรหิ ารงานปกครอง อาเภอศรสี าคร 4 นางสาวสุนีย์ มาหะ ผอ.กลมุ่ งานสารสนเทศการ สพจ.นราธวิ าส พัฒนาชุมชน รกั ษาราชการแทนพัฒนาการ จงั หวัดนราธวิ าส ๕ นางสาวณัฐชยา ศรดี า ผอ.กล่มุ งานส่งเสรมิ การพัฒนา สพจ.นราธวิ าส ชุมชน 6 นางพจนารถ เหลา่ ที ผอ.กลมุ่ งานยุทธศาสตรก์ าร สพจ.ชุมชจงั หวดั พัฒนาชุมชน นราธวิ าส 7 นางสาวนาฏยา ศรสี ายนั ต์ พัฒนาการอาเภอศรสี าคร สพอ.ศรสี าคร ๘ นางสุจติ รา สนิทวงศ์ ณ เกษตรอาเภอศรสี าคร สนง.เกษตรอาเภอศร ี อยุธยา สาคร 9 นายสมเกียรติ ชูมณี ปศุสัตว์อาเภอศรสี าคร ส น ง . ป ศุ สั ต ว์ อ า เ ภ อ ศรสี าคร 10 ร.ท.สุภาพ ปรกชว่ ย ผบ.รอ้ ย ทพ.4916 กรมทหารพรานท่ี 49 11 นางศิรริ ตั น์ ยานะ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญ สพจ.นราธวิ าส การ 1๒ นางซากีย๊ะ เหงบารู นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญ สพอ.ศรสี าคร การ 13 นางปารว ี แซเ่ งา้ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญ สพอ.ศรสี าคร การ 1๔ นางสาวนัซร ี ปะเต๊ะ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญ สพอ.ศรสี าคร การ
1๕ นางสาวปล้ืมจติ เหมือนใจ เ จ้ า พ นั ก ง า น พั ฒ น า ชุ ม ช น สพอ.ศรสี าคร 1๖ นางสาวรอหานา เย็นนิยม 1๗ นางสาวคอลีเยาะ แวโดยี ปฏิบตั ิงาน เ จ้ า พ นั ก ง า น พั ฒ น า ชุ ม ช น สพอ.ศรสี าคร ปฏิบัติงาน อาสาพัฒนา สพอ.ศรสี าคร คณะกรรมการบรหิ ารศูนยเ์ รยี นรแู้ ละขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไอรต์ ุย อาเภอศรสี าคร ที่ ชอื่ - สกุล ตาแหน่ง หมายเหตุ 1 นายพรเทพ พัสมุณี ประธาน 2 นางพิกนุ ปราบทมูล รองประธาน 3 นางสาวพรรณี แก้วมณี เลขานุการ 4 นายสมควร แก้วเมฆ เหรญั ญิก 5 นส.ฟาตีมะฮ์ ซายามะ กรรมการ 6 นส.ภิลัยภรณ์ ขวญั มณี กรรมการ 7 นางยุพา บุตรมาตา กรรมการ 8 นางอาไพ มณีใส กรรมการ 9 นายมาหามะอาดินัน ยาลา กรรมการ 10 นส.อามนี า หะยีสะกันดา กรรมการ 11 นส.วรรณี วณิ ะ กรรมการ 12 นส.สุทารตั น์ มิตรสันเทยี ะ กรรมการ 13 นายภิญโญ เขาแก้ว กรรมการ 14 นายโกวทิ ปราบทมูล กรรมการ 15 นายมะหะยา ปะจู กรรมการ 16 นายชูศักด์ิ สุขน้อย กรรมการ 17 นส.อามเี นาะ อาแว กรรมการ 18 นส.เพียงเพลนิ คงชานิ กรรมการ 19 นส.อาลเี มาะ สาแล กรรมการ 20 นายเจยี ม บุตรมาตา กรรมการ 21 นางวาสนา บุตรมาตา กรรมการ 22 นายอูสะมัน มะเซา๊ กรรมการ
23 นายมาหามะ มะลี กรรมการ 24 นายราเชนร์ สะมะแอ กรรมการ 25 นายมาหามะ เจะ๊ มุ กรรมการ ส่วนที่ 2 1. ผลสาเรจ็ เป็นรปู ธรรมของทีมขับเคล่ือนศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน 1.1 การสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร มีการปลูกผัก ปลูกพืชสวนครวั และพืชสมุนไพรมากกว่า 10 ชนิด เพื่อใช้ประกอบ อาหารในชีวติ ประจาวันและเป็นการใช้สมุนไพรในช่วงที่มีการแพรร่ ะบาดของโรค โควดิ – ๑๙ ทั้งเป็นการลดค่าใชจ้ า่ ยประจาวัน โดยปลูกตามสภาพพ้ืนทข่ี องครวั เรอื น ประชากรของบ้านไอรต์ ุย มากกว่ารอ้ ยละ 90 ประกอบอาชีพเกษตรกร มีการปลูก พืชผักสวนครวั ในรูปแบบการรวมกลุ่มและตามบ้านเรอื น มีการจดั ศูนย์แบ่งปันเมล็ด พันธพุ์ ืชและต้นกล้า เพื่อแบ่งปันให้แก่ครวั เรอื นสมาชกิ
