ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี ๒๕๖๔ อาเภอศรสี าคร จังหวัดนราธวิ าส ชื่อเจ้าของผลงาน นางจุฑามาศ คงขวญั ท่ีอยู่ บ้านเลขท่ี ๒๘/๓๒ บ้านประชานิมิตร หม่ทู ่ี ๔ ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส สนบั สนุนโดย สำนกั งำนพัฒนำชมุ ชนอำเภอศรีสำคร โทร.081-821-1376
คานา กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้ขับเคล่ือนภารกิจสาคัญภายใต้แผนงาน ยทุ ธศาสตร์สร้างความมั่นคงและลดความเหลือ่ มลาทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม มีหลกั การและแนวคิด ในการสร้างและพัฒนาอาชีพให้ประชาชนตามแนวทางสัมมาชพี ชุมชม โดยใชท้ นุ ชมุ ชน ขบั เคลอื่ นการ ดาเนินงานโดยผู้นา/ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ ใชแ้ ผนชุมชนเปน็ เคร่ืองมือภายใต้ประชารัฐ ซึ่งกาหนด วตั ถุประสงค์สาคญั เพื่อส่งเสรมิ การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนา หมู่บา้ น ให้มีระบบการบรหิ ารจดั การชุมชนแบบบูรณาการที่เขม้ แข็ง และพฒั นาเศรษฐกจิ ชุมชนให้ ม่ันคง โดยใช้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนในแต่ละหมู่บ้านและทีมสนับสนุนการขับเคล่อื นสัมมาชพี ชุมชนในพืนท่ี จดั ทาแผนปฏิบัติการติดตามสนบั สนนุ การประกอบอาชีพของครัวเรือนเป้าหมายท่ีผ่าน การอบรมอาชีพ ซง่ึ เรยี กว่า “ครัวเรือนสมั มาชีพชมุ ชน” ให้สามารถประกอบอาชีพไดอ้ ย่างต่อเน่ือง สร้างรายได้ให้ครวั เรอื นได้จรงิ สามารถทาให้ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมรี ายไดเ้ พม่ิ ขนึ เอกสารฉบับนีเป็นเอกสารประกอบการคดั เลอื กครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ในระดับ จังหวัดนราธิวาสประจาปี 2564 ของครัวเรือนสัมมาชพี ต้นแบบ นางจฑุ ามาศ คงขวัญ โดยได้รบั การ สนบั สนนุ จากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ในการดาเนนิ งานการพฒั นาทักษะการใหค้ วามรู้ ความเข้าใจในการดาเนินงานตามแนวทางของสัมมาชีพอย่างเห็นผลเป็นรปู ธรรมและสามารถเปน็ แบบอย่างแก่ ครัวเรอื ขยายผลอื่นได้อย่างเหมาะสมตอ่ ไป สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอศรสี าคร พฤษภาคม 2564
สารบัญ เรื่อง หน้า สว่ นท่ี 1 บทนำ 1 ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู ครัวเรือนสมั มำชพี 4 ส่วนท่ี 3 กำรประเมินครวั เรือนสัมมำชีพชมุ ชน 6 1 .สรำ้ งควำมมั่นคงทำงอำหำร 1.1 ปลูกพชื ผักสวนครวั บริเวณบ้านพกั /พืนทื่อืน่ ๆ 7 1.2 เก็บเมล็ดพนั ธ์ุเพอ่ื ขยายผล 9 1.3 มีการแปรรูปอาหาร 18 2. สร้ำงส่งิ แวดล้อมให้ยั่งยืน 2.1 มกี ารคดั แยกขยะ 25 2.2 ทาปุย๋ ชีวภาพ ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ นา 29 2.3 มกี ารจดั บา้ นเรอื นเป็นระเบยี บ สะอาด ถกู สุขลักษณะ 33 2.4 มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ มหรอื สาธารณะประโยชน์ 36 3. สรำ้ งภมู คิ ุ้มกันทำงสงั คม 3.1 ร่วมกจิ กรรมจติ อาสา 39 3.2 สมาชกิ ในครวั เรอื นไมย่ ่งุ เกี่ยวกบั สิ่งเสพตดิ และอบายมุขต่างๆ 42 3.3 สมาชกิ ในครัวเรือนเป็นสมาชกิ กลุ่มองค์กรในชมุ ชน 45 3.4 สมาชิกในครัวเรอื นมีวถิ ชี วี ติ ประชาธปิ ไตย 50 3.5 สมาชกิ ในครวั เรือนไม่มกี ารใช้ความรนุ แรง 52 4. สร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำชพี /รำยได้ 4.1 ครวั เรือนมกี ารออม 56 4.2 ครวั เรือนประสบผลสาเร็จในการประกอบสมั มาชีพ 58 4.3 ครวั เรือนมีการทาบญั ชีครัวเรอื น 60 4.4 ครวั เรอื นไม่มหี นสี ินนอกระบบ 61 ภำคผนวก รายงานผลการพัฒนาตนเองตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.)
1 ส่วนที่ 1 บทนำ ************************************************* ควำมเป็นมำ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั บท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) กาหนดให้การสรา้ ง ความเปน็ ธรรมลดความเหลอ่ื มลาในสังคม เป็น 1 ใน 10 ยุทธศาสาตร์ ทม่ี ุ่งลดปญั หาความเหลื่อมลาด้าน รายได้ของกลุ่มคนท่ีมฐี านะทางเศรษฐกิจสังคมท่แี ตกต่างกัน แกไ้ ขปญั หาความยากจน เพิ่มโอกาสการ เข้าถงึ บริการพืนฐานทางสังคมของภาครฐั รวมทังเพ่มิ ศกั ยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากใหม้ ีความ เข้มแข็ง เพือ่ ให้ชุมชนพ่งึ พาตนเองและได้รบั ส่วนแบ่งผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจมากขนึ นโยบายการบริหารราชการแผ่นดนิ ของรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรี) กาหนดให้การลดความเหล่ือมลาของสังคมและการสรา้ งโอกาสการเข้าถงึ บริการของรัฐ เป็น 1 ใน 11 ด้าน ท่มี ุ่งแกไ้ ขปญั หาเก่ียวกบั ปากท้องของประชาชนในระดับล่างท่ีเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมี แผนงานที่สาคัญ คือ แผนงานการพัฒ นาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ซ่ึ งได้มอบให้ กระทรวงมหาดไทยทีม่ ีกรมการพฒั นาชุมชนเปน็ หน่วยงานหลักบรู ณาการไปสู่การปฏบิ ัติ และเพ่ือใหก้ าร ดาเนนิ การตามนโยบายรัฐบาลและข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีเห็นผลเป็นรูปธรรมโดยเร็วและมคี วาม ยัง่ ยืน กระทรวงมหาดไทยกาหนดโครงการ“ลดความเหล่ือมลา แบ่งปันความสุข”เป็น 1 ใน 8 กลุ่ม โครงการเนน้ หนักที่ให้ความความสาคัญเป็นพิเศษในเชิงผลสัมฤทธิ์ โดยโครงการดงั กล่าวเน้นการส่งเสริม เศรษฐกิจฐานรากแกป้ ญั หาหนสี นิ นอกระบบ ความยากจนระดับครวั เรอื น พฒั นาคณุ ภาพชีวิตและขยาย โอกาสคนยากจนในการเข้าถงึ ทรพั ยากรและการให้บริการของรฐั เพ่ือขับเคล่ือนนโยบายรัฐบาลและนโยบายกระทรวงมหาดไทยข้างต้น กรมการพัฒนาชุมชน กาหนดให้การพฒั นาอาชีพครวั เรือน มุ่งผลให้ “เศรษฐกิจครวั เรอื นมีความม่ันนคง ประชาชน ใช้ชีวิตอย่ใู น ชุมชนอยา่ งมีความสุข” และดาเนินการภายใต้ “โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง”เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก คือ“รำยได้”ทาให้ประชาชนในชมุ ชนมีรายได้เพม่ิ ขึน มี ความมั่นคงและยัง่ ยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยการสร้างอาชีพผ่านกระบวนการ”สร้ำง สมั มำชีพชุมชน”ภายใต้แนวคดิ “ชำวบ้ำนสอนชำวบำ้ น”สอนอาชีพท่ีเขาต้องการอยากทา ประกอบกับ การนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาเปน็ แนวทาง กระบวนการ “สรา้ งสมั มาชีพชุมชน”เรม่ิ ต้นด้วยการพัฒนาทักษะการถา่ ยทอดองค์ความร้ใู ห้กับ ปราชญ์ชมุ ชนดา้ นอาชพี จากนนั ปราชญ์ชุมชนกลับไปสรา้ งทีมและจดั การฝกึ อบรมอาชีพให้กับครัวเรือนท่ี ตอ้ งการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน ติดตาม และสนบั สนุนอยา่ งตอ่ เน่อื ง เพ่ือให้ครัวเรือนท่ีเข้ารบั การฝึกอาชีพ สามารถปฏบิ ตั อิ าชีพไดจ้ ริง จนพัฒนาเปน็ อาชีพทส่ี รา้ งรายได้ใหก้ ับครวั เรือนได้อยา่ งมั่นคง ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
2 พระรำชดำรวิ ่ำด้วยเศรษฐกจิ พอเพยี ง “...การพฒั นาประเทศจาเปน็ ต้องทาตามลาดับขนั ต้องสรา้ งพนื ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญ่เบืองต้นก่อน โดยใชว้ ิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลัก วชิ าการ เม่อื ได้พืนฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติไดแ้ ล้ว จงึ ค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขันทส่ี งู ขนึ โดยลาดบั ต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ พระราชทานมานานกว่า ๓๐ ปี เป็นแนวคิดทต่ี ั้งอยู่บนรำกฐำนของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการ พัฒนาท่ตี ังบนพนื ฐานของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ในตวั เอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพนื ฐานในการดารงชวี ิต ท่สี าคญั จะตอ้ ง มี “สติ ปญั ญำ และควำมเพียร” ซ่ึงจะนาไปสู่ “ควำมสุข” ในการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งแท้จรงิ กรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญในการเสริมสร้างผู้นาชุมชน โดยการพฒั นา ศกั ยภาพผู้นาชมุ ชน เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในระดับตา่ งๆ ให้ผู้นาชุมชนมีความรู้ คู่ คุณธรรม สามารถบริหารจัดการชมุ ชนของตนเอง เป็นกาลังหลักในการขับเคล่ือนงานอยา่ งต่อเนื่อง โดยมี การจัดประกวดแข่งขนั เสริมสร้างและพัฒนาผู้นาการเปลีย่ นแปลง เพ่ือเชิดชูเกียรติ สรา้ งแรงจูงใจต่อ การขบั เคล่ือนงาน นาไปสู่การเปลยี่ นแปลงท่ดี ีขนึ Change for Good สร้างชุมชนเขม้ แขง็ และพึง่ ตนเอง ได้ โดยนอ้ มนาแนวพระราชดารขิ องกรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สร้างความ มัน่ คงทางอาหารสู่ปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัว เพอื่ สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร แก่พ่ีน้อง ประชาชน เช่น ตาบลโก่งธนู จงั หวัดลพบุรี ภายใต้โครงการ “บา้ นนีมีรกั ปลกู ผักกินเอง” รณรงค์ให้ทุก หลงั คาเรอื นมีการคัดแยกขยะ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจในการบริหารจัดการขยะเปียก ดูแลรักษาภมู ทิ ัศน์ ส่ิงแวดลอ้ ม เพ่มิ พืนท่ีสเี ขยี วให้กบั ชุมชน การปลูกผกั สวนครัวสร้างคลังทางอาหาร ประชาชนในพืนท่ีตาบลกาหลงได้น้อมนามาเป็นแนวทางปฏิบัติ ซงึ่ เป็นรูปแบบการ ขบั เคลื่อนเชงิ คุณภาพ เพ่อื ให้เกิดผลสาเรจ็ ฝงั รากลึกทางวฒั นธรรมใหอ้ ยู่ในจิตสานึกแก่ป ระชาชนอย่าง ย่ังยืน และสามารถขับเคลื่อนให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง เป็นการเพ่มิ ขีดความสามารถของ ผู้นาชุมชนให้สามารถบรู ณาการงานพัฒนาชุมชน นาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ ในพืนทม่ี ีผู้นาระดับท้องที่ เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กานัน นายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบล ผ้นู าธรรมชาติ เช่น พระสงฆ์ ผู้ที่มีคนนับถือใน ชุมชน รวมถงึ ผนู้ าท่ีเป็นราชการ เช่น นายอาเภอ หัวหนา้ สว่ นราชการต่างๆ ร่วมเขา้ มาขับเคล่อื นการ ดาเนนิ งานรว่ มกัน โดยการปฏบิ ัตผิ นู้ าต้องทาก่อน ให้พนี่ ้องประชาชนปฏบิ ัตติ าม ด้วยการปลูกพชื ผักสวน ครัวเรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
3 ครวั ในครวั เรือน และพนื ท่ีส่วนรวม วดั โรงเรียน ถนนหนทางในหมู่บ้าน ให้เป็นพนื ที่ทีส่ รา้ งความสวยงาม และสรา้ งความมนั่ คงทางอาหารได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม กจิ กรรมครังนจี ะทาให้ 1 หมู่บ้าน สามารถดแู ลได้ทังตาบล สรา้ งความมั่นคงทางดา้ นอาหาร ด้วย หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ม่งุ เน้นผู้นาทางความคดิ ตามแนวทางของสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารสี อดคล้องกับเป้าหมายท่ยี ง่ั ยืนของ UN (องค์การ สหประชาชาติ) เป้าหมายที่ 2 ยุติความหิวโหย บรรลคุ วามมนั่ คงทางอาหาร ยกระดับโภชนาการ สง่ เสริมการเกษตรกรรมที่ยั่งยนื และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่พี ระองค์พระราชทานให้พ่นี ้อง ประชาชน ซึ่งกระตนุ้ ใหผ้ นู้ าภาคส่วนต่างๆ เข้ามามสี ่วนรว่ มในการขับเคลอื่ นในระดับพนื ท่ี ในการสืบสาน รกั ษา และต่อยอด ตามพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพติ ร สูพ่ ี่นอ้ งประชาชน อย่างเป็นรูปธรรม โดยไดด้ าเนินการขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ ความยง่ั ยืนโลก (SEP to SDGs) และมีเป้าหมายเดยี