11 1.1.2 การเลี้ยงสัตว์ มีการเล้ียงสัตว์ทเี่ ป็นอาหารของครวั เรอื น เชน่ ไก่ เป็ด ปลา แพะเนื้อ โคเนื้อ หรอื อื่นๆ ตามท่ีสภาพของพื้นท่แี ต่ละครวั เรอื นจะทาได้ การเลี้ยงแพะเน้ือ การเล้ยี งผึ้งชนั โรง การเล้ียงวัวเน้ือ
12 การเล้ียงหอยขม การเลี้ยงปลานิล ปลาทบั ทิม
13 1.2 สรา้ งสิ่งแวดล้อมให้ยัง่ ยืน 1.2.1 บรหิ ารจดั การขยะ ลดการใชผ้ ลติ ภัณฑ์สรา้ งขยะ คัดแยกขยะ นา กลับมาใชซ้ ้า เพื่อเป็น ปุ๋ย หรอื ถังขยะเปียกลดโลกรอ้ น ชุมชนมีกิจกรรมบรหิ ารจดั การขยะตามหลักลดการใช้ นากลับไปใช้ ใหม่ แปรสภาพ (๓ R) การคัดแยกขยะจากต้นทาง มีการคัดแยกเศษอาหารใส่ถังขยะเปียกเพ่ือใชท้ าปุ๋ย และ การเปล่ียนขยะให้เป็นเงนิ เช่น ขวดแก้ว พลาสติก กระดาษ โลหะ เพื่อรอรถรบั ซ้อื ขยะท่ีเข้ามาในชุมชนทุกเดือน มีการนาขยะเหลือใช้ มาประดิษฐเ์ พ่ือนากลับมาใชใ้ หม่ เชน่ ขวดพลาสติกนามาใชป้ ลูกต้นไม้หรอื ผักสวนครวั การใชถ้ ุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใชเ้ ศษจากไม้ไผ่มาปลูกผักสวนครวั เป็นต้น การใชป้ ระโยชน์จากเศษวัสดุท่เี หลือใช้ การทาปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์ การคัดแยกขยะ ขยะแห้งและขยะเปียก
14 1.2.2 ใชท้ รพั ยากรในบา้ นอยา่ งค้มุ ค่า ประหยดั และเกื้อกลู กัน เชน่ นา้ จากการซกั ผ้านาไปรดต้นไม้ เปน็ ต้น ชุมชนมีการสนับสนุนการทาปุ๋ยหมักจากเศษอาหารที่เหลือจากครวั เรอื น น้าหมักชีวภาพจากเศษผัก ผลไม้ในครวั เรอื นหรอื ที่ปลูกไว้แล้วรบั ประทานไม่หมด เพื่อใชก้ ับแปลงผักในครวั เรอื น ปุ๋ยจากเปลอื กไข่ นา้ จากการซกั ผ้า หรอื ลา้ งจานนาไป รดต้นไม้ ส่งเสรมิ การใชป้ ุย๋ หมัก
15 1.3 สรา้ งภูมิคุ้มกันทางสังคม 1.3.1 ปฏิบัติศาสนกิจพิธแี ละความเชอ่ื เป็นประจา มีการแบ่งปันเอ้ือเฟ้ ือ ระหวา่ งกัน บ้านไอรต์ ุย หมู่ท่ี 1 ตาบลศรบี รรพต เป็นชุมชนที่มีความเป็นอยู่แบบ สังคมพหุวัฒนธรรม มีจานวนประชากรที่นับถือศาสนาพุทธ รอ้ ยละ ๔๘.๓๒ และ ประชากรท่ีนับถือศาสนาอิสลาม รอ้ ยละ 51.68 สามารถอยู่รว่ มกันได้โดยไม่มีความ ขัดแย้ง คนในชุมชนมีการปฏิบัติศาสนกิจตามหลักศาสนารว่ มกันโดยประชากรที่นับ ถือศาสนาพุทธ เข้าปฏิบัติศาสนกิจที่พักสงฆ์บ้านไอรต์ ุย และประชากรมุสลิมปฏิบัติ ศาสนกิจรว่ มกันที่มัสยดิ ฮีดายาตุ้ลอิสลามียะห์ ปฏิบัติศาสนกิจทพ่ี ักสงฆ์บ้านไอรต์ ุย
16 การละศีลอดรว่ มกันในห้วงเดือนรอมฎอน 1.3.2 รว่ มกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจติ อาสา อาสาสมัครเขา้ รว่ มกิจกรรมเพื่อสาธารณะของหมู่บ้าน การปรบั ปรงุ ถนน คู คลอง หรอื การรว่ ม กิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้านอ่ืนๆ ชุมชนมีการจดั กิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านเป็นประจาทกุ เดือน โดยทุก ครวั เรอื นต่างมีส่วนรว่ มและรบั ผิดชอบเขตพ้ืนท่สี าธารณะบรเิ วณท่ีอยูอ่ าศัยของตน หรอื ตามเส้นทางสาธารณะ กิจกรรมจติ อาสา ตามที่คณะกรรมการหมู่บ้านขอความ รว่ มมือประกาศผ่านหอกระจายข่าว และกลุ่มไลน์บ้านไอรต์ ุย สาหรบั บา้ นท่เี ปน็ ชุมชน มุสลมิ จะมีการแจง้ ในมัสยดิ หลังเสรจ็ สิ้นเวลาละหมาด
17 กิจกรรมปรบั ภูมิทัศน์สองข้างทาง
๑๘ ศูนย์ฯมีการส่งเสรมิ และสนับสนุนการจดั ระเบียบบรเิ วณบ้านและศาสนสถาน ให้เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย สะอาด ไม่เป็นแหล่งเพาะเชอื้ โรค โดยการรว่ มมือกันของ สมาชกิ ในหมู่บา้ น กิจกรรมจติ อาสาปลูกต้นไม้ ทีมจติ อาสาฯ บ้านไอรต์ ุย รว่ มกันปลกู ต้นไม้ เพ่ือสรา้ งส่ิงแวดล้อมที่ดี และเพิม่ พื้นทส่ี ีเขียวในชุมชน
19 2. กระบวนการสรา้ งและพฒั นาทีมผู้นาการเปลี่ยนแปลงในการขับเคลื่อนศูนย์ผู้นา จติ อาสาพัฒนาชุมชน 2.1 วธิ กี ารคัดเลือกทมี ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โควดิ (COVID – 19) ศูนย์จติ อาสาพัฒนาชุมชนบ้านไอรต์ ุย ได้มีการคัดเลือกทีมผู้นาจติ อาสาพัฒนา ชุมชน ด้วยการพิจารณาจากปราชญ์ที่มีองค์ความรู้เก่ียวกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแกนหลักในการสรา้ งทีมในการขับเคลื่อนศูนย์ผู้นา จติ อาสา พัฒนาชุมชน โดยมีผู้นาด้านการเกษตรผสมผสาน รว่ มเป็นทีม และมีท่ีปรกึ ษาจาก เครอื ข่ายต่าง ๆ เชน่ องค์กรสตร ี อสม. ทีมงานผู้ใหญ่บ้าน ครวั เรอื นต้นแบบ โคก หนอง นา และผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.)
20
21 2.2 บทบาทผู้นาการเปลีย่ นแปลงในการขับเคล่ือนศูนยจ์ ติ อาสาพัฒนาชุมชน ⮚ การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ศึกษาค้นคว้าหาความรูด้ ้านเกษตรจากแหล่งต่างๆด้วยตนเองเข้า รว่ มการฝึกอบรม แล้วนาความรูม้ าทดลองฝึกฝน ปรบั ปรุง พัฒนา จนเกิดความ ชานาญ สามารถนาความรูท้ ี่เรยี นรูน้ ้ันมาใชจ้ นเกิดประโยชน์กับตนเอง เชน่ การทา ปุ๋ยหมัก การปลกู ขา้ วในปลอ้ งบ่อ การเลย้ี งโคเนื้อ การทาหญา้ หมักไว้เล้ยี ง การปลูก ทเุ รยี น ฯลฯ
๒๒ ⮚ การให้คาปรกึ ษาและแก้ปัญหา ศูนย์จติ อาสาพัฒนาชุมชน ให้คาปรกึ ษาและแก้ปัญหา การปลูก พืชผัก สมุนไพร การแบง่ ปันความรแู้ ละทรพั ยากร ศูนย์จิตอาสาพัฒนาชุมชน มีการแบ่งปันความรูแ้ ละทรพั ยากร ให้กับ ประชาชนในพื้นที่ นักเรยี น และผู้ทส่ี นใจในการเรยี นรดู้ ้านเกษตร
23 การขยายผลเครอื ข่ายตาบลและพื้นท่ใี กล้เคียง ศูนย์จิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านไอรต์ ุย ดาเนินการขยายผลเครอื ข่าย ตาบลและพื้นท่ีใกล้เคียง โดยการประชาสัมพันธใ์ ห้ประชาชนในพื้นที่ตาบลและพ้ืนที่ ใกล้เคียง และนาเสนอในท่ีประชุมกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และการประชุมต่าง ๆ เพื่อให้ ทราบการดาเนินงานของศูนยจ์ ติ อาสาพัฒนาชุมชน ⮚ การค้นหาภาคีเครอื ข่าย ศูนยจ์ ติ อาสาพัฒนาชุมชนบา้ นไอรต์ ุย ค้นหาภาคีเครอื ขา่ ยท่ีมี อุดมการณ์ ด้วยการพิจารณาคัดเลอื กเข้ามาเป็นคณะกรรมการศูนย์ฯ เชน่ องค์กร สตร ี อสม. ทีมงานผู้ใหญ่บ้าน ครวั เรอื นต้นแบบ โคก หนอง นา และผู้นาอาสา พัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.)