วกัน น่ันคือ การมุ่งพัฒนา สร้างความสมดลุ ในมิติ สงั คม เศรษฐกิจ และสงิ่ แวดล้อม พฒั นาประเทศไปส่คู วามยง่ั ยนื เราต้องลงมือปฏิบัตอิ ย่างจริงจงั ศึกษา อย่างถ่องแท้และนอ้ มนาศาสตร์พระราชา “เขา้ ใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็นกระบวนทัศน์ในการทางาน อาทิ โครงการบ้านนีมีรัก ปลูกผักกินเอง ในพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาขยายตอ่ ยอดสกู่ ิจกรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการ 90 วัน ปลูก ผักสวนครัว เพอื่ สร้างความม่ันคงทางอาหาร ใหผ้ ้นู าในท้องท่ีตอ้ งทาก่อน สรา้ งวัฒนธรรมปลกู พืชผกั สวน ครวั ให้เตม็ พนื ท่ี นาไปสู่ 1 หมูบ่ ้านสามารถดแู ลได้ 1 ตาบล 1 ตาบลดูแลได้ 1 อาเภอ เป็นแหล่ง ของอาหารไดอ้ ยา่ งยั่งยนื ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
4 สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลครวั เรอื นสัมมำชีพชุมชน ประจำปี 2564 ************************************************* 1. ชอื่ นางจุฑามาศ นามสกลุ คงขวญั วนั เดือนปเี กดิ 16 กนั ยายน พ.ศ. 2529 ปจั จุบันอายุ 35 ปี สถานท่ีอยู่บ้านเลขที่ 28/32 หมู่ที่ 4 หมู่บ้านประชานิมิต ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส รหสั ไปรษณยี ์ 96210 โทรศพั ท์ 061 - 2023099 โทรสาร..............-............. Facebook : จุฑามาศ คงขวญั E –Mail ….……….......................-................................... สถานที่ทางาน ชือ่ หน่วยงาน....................................................................................-.............................. เลขที่...-........หมทู่ ่.ี ...-......ตาบล..........-......................อาภอ.........-......................จงั หวดั ..........-............. รหัสไปรษณีย.์ ..............-................โทรศพั ท.์ .........-...................โทรสาร..............-.................................. อาชีพ....................เกษตรกร (ชาวสวน).......................... จานวนสมาชกิ ในครวั เรอื น 6 คน 2.1 ชื่อ นางจฑุ ามาศ สกลุ คงขวัญ อายุ 35 ปี ปี การศึกษา มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 เกย่ี วขอ้ งเป็น หัวหน้าครวั เรือน . ปี ปี 2.2 ช่ือ นายสกุ ฤษฏ์ สกลุ คงขวัญ อายุ 45 ปี ปี การศกึ ษา อนปุ ริญญาตรี เกี่ยวข้องเปน็ สามี . 2.3 ชอ่ื นางมาลี สกลุ คงขวญั อายุ 63 การศึกษา - เกย่ี วขอ้ งเป็น มารดาของสามี . 2.4 ช่ือ นางสาวสิรปิ ระภา สกลุ ศรีระวรรณ์ อายุ 15 การศกึ ษา มัธยมศึกษาปที ่ี 3 เกี่ยวข้องเปน็ บตุ รสาว . 2.5 ชอ่ื เดก็ ชายธนกร สกลุ พรมเตม็ อายุ 8 การศกึ ษา ประถมศึกษาปที ี่ 2 เกี่ยวขอ้ งเปน็ บุตรชาย . 2.6 ชื่อ เดก็ หญิงณชั ชา สกลุ คงขวญั อายุ 5 การศึกษา อนุบาล 1 เกี่ยวข้องเปน็ บตุ รสาว . ครวั เรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
5 2. ประวัตสิ ่วนตวั /การศกึ ษาและการฝกึ อบรม จบการศึกษาชนั สูงสดุ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนธารโตวัฑฒนวทิ ย์ อาเภอธารโต จงั หวัด ยะลา ปีการศกึ ษา2547 ผ่ำนกำรฝกึ อบรมในด้ำนต่ำง ๆดงั น้ี 1. ผ่านเกณฑป์ ระเมินการพัฒนาระบบมาตรฐานงานชมุ ชน ปี 2564 2. อบรมทาป๋ยุ จลุ ินทรีย์สงั เคราะหแ์ สง ป๋ยุ คอก เพาะกล้าชาตน้ มลั เบอรี่ และฝายชะลอนา 3. อบรมหลกั สตู รการกรีดยางอย่างถกู วธิ ี ประจาปี 2563 4. อบรมการทาปุ๋ยหมกั ปุ๋ยคอก (วทิ ยากร นายพรเทพ พสั มณุ ี) ปี 2563 5. อบรมการปลกู ดาวเรืองตดั ดอก (จากวิทยากรนายธารงศักด์ิ ชุมนมุ มณ)ี ปี 2562 6. อบรมการเลียงผึงชนั โรง (วิทยากรยังสมาทฟาเมอร์ อ.ธารโต จ.ยะลา) ปี 2562 7. อบรมการทาทุเรียนอนิ ทรีย์ (วิทยากร นายวุฒิชัย พรมทอง เจ้าของทรพั ยเ์ กษตร จ.พัทลุง) 3. หนา้ ที่การงาน/อาชีพ (อดีต/ปัจจบุ นั ) - ทาการเกษตร (สวนยาง/สวนกาแฟ) 4. รางวลั ทเ่ี คยไดร้ ับ (ระบุปีที่ได้รับ) 4.1 ชื่อรางวัล รองชนะเลิศ อันดบั 2 การแขง่ ขันกรีดยาง หลักสูตร การกรีดยางอยา่ งถูกวิธี ประจาปี 2563 กจิ กรรมถา่ ยทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตยาง ประจาปี 2563 ชือ่ หน่วยงาน การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวดั นราธิวาส ปี่ทไี่ ดร้ บั 2563 5. ผลงานดีเด่นท่ีไดร้ ับการยอมรบั และเป็นประโยชน์ตอ่ สังคม (เป็นผลงานท่ีมีความต่อเนื่องและยัง ดาเนนิ การจนถึงปจั จบุ นั ) 1. จิตอาสาพระราชทาน 2. กรรมการกลมุ่ กาแฟอาราบกี ้า 3. กรรมการศนู ย์เรยี นรู้ไร่ทองผาภมู ิ 4. กรรมการกล่มุ ไมต้ ดั ดอก (ดาวเรอื ง,มะล)ิ 5. สมาชกิ ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน 6. สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 7. สมาชกิ กลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือการผลติ บา้ นประชานิมติ ร 8. สมาชกิ กลุ่มเครอ่ื งแกง หมบู่ ้านประชานิมิตร 9. สมาชิกศูนยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชนบ้านประชานิมติ ร ครัวเรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