24 ⮚ การขยายผลฐานการเรยี นรเู้ พ่ิม การทาปุย๋ หญ้าหมักไวเ้ ลี้ยงแพะ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซเี มนต์
25 ➢ การสรา้ งความยั่งยืนด้านอาชพี รองรบั ภัยพิบัติ สามารถพ่ึงพาตนเอง ได้อยา่ งยงั่ ยืน ศูนย์จติ อาสาพัฒนาชุมชนบ้านไอรต์ ุย ดาเนินการสรา้ งความย่งั ยนื ด้านอาชพี มี การแบง่ ปันเมล็ดพันธผุ์ ักและเพาะต้นกล้า เพื่อให้ประชาชนในพื้นทปี่ ลูกผกั สวน ครวั ผลไม้ สามารถพึง่ ตนเองได้อย่างย่งั ยืน
26 2.3 กระบวนการหล่อหลอมผู้นาการเปลี่ยนแปลงในการขับเคลอื่ นศูนย์ผู้นา จติ อาสาพัฒนาชุมชน ผู้นาการเปล่ียนแปลง ในการขับเคลื่อนศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนา ชุมชน ประกอบด้วย ปราชญ์เศรษฐกิจพอเพียง ปราชญ์สัมมาชพี ชุมชน ผู้นาอาสา พัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) ประธานกลุ่มอาชีพ ประธานกองทุนต่าง ๆ กระบวนการ หล่อหลอมผู้นาการเปลี่ยนแปลง เรม่ ิ ต้นจากการ ด้วยการส่งเสรมิ ผู้นาชุมชน กลุ่ม องค์กร เครอื ข่ายงานพัฒนาชุมชน ที่เป็นทุนทางสังคม ใชพ้ ลังภูมิปัญญาให้เป็นพลัง ในการสรา้ งสรรค์งานพัฒนาชุมชน ส่งเสรมิ สนับสนุน การพัฒนาทักษะชีวติ ทักษะ อาชีพ รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นาสรา้ งเสรมิ อุดมการณ์ทางานเพื่อสาธารณะใน รปู แบบผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน มีจติ สานึกรบั ผิดชอบต่อชุมชน มีบทบาทและมีส่วน รว่ มในการพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง ชุมชนให้เข้มแข็งอย่างย่ังยืนตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
27 การดาเนินการ เม่ือสมาชกิ หรอื เครอื ข่ายได้รบั การอบรมความรดู้ ้านอาชพี จากศูนย์ฯ แล้ว สมาชกิ สามารถนาความรู้ ทไี่ ด้ กลับไปต่อยอดเพ่ือผลิตและจาหน่ายเอง หรอื ผลติ เพื่อส่งให้ศูนยฯ์ ดาเนินการจดั จาหน่ายให้ในนามผลติ ภัณฑ์ของศูนย์ฯ ภาพกิจกรรมภายในฐานการเรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง
28
29 มีฐานการเรยี นรู้
30
31
32 3) วธิ กี าร/แนวทางการขับเคลอื่ นศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนให้เกิดความยงั่ ยืน ศูนย์เรยี นรูแ้ ละขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงบ้านไอรต์ ุย หมู่ท่ี 1 ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส มีคณะกรรมการบรหิ ารจดั การศูนย์ มีหน้าทีจ่ ดั อบรม ให้ความรู้ ติดตามการดาเนินงานของสมาชกิ และหาสถานทจี่ าหน่าย ผลติ ภัณฑ์ให้สมาชกิ มีจานวน 25 คน ดังนี้ 1. นายพรเทพ พัสมุณี ประธาน 2. นางพิกุน ปราบทมูล รองประธาน 3. นางสาวพรรณี แก้วมณี เลขานุการ 4. นายสมควร แก้วเมฆ เหรญั ญกิ 5. นส.ฟาตีมะฮ์ ซายามะ กรรมการ 6. นส.ภิลัยภรณ์ ขวัญมณี กรรมการ 7. นางยุพา บุตรมาตา กรรมการ 8. นางอาไพ มณีใส กรรมการ 9. นายมาหามะอาดินัน ยาลา กรรมการ 10. นส.อามีนา หะยีสะกันดา กรรมการ 11. นส.วรรณี วณิ ะ กรรมการ 12. นส.สุทารตั น์ มิตรสันเทียะ กรรมการ 13. นายภิญโญ เขาแก้ว กรรมการ 14. นายโกวทิ ปราบทมูล กรรมการ 15. นายมะหะยา ปะจู กรรมการ 16. นายชูศักดิ์ สุขน้อย กรรมการ 17. นส.อามีเนาะ อาแว กรรมการ 18. นส.เพียงเพลนิ คงชานิ กรรมการ 19. นส.อาลีเมาะ สาแล กรรมการ 20. นายเจยี ม บุตรมาตา กรรมการ 21. นางวาสนา บุตรมาตา กรรมการ 22. นายอูสะมัน มะเซา๊ กรรมการ 23. นายมาหามะ มะลี กรรมการ