6 ส่วนท่ี 3 กำรประเมนิ ครวั เรือนสัมมำชีพชมุ ชน สัมมำชีพ ห มายถึง อาชีพท่ี ไม่ เบียด เบียนตนเอ ง ไม่เบี ยดเบี ยนผู้อื่ น ไม่ เบียด เบีย น สง่ิ แวดล้อม และมีรายจ่ายน้อยกว่ารายได้ เปน็ การทามาหากินโดยไม่ได้เอากาไรสูงสุดเป็นตวั ตัง หรือ เป็นเป้าหมายสุดท้าย และต้องคานึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม กล่าวคือ ความสุขของตน และ คนทางาน รวมถึงประโยชนข์ องผู้บริโภค และผู้รับบรกิ ารหลกั สมั มำชีพชุมชน หมายถงึ ชมุ ชนโดยประชาชนมกี ารประกอบอาชีพโดยชอบ ซ่ึงมีรายไดม้ ากกว่า รายจา่ ย และนารายได้ไปออมเพิม่ ขึน ลดการเบียดเบยี นตนเอง ผู้อ่นื และสง่ิ แวดล้อม มกี ารดารงชีวติ ของ ประชาชนในชุมชนต้องสอดคล้องกบั วิถีของชุมชนเพอื่ ความมงุ่ หมายในการสรา้ งระบ บเศรษฐกจิ ฐาน รากในชุมชน ในการประเมินครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดหลักเกณฑ์ในการ พจิ ารณาคัดเลอื กครวั เรอื นสมั มาชีพ ตามรายละเอยี ดกจิ กรรมตามแบบประเมิน 4 ดา้ นดังนี 1. สรำ้ งควำมมั่นคงทำงอำหำร 2. สร้ำงสงิ่ แวดล้อมใหย้ ั่งยืน 3. สรำ้ งภูมคิ มุ้ กนั ทำงสงั คม 4. สร้ำงควำมมัน่ คงทำงอำชพี /รำยได้ ผลกำรดำเนินงำนของครัวเรือนสัมมำชพี (นำงจุฑำมำศ คงขวญั ) 1. สรำ้ งควำมมนั่ คงทำงอำหำร ความม่ันคงทางอาหาร ประชาชนทุกคนสามารถเขา้ ถงึ อาหารท่ีสะอาดและปลอดภยั อย่างเพียงพอ ตามความเหมาะสมของแต่ละพนื ท่ี เพื่อเพิ่มผลผลติ ใหป้ ระชาชนมอี าหารบริโภคทเี่ พยี งพอมีคณุ ภาพ และ ปลอดภัย และมคี ุณคา่ ทางโภชนาการ ครัวเรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
7 1. ความพอเพียงของอาหาร หมายถึงการมอี าหารทีม่ คี ุณภาพในปริมาณท่ีเพียงพอและเหมาะสม ทังระดับครัวเรือน และชุมชน 2. การเข้าถงึ อาหาร หมายถึงการเขา้ ถึงอาหารท่มี ีคณุ คา่ ทางโภชนาการ รวมถึงการเขา้ ถึงแหล่ง ทรัพยากรทีน่ ามาซงึ่ อาหารได้ดว้ ย เช่นป่าชุมชน 3. การใช้ประโยชน์จากอาหาร หมายถงึ การใช้ประโยชน์จากอาหารในการบรโิ ภคอย่างถกู ต้อง รวมถงึ การใชอ้ งค์ความรู้ตา่ งๆ เพื่อให้เกดิ ประโยชน์จากกิจกรรมท่เี ก่ยี วข้องกบั การผลติ อาหารทงั หมด เช่น มกี ารใช้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน 4. ความมีเสถยี รภาพดา้ นอาหารหมายถึง ประชาชนหรอื ครวั เรอื นหรือบุคคลต้องเข้าถึงอาหาร อยา่ งเพยี งพอตลอดเวลา ไม่มคี วามเสยี่ งในการเข้าถงึ อาหารเมอื่ เกิดความขาดแคลนขนึ มาอย่างกระทนั หัน ยกตวั อยา่ งเช่นเมือ่ เกิดวิกฤตการณจ์ ากโควดิ -19 แล้วยังสามารถมอี าหารได้อยา่ งเพียงพอไม่ขาดแคลน ซงึ่ ถ้าสามารถสรา้ งองคป์ ระกอบให้ครบไดท้ ั้ง 4 ดา้ น ก็จะทาใหเ้ กิดกลไกในการกากบั ดูแลและ ควบคมุ การสร้างความม่ันคงทางอาหารไดอ้ ยา่ งยั่งยืน กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมให้ประชาชน “นอ้ มนาแนวพระราชดารขิ องสมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สูแ่ ผนปฏิบตั กิ าร 90 วนั ปลกู ผักสวนครัว เพอ่ื สร้างความมน่ั คงทางอาหาร” เพ่ือสร้างความม่ันคงทางอาหารในระดบั ครัวเรือน ลดรายจ่าย สรา้ ง รายไดร้ ะยะสนั ทังในระดบั ครวั เรอื น และระดบั กลมุ่ อาชีพ 1.1 มีกำรปลกู พืชผกั สวนครวั บริเวณบ้ำนพกั /พื้นทอ่ี นื่ ๆ อยำ่ งน้อย 10 ชนดิ ดว้ ยกรมการพัฒนาชมุ ชน ไดน้ ้อมนาแนวพระราชดารขิ องสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรม สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สแู่ ผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลกู ผักสวนครัวเพื่อสร้าง ความม่ันคงทางอาหาร” ประกาศเป็นปฏบิ ัตกิ าร Quick Win 90 วนั ในช่วงวกิ ฤตการณ์การแพร่ระบาด ของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รบั ความรว่ มมอื ในการเขา้ ร่วมปฏบิ ัตกิ ารครังนีแสดงใหเ้ ห็นว่า ประชาชนที่รว่ มปลูกผักสวนครวั ได้รบั ประโยชนอ์ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม ทาให้มีผกั กินเองในบ้าน โดยท่ีไม่ต้อง ซอื หาจากขา้ งนอก “ปลูกผักที่กนิ กนิ ผกั ท่ีปลูก” ประหยัดรายจ่าย เท่ากบั เพ่ิมรายได้ หากมมี ากกแ็ บ่งปนั กันระหวา่ งเพ่ือนบา้ น ระหว่างคนในชุมชน และเมื่อเปน็ ผกั ท่ปี ลูกเองเราจะระมดั ระวงั เร่ืองสารเคมีต่างๆได้ กลายเป็นพืชผักปลอดภัย ทีเ่ สรมิ สรา้ งสุขภาพร่างกายใหแ้ ขง็ แรง ทังนียังสง่ เสรมิ การปลูกพืชผักท่ีปลกู อยู่ แล้วให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และปลูกพชื ผักเพ่ิมเติมจากเดิม รวม 10 ชนิด “ทาเป็นบ้านสานเป็นกล่มุ ” ส่งเสริมการปลูกผักสวนครวั แบบเขา้ ถึงทุกครัวเรือน และสร้างเครือข่ายขยายผล ซง่ึ เป็นแนวทางขับ เคลือ่ นท่ีเขม้ แข็งและประสบผลสาเรจ็ จนทา้ ยที่สุดทกุ ครัวเรอื นในประเทศไทยได้รบั ประโยชน์และเช่ือว่า ครวั เรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
8 จะเป็นทางรอดที่ยงั่ ยืน ตลอดถงึ มีกจิ กรรมสร้างความรัก ความสามัคคี ความอบอุ่นภายในครอบครวั ได้ อยา่ งยั่งยืน จากพลังของประชาชนสะท้อนออกมาเป็นตัวเลขความสาเร็จของกรม กรมจึงได้ ตังเปา้ หมายเอาไวท้ ีร่ ้อยละ 90 ของครัวเรือนในหมู่บา้ นปลกู พืชผกั สวนครัวอย่างน้อยคนละ 10 ชนดิ มี กลุม่ ผลติ หรือแปรรูปหรือจาหน่ายพชื ผกั อย่างนอ้ ยตาบลละ 1 กลุ่ม รวมไปถึงร้อยละ 90 ของครัวเรอื นท่ี ปลูกพืชผักทาถังขยะเปยี กลดโลกร้อน มีกจิ กรรมเชิงนวัตกรรมและศนู ยข์ ยายเมล็ดพันธุ์ทุกตาบล การ ขับเคล่ือนครังนีมุ่งหวังให้เกิดความม่นั คงทางอาหารอยา่ งแท้จริงในทุกชุมชนทั่วประเทศ ทาให้พ่ีน้อง ประชาชนมีพืชผกั ปลอดภัยไวก้ ินเอง และแบง่ ปัน รวมถงึ ขยายผลตอ่ ยอดสร้างรายได้ และสิ่งสาคัญคือเพ่ือ ตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ยุติความหิวโหย บรรลุความม่ันคงทางอาหาร ยกระดับ โภชนาการ ส่งเสรมิ การเกษตรกรรมทย่ี งั่ ยืน ขององค์การสหประชาชาติ และสร้างความม่นั คงทางอาหาร ซง่ึ เชื่อม่นั ว่าจะเกดิ ขนึ ไดอ้ ย่างแน่นอนในประเทศไทยของเรา ครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
9 สมาชกิ ในครวั เรอื น ร่วมกนั ปลูกผกั สวนครวั มากกว่า 10 ชนดิ ในบรเิ วณบ้านพักอาศัย เพ่ือไดก้ ิ น เอง และแบง่ ปัน พร้อมกบั ขยายผลตอ่ ยอดสรา้ งรายได้ในชว่ งวิกฤตหนัก โควดิ 19 ประหยัดรายจา่ ย เป็น การเพ่ิมรายได้ ลดรายจ่ายภายในเรือน ไดแ้ ก่ ผักบุ้ง ขงิ ข่า มะนาว ผกั ชี ผักกาดขาว พริก มะกรดู ตะไคร้ มะละกอ มะเขอื เทศ ฝกั เขยี ว มะเขอื เปราะ ใบเหลียง มะเขือพวง ใบชะพลู พริกไทย โหระพา 1.2 กำรเกบ็ เมลด็ พันธุ์เพ่ือขยำยผล “เมลด็ พันธุ์คอื อาหาร อาหารคือชีวติ ไม่มีอาหารก็ไม่มีชีวิต เมลด็ พันธ์ุจึงเปน็ ส่วนหนึ่งของชวี ิต อย่างแยกกันไม่ได้ หากเมล็ดพนั ธ์ุหายไป ชีวติ เรากจ็ ะแย่ลง” แนวทางการพัฒนาเมลด็ พนั ธุท์ ่ีเราสามารถทาได้เอง ดว้ ยการศึกษาเรยี นรแู้ ละพัฒนาดว้ ยตนเอง โดยผลของการพัฒนาดว้ ยวิธีการทไี่ มพ่ ่ึงพาการดัดแปลงพันธกุ รรม คือความหลากหลายของสายพันธ์ุ เน่อื งจากแต่ละคนพฒั นาเมล็ดพันธุอ์ อกมาไดแ้ ตกต่างกัน และปัจจุบันเมลด็ พันธม์ุ ีราคาสูงมาก การมเี มล็ด พนั ธุจ์ งึ ชว่ ยลดต้นทนุ ได้มหาศาล “พืชแตล่ ะพนั ธ์ุจะมีการทนทานโรคระบาด ฝนแลง้ สภาพอากาศอ่ืนๆ ท่ี แตกต่างกนั ออกไป หากเนน้ พฒั นาเพยี งแคส่ ายพันธ์ุเดยี ว เมื่อเผชญิ กับวิกฤตอะไรสักอยา่ ง ก็จะจบ ความ มัน่ คงก็จะลดน้อยลง การหายไปของเมล็ดพันธุ์นนั เช่ือมโยงกับสุขภาพ เศรษฐกิจ และความม่ันคงทาง อาหาร ครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
10 “เมล็ดพนั ธุ์” นับเป็นปัจจยั สาคญั ในการเพาะปลูก ซึง่ เมลด็ พันธเ์ุ พียง 1 เมลด็ สามารถเจรญิ เติบโต ให้ผลผลิต พร้อมทังขยายพันธุ์ต่อไปได้อยา่ งไม่รู้จบ แต่ทว่าในการผลิตหรอื เก็บเมล็ดพันธเุ์ กษตรกร ส่วนมากกลับมองเป็นเรือ่ งยากและหลายคนก็ยงั ไม่เขา้ ใจ ทาให้การใช้เมลด็ พันธุ์เพื่อเพาะปลูกครังต่อ ๆ ไปจาเป็นต้องซือใหม่อยู่เสมอ ซึ่งก็เทา่ กับทิงโอกาสในการลดต้นทุนลงไป แมเ้ ป็นต้นทุนท่ีไม่สงู มากก็ตาม แต่ทสี่ าคัญพืชผักหลากหลายชนดิ หาเมล็ดพันธุ์ได้ยากและบางชนดิ ก็ไม่มีจาหน่าย โดยเฉพาะพืชพันธ์ุ พืนเมือง ดังนันหากเกษตรกรไมร่ ูจ้ ักผลิตและเกบ็ เมลด็ พันธุ์ไวเ้ อง กท็ าให้การผลิตพืชผักชนิดนนั ๆ ขาด ตอนไปได้ จะเหน็ ได้ว่าการเกบ็ เมล็ดพันธุ์มาปลูกในรุ่นต่อ ๆ ไป ไม่ใช่เร่อื งยากเลย เกษตรกรทป่ี ลกู พืชผัก อยู่แล้วสามารถทาได้ หากแต่ต้องศึกษาเพ่ิมเติมเลก็ น้อยเกี่ยวกับธรรมชาติของพชื ชนิดนัน ๆ ว่าเร่ิมออก ดอกและตดิ เมล็ดเม่ือไร เพราะพชื แตล่ ะชนดิ ใช้เวลาติดดอกช้าเร็วแตกต่างกัน และหลายชนิดเกษตรกรใช้ ประโยชน์ตงั แต่ต้นอ่อนโดยไม่ใหโ้ อกาสติดดอกออกเมล็ด ซึ่งตอ้ งศึกษาเรื่องเหล่านีเพิ่มเติม ท่ีสาคัญ ตอ้ งทาความเข้าใจกับสายพันธ์พุ ืชทีเ่ ป็นพันธแ์ุ ทแ้ ละพนั ธ์ุลูกผสมด้วย พืชทเ่ี ป็นพนั ธุ์แทส้ ามารถเก็บเมล็ด พันธุ์ปลกู ต่อไดเ้ รื่อย ๆ ขณะที่หากเปน็ พืชลูกผสม เมล็ดพันธทุ์ ่ีนาไปปลูกตอ่ จะให้ผลผลิตได้ไมด่ เี ท่าเดิม หากเกษตรกรเขา้ ใจเร่ืองเหล่านกี ส็ ามารถผลิตหรอื เกบ็ เมล็ดพันธ์ไุ วใ้ ชไ้ ด้ ช่วงวิกฤต COVID-19 นี สงิ่ หนึ่งทช่ี ดั เจนขึนคอื ความสาคัญของความมั่นคงทางอาหารและเมล็ด พนั ธ์ุ หลายคนเร่ิมหนั มาเป็นมอื ปลกู และแบ่งปันเมล็ดพันธุแ์ ละผลผลิตใหก้ ันและกนั ความหลากหลาย ทางพชื พรรณธัญญาหารเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย และการเกบ็ เมลด็ พนั ธเ์ุ พ่ือปลูกต่อและสง่ ต่อกัน เช่นนีเปน็ วถิ ีชวี ิตของเกษตรกรไทยมาช้านาน เมล็ดพันธุ์สัมพันธก์ ับชวี ิตของคนมาตงั แตอ่ ดีตกาล ตังแต่ การปลูก กนิ เก็บ และแลกเปลย่ี น เมล็ดพนั ธุ์เป็นทรัพย์สนิ ของทุกชีวิตบนโลก หรือเปน็ ภูมิปัญญาในการ คัดเลอื กสืบทอดกนั มาของบรรพบรุ ษุ ของเรา ผลไม้ของมะม่วงต้นไหนหวานอรอ่ ย กเ็ กบ็ เมล็ดมาปลกู ต่อ กระเพราตน้ ไหนหอมอร่อยกเ็ ก็บเมลด็ มาปลูกตอ่ เป็นการคัดเลือกพนั ธุ์ท่แี ข็งแรงทีส่ ุด อรอ่ ยท่ีสดุ กล่ิน หอมท่ีสดุ ต้านทานโรคได้ดที ส่ี ุด ผลผลติ สูง และสง่ ต่อมาเร่อื ย ๆ จนถงึ รนุ่ เรา ครัวเรือนสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
11 กำรเกบ็ รกั ษำเมล็ดพันธ์ุ เมลด็ พันธเุ์ ป็นสิ่งมีชวี ิตท่ีมีวัฎจักรของชีพจรคลา้ ยกับส่ิงมีชวี ิตอน่ื ๆ คือ มีจุดกาเนิด มีการ เจรญิ เติบโต มีความเสื่อมและตายในทสี่ ุด แต่ลักษณะการมีชวี ิตของเมล็ดพนั ธน์ุ นั ต่างกับการมีชีวติ ของคน หรอื สัตว์คือ คนหรือสัตว์เมื่อเกิดการเจบ็ ไข้หรือปว่ ย อาจรักษาให้หายดังเดมิ ไดห้ รือสามารถบารงุ รกั ษา สุขภาพให้ดีขึนได้ แต่ในเมลด็ พันธุน์ ัน หากเกิดการเสื่อมหรอื เสียหายขนึ แมจ้ ดุ ใดจุดหนึ่งก็ไม่อาจจะรักษา ใหค้ งสภาพเดมิ ได้ และในปัจจบุ ันก็ยังไม่มีวธิ ใี ดทีจ่ ะบารงุ รักษาคุณภาพด้านสรีระของเมลด็ ให้ดขี ึนได้ เมลด็ นนั เมื่อถึงจุดท่ีเจริญเติบโตเตม็ ท่แี ล้วก็จะเรม่ิ เข้าสูค่ วามเสอ่ื มและตายไปในทส่ี ดุ อัตราการเสอ่ื มคณุ ภาพจะ เรว็ หรอื ช้าขึนอยู่กับปัจจยั หลายประการ เช่น สภาพการเก็บเก่ียว การนวด การทาความสะอาดและ สภาพแวดล้อมในการเก็บรกั ษา เป็นต้น ดังนัน หลังจากเมล็ดผา่ นกระบวนการต่างๆ จนพร้อมทจ่ี ะเก็บ รักษาแล้ว ส่ิงเดียวทจ่ี ะทาให้เมล็ดชะลอการเสอ่ื มคุณภาพในช้าท่ีสุดเท่าที่จะทาได้คือ การ ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มการเกบ็ รักษาใหเ้ หมาะกบั สภาพเมล็ดพันธ์ุ ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ กำรเกบ็ รกั ษำเมลด็ พนั ธุ์ เมลด็ พันธุ์ (seed) เปน็ สงิ่ มีชีวิตการเกบ็ รักษาเมล็ดพนั ธุก์ ็คือการดารงไวซ้ ่ึงความมีชีวิต ของเมลด็ ให้ยาวนานออกไป ฉะนัน ในการเกบ็ รกั ษาเมลด็ พันธุ์ จงึ มีปัจจัยตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวข้องหลาย ประการ แต่โดยทัว่ ไปอาจสรปุ ได้ 2 ประการ คอื 1.ปจั จัยภำยใน - ชนิดของเมลด็ พนั ธุ์ (species) เมล็ดแต่ละชนิดมีอายกุ ารเก็บรักษาแตกต่างกันไปตาม พนั ธุกรรม เชน่ ขา้ วเกบ็ ได้นานกวา่ ถ่วั เหลือง - โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบทางเคมขี องเมล็ดพนั ธ์ุ เช่น เมลด็ ทีม่ ีองคป์ ระกอบของแปง้ จะ เก็บไว้ได้นานกว่าเมลด็ ท่ีมีองค์ประกอบของไขมัน 2.ปจั จัยภำยนอก - อุณหภมู คิ วามชืนสัมพัทธ์ของสภาพการเก็บและความชนื ของเมลด็ เมล็ดจะเก็บรักษาไว้ ได้อย่างปลอดภัยจะต้องมีความชนื ต่า เมลด็ ทีม่ ีความชืนสูงจะมขี บวนการเมตาโบลิซึมสูง นอกจากนโี รค และแมลงจะเข้าทาลายได้งา่ ย ทาให้เสื่อมสภาพเรว็ เก็บไว้ไม่ได้นานและเน่ืองจากเมล็ดเป็นสิ่งท่ีมี คุณสมบัติที่เรยี กวา่ “ไฮโกรสโคปกิ ” (hygroscopic) คือ สามารถรับหรือถ่ายเทความชืนของตัวเองให้ สมดลุ กับบรรยากาศภายนอก ครวั เรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