33 24. นายราเชนร์ สะมะแอ กรรมการ 25. นายมาหามะ เจะ๊ มุ กรรมการ 3.1 วสิ ัยทศั น์ของทมี ผู้นาการเปล่ียนแปลงในการขับเคล่ือนศูนย์ผู้นาจติ อาสา พัฒนาชุมชน “เสรมิ สรา้ งทกั ษะอาชพี ด้วยกระบวนการเรยี นรู้ สู่ชุมชนแบง่ ปันและเครอื ข่าย เก้ือกลู อย่างย่ังยนื ” 3.2 แผนยกระดับและพัฒนาศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ที่ โครงการ/กจิ กรรม กลมุ่ เปา้ หมาย ว/ด/ป พืน้ ทีด่ ำเนนิ การ ผรู้ บั ผดิ ชอบ 1 การเลย้ี งแพะเนื้อ/การ ประชาชนทว่ั ไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร เล้ยี งโคเนอ้ื ทกุ ชว่ งวยั กนั ยายน 2565 จ.นราธวิ าส คณะกรรมการ เรียนรู้ สวนสมุนไพร ประชาชนท่ัวไป เมษายน – ตำบลศรบี รรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ ไทย ทกุ ช่วงวยั กันยายน 2565 จ.นราธิวาส 2 เรยี นรู้ การสร้างความ ประชาชนทั่วไป เมษายน – ตำบลศรบี รรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ ๓ มน่ั คงทางอาหารการ ทกุ ช่วงวยั กนั ยายน 2565 จ.นราธวิ าส ปลกู พชื ผกั ปลอดภัย ๔ การเรียนรู้ การทำปยุ๋ ประชาชนทวั่ ไป เมษายน – ตำบลศรบี รรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ หมักชีวภาพ ทกุ ช่วงวยั กนั ยายน 2565 จ.นราธิวาส ๕ เรียนรู้ การเพาะบอน ประชาชนทวั่ ไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ สี ทุกชว่ งวยั กนั ยายน 2565 จ.นราธิวาส ๖ เรียนรู้ การเพาะเลยี้ ง ประชาชนทั่วไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ แหนแดง ทุกชว่ งวัย กันยายน 2565 จ.นราธวิ าส ๗ การเรยี นรู้ การเล้ียง ประชาชนทว่ั ไป เมษายน – ตำบลศรบี รรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ ปลานิล/ปลาทบั ทิม ทกุ ชว่ งวัย กันยายน 2565 จ.นราธวิ าส ๘ การเรียนรู้ การปลกู ประชาชนทั่วไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ ข้าวในปลอ้ งบ่อ ทุกช่วงวยั กันยายน 2565 จ.นราธิวาส ๙ การเรียนรู้ การทำฝาย ประชาชนทัว่ ไป เมษายน – ตำบลศรบี รรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ ชะลอนำ้ ทุกชว่ งวยั กันยายน 2565 จ.นราธิวาส
๑๐ การเรยี นรู้ การเล้ียง ประชาชนทัว่ ไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ หอยขม ทกุ ชว่ งวัย กนั ยายน 2565 จ.นราธวิ าส ๑๑ การเรียนรู้ การเลย้ี งไก่ ประชาชนท่ัวไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ ไข่ ทุกชว่ งวัย กนั ยายน 2565 จ.นราธิวาส ๑๒ การเรยี นรู้ การปลูก ประชาชนทว่ั ไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ หญา้ เลี้ยงสัตว์ ทุกชว่ งวัย กันยายน 2565 จ.นราธิวาส ๑๓ การเรียนรู้ การปลกู ประชาชนทั่วไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ ทุเรยี นพันธุ์ดี ทุกชว่ งวัย กันยายน 2565 จ.นราธวิ าส 14 การปลกู ตน้ กล้าผลไม้ ประชาชนทว่ั ไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ (ทเุ รียน/มังคดุ ) ทกุ ชว่ งวยั กันยายน 2565 จ.นราธวิ าส 15 การปลูกหญ้าเลีย้ ง ประชาชนทวั่ ไป เมษายน – ตำบลศรีบรรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ สัตว์ ทุกช่วงวัย กันยายน 2565 จ.นราธิวาส สร้างครัวเรอื นตน้ แบบ 20 ครวั เรอื น พฤษภาคม - ตำบลศรีบรรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ 16 สู่ความม่ันคงทาง มถิ ุนายน จ.นราธวิ าส 2565 อาหาร พฒั นาศนู ยเ์ รียนรจู้ ิต 1 จดุ พฤษภาคม - ศนู ยเ์ รยี นร้ฯู คณะกรรมการ 17 อาสาพฒั นาชมุ ชน มถิ นุ ายน 2565 18 การเล้ยี งผึง้ ชันโรง ประชาชนทว่ั ไป เมษายน – ตำบลศรบี รรพต อ.ศรีสาคร คณะกรรมการ ทกุ ชว่ งวัย กนั ยายน 2565 จ.นราธิวาส การเลี้ยงปลาดุกในบ่อ ประชาชนทวั่ ไป เมษายน – ตำบลศรบี รรพต อ.ศรสี าคร คณะกรรมการ 19 ซีเมนต์ ทกุ ชว่ งวยั กนั ยายน 2565 จ.นราธิวาส 3.3 การบรหิ ารจดั การศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน (4 M) ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนบา้ นไอรต์ ุย หมู่ท่ี 1 บรหิ ารจดั การศูนยฯ์ ดังน้ี การบรหิ ารคน คือการบรหิ ารคณะกรรมการศูนย์ฯ มอบหมายหน้าท่ใี ห้ คณะกรรมการฯ แต่ละคนตามความสามารถ และความถนัดของแต่ละคน ให้เกิด ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลของงาน การบรหิ ารงบประมาณ คือการบรหิ ารเงนิ ศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนา ชุมชน ได้บรหิ ารจดั สรรเงนิ อย่างค้มุ ค่าให้ใชจ้ า่ ยต้นทุนน้อยทีส่ ุด ให้เกิดประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลให้มากทส่ี ุด การบรหิ ารทรพั ยากร การบรหิ ารวสั ดุในการดาเนินงานศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน โดยใชว้ ัสดุท่เี หลอื ใช้ และวสั ดุในพื้นทใ่ี ห้มากทส่ี ุด ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เชน่ การทาปุย๋ หมักจากใบไม้แห้ง หญ้าแห้ง มูลสัตวท์ ่ีเล้ียง
35 การบรหิ ารจดั การ คือ กระบวนการจดั การบรหิ ารควบคุมเพ่ือให้งาน ท้ังหมดเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ และเกิดประสิทธผิ ลอย่างเต็มท่ี 3.4 ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อเนื่องของศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ปัจจยั ภายใน ผู้นาศาสนา ผู้นาชุมชน และประชาชนในพ้ืนที่ให้ความสาคัญของ ศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ให้ความรว่ มมอื มีส่วนรว่ มในการดาเนินการศูนยผ์ ู้นา จติ อาสาพัฒนาชุมชนอย่างต่อเน่ือง ปัจจยั ภายนอก หน่วยงานราชการ หน่วยงานภาคีการพัฒนา ส่งเสรมิ สนับสนุน กิจกรรมของศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนบ้านไอรต์ ุยอยา่ งต่อเน่ือง ได้แก่ สานักงาน เกษตร ปศุสัตว์ ประมง หน่วยทหารในพื้นท่ี ครู โรงเรยี น วัด และสานักสงฆ์ 4. การพัฒนาขยายผลและความคิดรเิ รม่ ิ สรา้ งสรรค์ ในกระบวนการขบั เคล่อื นการ สรา้ งความม่ันคงทางอาหารให้เกิดต่อเน่ืองอย่างย่งั ยืน ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนบ้านไอรต์ ุย มีการพัฒนาขยายผลและความคิด รเิ รม่ ิ สรา้ งสรรค์ ในกระบวนการขับเคลื่อนการสรา้ งความมั่นคงทางอาหารให้เกิด ต่อเน่ืองอย่างยั่งยืน โดยเสนอโครงการปรบั ปรุงและพัฒนาศูนย์เรยี นรู้ 1.มีการเพิ่ม ฐานการเรยี นรู้น้าส้มควันไม้ เพราะน้าส้มควันไม้ใช้ประโยชน์ได้ทั้งในครัวเรอื น การเกษตร และการปศุสัตว์ ในรูปแบบผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน มีจิตสานึก รบั ผิดชอบต่อชุมชน 2. การเลย้ี งปลาดุกในบ่อซเี มนต์ ใชม้ ูลปลาดุกมาเปน็ ปุย๋ ในการบารงุ พืชผัก 3. การทา ปุย๋ หญ้าหมักเพื่อใชเ้ ลีย้ งแพะขุน เพิม่ กล้ามเน้ือ