12 - การปฏิบัติหลังการเก็บเก่ียว ควรเก็บเก่ียวเมื่อถึงระยะแก่ตวั ทางสรีรวิทยาแล้วเท่านัน และอยา่ ปลอ่ ยให้ไว้ในไรน่ า เพราะจะกระทบกับสภาพความชนื ที่แปรปรวน การนวดและการกะเทาะตอ้ ง กระทาด้วยความระมัดระวังอย่าให้แตกรา้ ว และต้องลดความชืน โดยการตากแดด และควรทาความ สะอาด แล้วบรรจถุ าชนะโดยเร็ว การปฏิบัติหรือการเกบ็ เกี่ยวทถ่ี ูกตอ้ งชว่ ยชะลอการเสอ่ื มคุณภาพของ เมล็ดพันธุท์ ีเ่ กบ็ รักษา ขอ้ ห้ำม 7 ประกำรของกำรเกบ็ รกั ษำเมลด็ พันธุ์ การเก็บรักษาเมลด็ พันธุ์ที่ถูกวิธีนนั คือ การปฏิบัติต่อเมล็ดพนั ธุ์เพอื่ รกั ษาหรอื ชะลอความเส่อื ม คณุ ภาพ ซึ่งคณุ ภาพดงั กลา่ วมหี ลายลกั ษณะ ขอกล่าวถึงขอ้ หา้ ม 7 ประการ ดงั นี 1. อยา่ เก็บเมลด็ พันธท์ุ ค่ี วามชืนสูง เพราะเมล็ดพันธุส์ ามารถดูดความชนื จากอากาศได้ 2. อยา่ เกบ็ เมล็ดพนั ธไุ์ วใ้ กลก้ ับป๋ยุ หรือสารเคมี เพราะจะเกิดอันตรายโดยตรงต่อความงอกของ เมล็ดพันธ์ุ 3. อยา่ เก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใกล้กับแหล่งนา หรือสถานที่ชืนแฉะ เพราะมีความชนื สงู ซ่ึงจะทาให้ เมลด็ พนั ธมุ์ ีอายุสันเพราะดดู ความชนื 4. อยา่ เกบ็ เมล็ดพันธ์ุบนพืนโดยตรง เพราะพืนจะถา่ ยเทความชืนสเู่ มลด็ เพราะกนั ความชนื ไม่ได้ อากาศถ่ายเทไม่ดี เมลด็ จะเนา่ เสยี หายเร็ว 5. อยา่ ใหม้ ีศตั รูโรคแมลงขณะเก็บรกั ษาเพราะจะทาลายเมล็ดโดยตรง 6. อย่าเก็บเมลด็ ทต่ี ายแลว้ เพราะเสียเวลาทุน แรงงาน และสถานที่ 7. อยา่ ละเลยการตรวจสอบเมล็ดพันธ์ขุ ณะเกบ็ รักษาเพราะการตรวจสอบจะทาให้ทราบสภาพ ของคณุ ภาพเมล็ดพันธุ์ เพ่อื การวางแผนการปฏิบตั ิการตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วข้องกบั เมล็ดพนั ธุ์ “พ่งึ ระลกึ เสมอวา่ เมล็ดพันธเุ์ ป็นสงิ่ มชี ีวติ และมีคณุ คา่ การใช้เมลด็ พันธท์ุ ม่ี คี ุณภาพดเี พาะปลูก หมายถงึ ความสาเรจ็ ของเกษตรกรจึงไมค่ วรปล่อยปะละเลย เมล็ดพันธุ์ไม่สามารถมีชีวติ อยู่รอดไดใ้ น สภาพท่ีไมเ่ หมาะสม ดังน้ัน การใหก้ ารดแู ลท่ถี กู ต้องเท่าน้นั จะรักษาคุณภาพเมลด็ พันธ์ไุ ว้ไดน้ าน ครวั เรือนสัมมาชีพต้นแบบ (นางจุฑามาศ คงขวัญ) มีการเพาะกล้าไม้ต่างๆเพื่อขยายพันธุ์ และ จาหน่ายเป็นรายได้เสริมให้แก่ครัวเรอื น ได้แก่ 1. ผักเหลียง 2. มัลเบอรี่ 3.กะเพรา 4. ยางพารา 5. กาแฟอาราบิกา้ 6.มะเขอื เทศ 7. ดาวเรือง 8. มะนาว 9. ตะไคร้ 10. พริก 1.ผักเหลียง (Baegu) จัดเป็นผกั เศรษฐกิจหลักของภาคใต้ นิยมใช้ใบออ่ นประกอบอาหาร อาทิ ผดั ผักเหลียง แกงเหลยี ง ผดั ใส่ไข่ แกงจืด ห่อหมก ลวกจมิ นาพริกหรือรบั ประทานสดคูก่ ับกับขา้ ว ผัก เหลยี งเป็นผกั ท่มี ีคุณค่าทางโภชนาการสูง สมาชิกในครวั เรอื นเล็งเหน็ ถงึ ชอ่ งทางการสร้างรายได้ จงึ มกี าร เพาะกลา้ ผกั เหลยี ง และตดั ยอดผกั เหลียงเพอ่ื จาหนา่ ยเพมิ่ รายได้ใหค้ รวั เรือน ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
13 ครัวเรือนมีการเพาะกล้าตน้ ผกั เหรยี งเพ่ือขยายพนั ธ์ุ แบ่งปนั ใหค้ รวั เรอื นขา้ ง ๆ และจาหน่ายเป็นรายไดเ้ สรมิ ให้แก่ครัวเรือน 2.มัลเบอร่ี (Mulberry) หรือลูกหม่อน เป็นผลไม้รสหวานลูกเล็ก ๆ ทเี่ ป่ียมไปดว้ ยคณุ ค่า ทางสารอาหาร ทงั ยงั เชือ่ กันวา่ มีคณุ ประโยชนต์ ่อสุขภาพสารพัดจึงเป็นทนี่ ยิ มในการบรโิ ภคมากขนึ เรอ่ื ย ๆ ครัวเรือนจงึ คดิ ขยายพันธ์ุเพ่อื จาหน่าย เปน็ หนทางเพ่ิมรายได้ ครวั เรือนสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
14 3. กะเพรำ กะเพรามีอยู่ดว้ ยกัน 2 ชนิด คือ กะเพราแดงและกะเพราขาว โดยกะเพรา แดงจะมีฤทธท์ิ ี่แรงกว่ากะเพราขาว ในสรรพคุณทางยาจึงนยิ มใช้กะเพราแดง โดยส่วนท่ีนามาใช้ทาเป็นยา สมุนไพรก็ไดแ้ ก่ ส่วนของใบ ยอดกะเพรา (ทังสดและแหง้ ) และทังต้น แต่ถ้านามาใชป้ ระกอบอาหารจะ นิยมใช้กะเพราขาวเป็นหลัก 4. ยำงพำรำ สวนยางของประเทศไทยท่ีปลกู อยใู่ นปัจจุบันนี สว่ นใหญ่เป็นสวนยางพันธุ์ เลว เพราะใชเ้ มลด็ ที่เกบ็ จากโคนตน้ ทาพันธุป์ ลูกต่อๆ กันมาเป็นเวลาหลายสิบปี แม้จะกระท่ังปจั จุบันนี ก็ยังมีเจ้าของสวนยางอีกจานวนมากยังปลูกด้วยเมล็ด หรือต้นกลา้ ท่ีเกบ็ มาจากใต้ตน้ ยาง ต้นยางพนั ธุเ์ ลว ใหผ้ ลน้อยกว่าหลายเท่าถ้าเทยี บกบั ต้นยางพันธ์ุดี ฉะนัน ในการปลูกสร้างสวนยางพารา จะตอ้ งปลูกดว้ ย ยางพนั ธ์ุทีด่ ี ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
15 5. กำแฟอรำบกิ ำ้ Arabica ลกั ษณะของเมล็ดจะเป็นเมล็ดทคี่ อ่ นขา้ งเรียวและส่วนผา่ ตรง กลางนนั จะเปน็ เหมอื นรปู ตวั S ในภาษาองั กฤษ พืนที่ท่ีใชป้ ลูกอราบิก้าให้ได้ผลผลิตทีด่ ีมีคุณภาพควรจะ เปน็ ท่สี ูง อากาศเยน็ เพราะสายพนั ธน์ุ ีเขาชอบและจะเจรญิ เตบิ โตไดด้ ี และด้วยเอกลักษณ์ของกลิน่ ท่หี อม อย่างพอดี พร้อมกับรสชาติที่ออกไปทางกลมกล่อมน่มุ นวล อกี ทงั ยังมปี รมิ าณของคาเฟอนี ท่ีต่ามากไม่ถึง 2% นีเ่ อง ทสี่ ง่ ผลใหส้ ายพันธุ์กาแฟอราบกิ ้าเปน็ ทน่ี ยิ มและขายไดม้ ากทีส่ ุดในโลก เฉลยี่ ถึง 80% กันเลย ทีเดียว 6. มะเขอื เทศ ประโยชน์ของมะเขือเทศยังมอี ยมู่ ากมาย อุดมไปด้วยวติ ามนิ และแร่ธาตหุ ลายชนิด ท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามิเอ วิตามินเค วติ ามินพี วิตามินบี 1 วติ ามินบี 2 ธาตุ แคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส และธาตุเหลก็ โดยมะเขอื เทศขนาดปานกลางนันจะมปี ริมาณของวติ ามินซี ครงึ่ หน่ึงของส้มโอทง้ั ลกู และมะเขอื เทศหนึง่ ผลมปี รมิ าณวิตามินเอทร่ี า่ งกายต้องการจานวน 1 ใน 3 ของ วิตามนิ เอท่ีรา่ งกายต้องการตอ่ วัน และมะเขอื เทศยงั จดั วา่ เป็นผลไมท้ ่ีมีสรรพคณุ เป็นยารกั ษาโรคได้อกี ดว้ ย เชน่ ช่วยป้องกันการแข็งตัวของหลอดเลอื ด ขับปัสสาวะ รกั ษาความดัน ครวั เรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