36 ส่วนท่ี 3 แบบเสนอโครงการ ขอรบั การสนับสนุนการดาเนินงาน ตามโครงการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาผู้นาการเปล่ียนแปลง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบดาเนินงาน กรณีได้รบั การคัดเลือกเป็นศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ระดับดีเด่น จะได้รบั การจดั สรรงบประมาณ 10,000 บาท (หนึ่งหม่นื บาทถ้วน) ศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน จงั หวัดนราธวิ าส **************************************************** 1.ชอื่ โครงการ โครงการปรบั ปรุงและพัฒนาศูนยเ์ รยี นรู้ (เพิ่มฐานการเรยี นรู้ น้าส้มควนั ไม้และต้นกล้าผักระยะสั้น) 2. หลักการและเหตุผล กรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญในการเสรมิ สรา้ งผู้นาชุมชน โดย การพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนเพ่ือเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของชุมชนในระดับต่างๆ ให้ผู้นาชุมชนมีความรู้ คู่คุณธรรม สามารถบรหิ ารจดั การชุมชนของตนเองได้และเป็น กาลังหลักในการขับเคลื่อนการดาเนินงานพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ขับเคล่ือนกิจกรรม การพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสรมิ ความเข้มแข็งของ ชุมชน ซึ่งได้ไปสนับสนุนนโยบายรฐั บาลท่ีมุ่งสืบสาน รกั ษา ต่อยอด และพัฒนา ประเทศตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระชนกาธเิ บศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร รว่ มกับแนวคิด “โคก หนอง นา โมเดล” สรา้ งการมีส่วนรว่ มของประชาชนมีภมู ิค้มุ กัน ให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ จากสถานการณ์ปัจจุบัน วกิ ฤตการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ 19) ได้ส่งผลกระทบต่อวถิ ีชีวติ ของผู้คนในทุกๆ ด้าน ยังไม่สามารถ กาหนดระยะสิ้นสุดได้ ทาให้ประชาชนมีการดารงชีวติ ในภาวะปกติแบบใหม่หรอื นิ วนอรม์ อล (New Normal) ที่ต้องหันมาพึ่งพาตนเองเพ่ือลดการแพรร่ ะบาด นาไปสู่ การชว่ ยเหลือของชุมชนในระยะยาว เพ่ือความอยู่รอดของประชาชนในหมู่บ้าน/ตาบล ในการสรา้ งความม่ันคงทางอาหารอยา่ งยั่งยืน โดยนาคติพจน์ (Motto) “1 หมู่บ้าน
37 สามารถดูแลได้ทั้งตาบล สรา้ งความม่ันคงทางด้านอาหาร ด้วยหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน บ้านไอรต์ ุย หมู่ที่ ๑ ตาบลศร ี บรรพต เป็นศูนย์ฯต้นแบบในการสรา้ งความม่ันคงทางด้านอาหารให้ครอบคลุมเต็ม พ้ืนที่ ประกอบด้วยด้านการเกษตร ด้านประมง ด้านปศุสัตว์ นาไปสู่การจดั ต้ังกองทุน เมล็ดพันธุ์ มีการบรหิ ารจัดการขยะ ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถลดรายจ่าย ประชาชนคุณภาพชีวติ ท่ีดี มีอาหารบรโิ ภคที่ปลอดภัย เกิดความรกั ความสามัคคี ส่งเสรมิ และพัฒนากระบวนการสรา้ งความมั่นคงทางด้านอาหาร เพื่อเป็นจุดเรยี นรู้ ของตาบลศรบี รรรพต อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส ต่อไป 3. วัตถุประสงค์ ๓.1 เพ่ือเพิ่มขดี ความสามารถของผู้นาจติ อาสาให้สามารถบูรณาการงานพัฒนา ชุมชนนาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ ๓.2 เพ่ือใช้พลังชุมชนในการเสรมิ สร้างความมั่งคงทางด้านอาหา รสร้าง ภูมิคุ้มกันทางสังคมและสรา้ งสิ่งแวดล้อมให้ย่ังยืน ในภาวะวกิ ฤติการแพรร่ ะบาดของ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ๓.3 เพ่ือให้ชุมชนมีการบรหิ ารจดั การชุมชน และเป็นศูนยเ์ รยี นรูค้ รบวงจร เพ่ือ เสรมิ สรา้ งความมั่นคงทางด้านอาหาร 4. กลุ่มเป้าหมาย ผู้นาจติ อาสาและประชาชนในบ้านไอรต์ ุย หมู่ท่ี ๑ ตาบลศรบี รรพต อาเภอ ศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส
38 5. กระบวนการ/วธิ ดี าเนินการ (จะนาเงนิ ไปทาไรบ้าง ใชว้ ธิ กี ารทาอย่างไร) กิจกรรมท่ี รูปแบบ/วธิ กี าร ผลผลติ / ระยะเวลา งบประ ผู้รบั ผิดชอบ ที่ ดาเนินการ (How to) ผลลพั ธ์ (วนั ) มาณ (ทีม (บาท) (Action Plan) ประชุมคณะกรรมการ มีแผนการ ๑ วัน ๑๕ คน) ศูนยฯ์ เพ่ือวางแผนการ ดาเนิน - คณะกรรมการ 1 วางแผนการ ดาเนินงานโครงการ กิจกรรม ศูนยผ์ ู้นาจติ . ดาเนินการ อาสา และภาคี เครอื ขา่ ย เตรยี มพ้ืนที่ ดาเนิน เพิ่มฐานการเรยี นรนู้ ้าส้ม -มีฐานการ 1 วัน - คณะกรรมการ โครงการแบง่ หน้าท่ี ควันไม้ เรยี นรนู้ ้าส้ม ศูนย์ผู้นาจติ 2 ดาเนินการ . ปรบั ปรงุ และ ควนั ไม้ อาสา และภาคี พัฒนาศูนย์ เรยี นรู้ เครอื ขา่ ย 3 ติดตามและ . สนับสนนุ การ -ภาคีการพัฒนารว่ มกัน -ครวั เรอื นมีท่ี พ.ค.-ก.ย. - คณะกรรมการ ดาเนินงาน ติดตามและสนับสนนุ ปรกึ ษา 6๕ ศูนยผ์ ู้นาจติ โครงการฯ เพ่ือให้คาแนะนา/ -ครวั เรอื นมี แก้ปญั หา ขวัญและ อาสา และภาคี 4 ติดตาม กาลังใจ . ประเมินผล -ภาคีการพัฒนา/ผนู้ า -หมู่บ้านมี เครอื ข่าย ชุมชน รว่ มติดตาม ความเข้าใจ โครงการฯ ประเมินผล เพื่อนาไปสู่ แนวทางการ พ.ค.-ก.ย. - คณะกรรมการ การพัฒนา พัฒนา 6๕ ศูนย์ผู้นาจติ -หมู่บา้ นได้ ทราบถึง อาสา และภาคี ผลสาเรจ็ ของ งาน เครอื ข่าย
๕ ประชาสัมพันธ์ -ประชาสัมพันธก์ าร -ศูนย์ฯได้ พ.ค.-ก.ย. - คณะกรรมการ . โครงการ ดาเนินงาน ผ่านส่ือ ประชาสัมพัน 6๕ ศูนย์ผู้นาจติ ธผ์ ลการ อาสา และภาคี ออนไลน์ ดาเนินงาน เครอื ขา่ ย รวม ๕ รวมทง้ั ส้ิน - กิจกรรม 6. งบประมาณ 10,000 บาท (หน่ึงหม่นื บาทถ้วน) ตามรายละเอียดแนบทา้ ย 7. ระยะเวลาดาเนินการ (กิจกรรมทส่ี ามารถดาเนินการในชว่ งเดือน) ระหวา่ งเดือนพฤษภาคม 2565 – เดือนกันยายน 2565 8. สถานทดี่ าเนินการ บา้ นไอรต์ ุย หมู่ท่ี 1 ตาบลศรบี รรพต อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส 9. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั 1. ชุมชนบ้านไอรต์ ุย มีศูนย์เรยี นรสู้ ามารถถ่ายทอดองค์ความรใู้ ห้แก่ผู้ทสี่ นใจ ได้ 2. ชุมชนมีศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพึ่งพา ตนเองได้ สรา้ งความม่ันคงทางด้านอาหารอย่างย่ังยนื
40 รายละเอียดงบประมาณแนบทา้ ยโครงการ (งบดาเนินการ) ชอื่ โครงการ โครงการปรบั ปรุงและพัฒนาศูนยเ์ รยี นรู้ (เพิม่ ฐานการเรยี นรนู้ ้าส้ม ควนั ไม้และต้นกล้าผักระยะส้ัน) ที่ รายการ จานวนหน่วย ราคาต่อ รวมเปน็ เงนิ หน่วย (บาท) (บาท) 1 ค่าใชส้ อย - ค่าอาหารกลางวนั 1 ม้ือ/15 คน 60 900 - ค่าอาหารวา่ งและเครอ่ ื งดื่ม 2 มื้อ/15 คน 35 525 2 ค่าวัสดุ 1.ถังเหลก็ ขนาด 200 ลติ ร ๔ ถัง ๖๐๐ 2,400 2.ปูนซเี มนต์ ๕ ถุง ๑๗๐ ๘๕๐ 3.อิฐบล็อค ๑๐๐ ก้อน 6 ๖๐๐ 4.ทราย ๑ คิว ๗๐๐ ๗๐๐ 5.ถาดเพาะชา 55 ถาด 20 1,100 6.ถงุ ดาคละไซต์ 30 กก. 80 2,400 7.เมล็ดพันธผ์ ักคละชนิด ๑๕ ซอง ๓๕ 525 รวมทง้ั สิ้น 10,000 ตัวอักษร : หนึ่งหม่ืนบาทถ้วน ลงชอื่ ..............................................................................ผู้เสนอโครงการ (นายพรเทพ พัสมุณี) ตาแหน่ง ประธานศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนบา้ นไอรต์ ุย
41 ลงชอ่ื .............................................................................ผู้เห็นชอบโครงการ (นายถาวร เทพสุวรรณ) ตาแหน่ง พัฒนาการจงั หวดั นราธวิ าส ลงชอื่ .................................................................................ผู้อนมุ ัติโครงการ (นายสน่ัน พงษ์อักษร) ตาแหน่ง ผู้ว่าราชการจงั หวดั นราธวิ าส
42 ส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก การประชุมคณะกรรมการศูนยฯ์
43 การตั้งปณิธาน ทาความดี ด้วยหัวใจ
44 การทาปุย๋ หมัก
45 การปลูกผักสมุนไพร
46 การทาเล้าแพะ
47 การเล้ียงผ้ึงชนั โรง
Search