16 7.ดำวเรือง ดอกไม้ท่ีมีกลีบดอกสเี หลอื งทองอรา่ มซอ้ นตวั อดั แน่นอยดู่ ้วยกันเป็นชันความ เหลอื งทองอร่ามของดอกดาวเรอื งทาให้เป็นที่นิยมกันในเทศกาล หรือพิธมี งคลทางศาสนาของไทย ไมว่ ่า จะใช้ร้อยพวงมาลัยสาหรบั ถวายพระ หรือสิ่งศักดิ์สทิ ธ์ิตามความเช่ือของตน บ้างก็ปลูกไวเ้ ป็นดอกไม้ ประดับสวนในบ้าน 8.มะนำว (Lime) หน่ึงในผลไมต้ ระกลู ส้ม นามาปรงุ อาหารเพ่ิมรสเปรียวแล้ว ยังมีการใช้ ผล เปลือก นา และนามันจากมะนาวเพอ่ื ประโยชน์ในการรักษาโรคนานาชนดิ เช่น บรรเทาอาการคลนื่ ไส้ รกั ษาสวิ ป้องกันน่วิ ในไต โรคหวดั ครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
17 9. ตะไคร้ Lemon Grass ประโยชน์ของตะไคร้ ใช้เป็นวตั ถดุ ิบประกอบอาหาร เพราะมี เกลือแรจ่ าเป็นหลายชนิด ไดแ้ ก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และวิตามิน นาตะไครม้ าสกัดกลั่นกล่นิ ใช้ เป็นนามันหอมระเหย รวมถึงตะไคร้หอมมคี ุณสมบตั ิกันยุงได้ด้วย สรรพคุณทางยาของตะไคร้ ช่วยแก้ อาการตา่ งๆมากมาย ทังใบ และลาต้น 10.พริกขหี้ นู ถอื เป็นอกี หน่งึ พืชผกั สวนครบั ทีท่ กุ ครอบครวั ต้องมไี วใ้ ช้ในครัวเรือน พริก ขหี นูสามารถปลูกไดด้ ใี นดินแทบทุกชนดิ แต่ดนิ ทีเ่ หมาะสมทส่ี ุดคือ ดนิ รว่ นปนทราย ท่มี กี ารระบายนาได้ ดี ปลูกไดต้ ลอดปี แต่หากบริเวณบา้ นไมม่ พี ืนท่ี สามารถปลกู ในกระถางหรอื ภาชนะอื่นได้เช่นกนั ครวั เรอื นสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
18 1.3 มกี ำรแปรรปู อำหำร ทา่ มกลางวกิ ฤตโรคระบาดโควิด-19 ประเทศไทยเองกไ็ ด้รับผลกระทบไปไม่น้อย เพราะจานวน ผปู้ ่วยเพมิ่ ขนึ เรอื่ ย ๆ โรคระบาดครงั นีทาให้ประชาชนตืน่ ตัวและอยูใ่ นบ้านเพิ่มมากขึน เพอ่ื ลดความเสยี่ ง ของการติดเชือโควิด-19 บางองค์กรก็ให้พนักงานทางานที่บ้าน และบางท่านกลับจากตา่ งประเทศกลุ่ม เสย่ี ง หรือ อยู่ในกล่มุ เสีย่ งที่ใกล้ชดิ กบั ผูป้ ่วยโรคโควิด-19 จะตอ้ งทาการกักตัวอยบู่ ้าน 14 วัน ดังนนั ทา ให้ประชาชนตา่ งพากันซือของและตุนอาหารในช่วง 14 วันนี การเก็บตุนอาหาร ไมว่ ่าจะเป็นอาหารสด หรือ อาหารแห้ง เรำควรจะรู้วธิ ีเก็บและควรจะรู้ว่ำ อำหำรแต่ละชนิดมีระยะเวลำในกำรเก็บเท่ำไหร่? ทังนีอาหารแห้ง ควรเก็บให้มิดชิด ระวังมด หนู แมลงสาบ สว่ นพวกเครื่องปรงุ รสต่าง ๆ ควรซอื แตพ่ อดี หากใชไ้ ม่ทนั เก็บไว้นานสีและรสชาติกจ็ ะเปลย่ี น อาหารสด หากเก็บในอณุ หภูมิและระยะเวลาที่ไม่ถูกต้อง อาหารก็จะเสยี และเปน็ อันตรายต่อสุขภาพ อาหารสดท่ีแช่แข็งนนั เม่ือนาออกมาใช้ ควรใช้ทีเดียวใหห้ มด ไมค่ วรนาส่วนท่ีเหลือกลบั เข้าชอ่ งแข็งซา สว่ นผกั บางชนิดลวกแล้วเก็บเข้าช่องแข็งไว้ได้ ผักเนือบางให้ห่อกระดาษโดยไม่ต้องล้าง แล้วห่อด้วย พลาสตกิ อกี ชนั แลว้ นาเข้าตเู้ ยน็ การถนอมหรือการแปรรูป จึงเป็นสิ่งที่สามารถยืดระยะเวลาของอาหารได้นานย่ิงขึน การถนอม อาหารหรือการแปรรปู อาหารเองก็มีหลากหลายวิธี ดงั นี กำรเก็บในสภำพสด ประเภทผัก ถ้ารวู้ ธิ เี ก็บ จะสามารถเก็บไวไ้ ด้นาน เช่น หอม กระเทยี ม ควรแขวนไว้ในทที่ ี่มอี ากาศ ถ่ายเทสะดวก ฟกั เขียว ฟกั ทอง เกบ็ ในที่ร่มและอากาศถ่ายเท มะนาวสด ใชว้ ิธีฝังทรายทพ่ี รมนาเล็กน้อย จะปอ้ งกันไม่ให้ผิวของเปลอื กมะนาวสมั ผัสอากาศ เปน็ การปอ้ งกันการเหี่ยว ทาให้สามารถเก็บมะนาวได้ เปน็ เวลาหลายเดือน กำรทำให้แหง้ การตากแดดและการผ่ึงลม สามารถนาผัก ผลไม้ และเนอื สตั ว์ มาตากให้แห้ง เพื่อปอ้ งกันการเนา่ เสียและสามารถยดื อายุอาหารได้ เช่น ปลาตากแห้ง หมึกตากแห้ง กุ้งแห้ง เนือแดดเดียว หมูแดดเดยี ว ผลไมต้ ากแหง้ ต่าง ๆ กำรรมควัน การรมควัน มักจะนยิ มทากบั ปลา ปลารมควันถา้ เก็บโดยแขวนผงึ่ ลมและมีอากาศถ่ายเท จะ สามารถเกบ็ ไวไ้ ดป้ ระมาณ 2-3 เดอื น ปลาทน่ี ยิ มนามาทาปลารมควัน ได้แก่ ปลาเนือออ่ น ปลาชอ่ น ปลากดทะเล ฯลฯ ครวั เรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
19 กำรแชอ่ ม่ิ การแช่อมิ่ สามารถใช้ผกั และผลไมบ้ างชนิด โดยแช่ในเชอื่ ม นาตาลจะชว่ ยดึงนาออกจากผักและ ผลไม้ ทาใหผ้ ักหรือผลไม้นนั มีรสหวานขึน ผลไมแ้ ละผกั ท่นี าไปแชอ่ ่ิม เช่น มะม่วงแช่อมิ่ มะละกอแชอ่ ่มิ ฟักแช่อิม่ เปลือกส้มแช่อิ่ม ฯลฯ กำรทอดหรอื กำรคั่ว การทอด กเ็ ป็นอีกวธิ ีทส่ี ามารถยืดอายุของอาหารไดเ้ ช่นกนั ไม่วา่ จะเป็นเนือสตั วห์ รือผลไม้ เชน่ แคปหมู หนังหมทู อด กล้วยฉาบ เผอื กฉาบ ถวั่ ทอด พริกทอด เปน็ ต้น การคว่ั ก็ถือเป็นวิธที ที่ าให้ผลการเกษตรสกุ ได้โดยการตังกระทะไฟใหร้ อ้ นแล้วกลับไปกลบั มาใน กระทะ มักจะควั่ เป็นถ่ัวลิสง เกาลัด เป็นตน้ กำรหมักเกลอื การหมักเกลอื มักจะใช้กับจาพวกเนอื สัตว์ เพ่ือไม่ให้เกิดการเน่าเสยี และยดื อายุของอาหารไดน้ าน ขนึ โดยการคลุกเนอื สตั วก์ บั เกลอื แลว้ นาไปตากแดด 1-2 วัน สามารถนาไปทอดหรือปง้ิ กอ่ นรบั ประทาน ได้ สว่ นใหญ่จะเป็น เนอื หมักเกลือ หมูหมกั เกลอื เป็นตน้ กำรหมกั ดอง การหมกั เป็นการอาศยั จุลินทรยี ์ ทีม่ ปี ระโยชน์บางชนดิ นามาหมกั และหมกั ทงิ ไว้ ประมาณ 2-3 วนั หรือหลายเดอื น แลว้ ชนิดของอาหาร เช่น นาปลา ปลาร้า ไส้กรอกเปรยี ว ข้าวหมาก ฯลฯ การดอง เป็นการถนอมอาหารในนาเกลอื และเตมิ เคร่อื งเทศอ่ืน ๆ เขา้ ไป สว่ นใหญ่จะดองเป็นพวก ผกั และผลไม้ ไมว่ า่ จะเปน็ ผักกาดดอง หน่อไมด้ อง แตงกวาดอง กระเทียมดอง ขิงดอง มะมว่ งดอง เปน็ ตน้ ควำมสำคญั อีกอยำ่ ง คอื การปรงุ อาหารใหส้ กุ ล้างมอื ทกุ ครังที่ทาอาหารและลา้ งมือทุกครงั กอ่ น และหลงั ประทานอาหาร ถงึ แม้จะอย่ใู นบ้านเรากค็ วรรักษาความสะอาด เพ่อื หลกี เลยี่ งเชือโรคและดูแล รักษาสขุ ภาพใหร้ า่ งกายแขง็ แรงอย่เู สมอ ครัวเรือนนางจฑุ ามาศ คงขวญั เป็นครวั เรอื นประกอบอาชีพทาสวนกาแฟ จาหนา่ ยทงั ชาดอก กาแฟ เมล็ดกาแฟสด และผงกาแฟสดแบบสาเร็จรูป การแปรรูปส่วนใหญ่ครวั เรอื นจะเลอื กใช้วธิ กี าร อบแห้งและการค่ัว เพือ่ เกบ็ รกั ษากาแฟโดยยดื ระยะเวลาใหอ้ ยูไ่ ดน้ าน ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
20 ดอกกาแฟ อาจจะเคยเป็นดอกไมเ้ ล็กๆ ท่ีสง่ กล่นิ หอมฟงุ้ ไปทั่วบรเิ วณสวนกาแฟ และถกู มองผ่าน ไปอยา่ งไม่มคี ่าอะไร ครัวเรอื นได้นาไปสกู่ ารแปรรูปเพมิ่ มูลค่าใหก้ ับกล่มุ กาแฟ จงึ ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ใหม่ที่เรียก กันว่า “ชำดอกกำแฟ” ครัวเรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
21 พฒั นาการอาเภอศรีสาคร หน่วยเฉพาะกจิ กรมทหารพรานท่ี 4912 ผอ.กศน.อาเภอศรีสาคร เกษตรอาเภอศรีสาคร ผู้แทนวทิ ยาลัยการอาชีพ ตวั แทนผู้ปกครองนิคมสรา้ งตนเองกาหลง หัวหนา้ ส่วนราชการตรวจเยีย่ มตดิ ตามผลผลิต ของครัวเรือนสัมมาชพี ตน้ แบบ (นางจฑุ ามาศ คงขวัญ) ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
22 ครวั เรอื นสมั มาชพี เกบ็ เมลด็ กาแฟทีถ่ ึงกาหนดระยะเวลาสกุ นามาตากแหง้ คั่ว พร้อมบดจาหน่ายเปน็ กาแฟสด เพอ่ื สร้างรายไดใ้ ห้แกค่ รัวเรอื น ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
23 ครวั เรอื นสมั มาชพี ซึง่ เปน็ สมาชิกของกลุ่มเครื่องแกงในหมูบ่ ้าน มกี ารปลูกตะไคร้แซมระหวา่ งตน้ ยางพารา เพือ่ สง่ เปน็ วตั ถุดิบใหแ้ ก่กลุ่มเคร่ืองแกงในหมู่บ้านประชานิมติ ร ไดน้ ามาแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑ์ชุมชน ครวั เรอื นมกี ารแปรรปู ไขเ่ ค็มเอง เน่ืองจากในชุมชนมีการเลยี งเป็ด เลียงไก่ จึงมีปริมาณไขเ่ ป็ด และไขไ่ ก่จานวนมาก จึงคิดที่จะแปรรูปเพ่ือถนอมไข่ใหส้ ามารถเกบ็ ไว้นานๆได้ โดยเรมิ่ ทาจากครวั เรอื น ตนเองก่อน แลว้ จึงขยายผลไปยังครวั เรอื นอ่ืนๆในชมุ ชนเดียวกัน ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
24 สมาชกิ ในครัวเรือน ช่วยกันทาสะตอดองไวร้ บั ประทาน เมอ่ื ถงึ ฤดูกาลของสะตอ ทาให้ผลผลิตมีจานวน มาก ราคาจึงตกต่า ครัวเรือนคดิ หาวธิ ีแปรรปู เพ่อื เพิม่ มลู คา่ เพม่ิ รายไดใ้ หค้ รัวเรือน และไว้รับประทานในครัวเรอื นเอง ครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
25 2. สรำ้ งส่ิงแวดล้อมให้ย่งั ยนื 2.1 มกี ำรคดั แยกขยะ กำรคัดแยกขยะ เป็นวิธีการหนึ่งในกระบวนการลดปริมาณขยะมูลฝอย ซ่ึงเป็นตัวการของปัญหามลพิษของ สงิ่ แวดล้อมในปจั จุบนั ขยะมูลฝอยทีเ่ กดิ จากการละเลยการคัดแยกขยะในชวี ิตประจาวันของเรา เป็นหว่ ง โซห่ นึ่งทนี่ าพาให้คุณภาพของสิง่ แวดล้อม สขุ ภาพรา่ งกายและชีวติ โดยรวมแย่ลง ส่งเสริมใหป้ ระชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างจรงิ จังดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เช่น ใหป้ ระชาชนเข้ามาส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนทิง เช่น ขยะเปียกนาไปใหเ้ ป็นอาหารสตั ว์ หรือการ ทาปยุ๋ หมัก ขวดพลาสตกิ เก็บไว้รไี ซต์เคิล ขวดแก้วกแ็ ยกถงุ ไวต้ ่างหาก ประชาชนยอมรบั วิธีการคัดแยก และยอมปฏิบัติตามด้วยความรสู้ ึกดใี จและภาคภมู ิใจท่ีได้ทาหนา้ ที่เป็นพลเมอื งดมี คี วามรับผิดชอบตอ่ การ รกั ษาความสะอาดของบ้านเรอื นและชุมชนของตนเอง ตลอดจน จะต้องทาให้ประชาชนเข้าใจว่าการ จดั การขยะมูลฝอยไม่ใชห่ นา้ ทีข่ องหนว่ ยงานภาครัฐเพียงฝ่ายเดียว แต่เป็นหน้าที่ของทุกคนในสังคมที่จะต้อง รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบกบั ปญั หา ผลกระทบจำกขยะมูลฝอยท่ีไม่ถกู คดั แยกขยะ ผลกระทบจากขยะมูลฝอยท่ีไม่ถูกคัดแยกขยะ ส่งผลเปน็ วงกว้าง ทังผลกระทบต่อดนิ นา อากาศ สุขภาพของคนในพนื ทีน่ ัน และส่งผลตอ่ สิ่งแวดล้อมระดับโลก ทงั ภาวะโลกรอ้ น สัตว์ และพืชทยอยสูญ พันธุ์ ประโยชน์ของกำรคดั แยกขยะ การคดั แยกขยะ เป็นประโยชนแ์ ละถือเปน็ หวั ใจหลักในการลดปริมาณขยะ เพราะการคัดแยกขยะ ทาให้ขยะถูกสง่ ต่อไปในกระบวนการทถ่ี กู ต้องได้งา่ ยขึน เชน่ นาไปเผา นาไปรีไซเคิล นาไปยอ่ ยสลาย ฯลฯ แตถ่ ้าหากเราไม่คดั แยกขยะ จะทาให้ขยะแยกออกจากกนั ยาก กลายเป็นกองขยะขนาดใหญท่ ่ีเป็นมลพิษ ต่อส่ิงแวดล้อม การคัดแยกขยะทาได้ง่าย ๆ โดยเริ่มต้นท่ีการรู้จักประเภท ของขยะกันก่อน ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
26 ปัญหาเรอื่ งการจัดการขยะและเศรษฐกจิ มาอย่างต่อเนอื่ งยาวนาน แถมยังมีแนวโน้มของปญั หา เพมิ่ สูงขนึ เรื่อย ๆ ในทุก ๆ วนั ทาให้หน่วยงานตา่ ง ๆ ตอ้ งเรง่ หาทางแก้ไข ซ่ึง “ธนำคำรขยะ” กถ็ ือเป็น อีกหน่ึงทางออกที่มีการส่งเสริมให้นามาปรับใช้ เพื่อทาให้ประชาชนคัดแยกขยะกันมากขึน ใน ขณะเดียวกนั ก็ชว่ ยหารายได้เสริม และฝกึ นสิ ยั การออมไปในตัว จากการสารวจข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ พบว่าได้รับการกาจัดอย่างไม่ถกู ต้อง ซึง่ กลายเป็น ตน้ เหตุทีส่ รา้ งปัญหาใหก้ ับชมุ ชนและสิง่ แวดล้อมอยา่ งมาก ไม่วา่ จะทาให้เกิดควันหรือมลพิษทางอากาศ จากการเผาขยะกลางแจ้ง มนี าเสยี หรอื มลพษิ ทางนาจากการทีข่ ยะตกคา้ งไหลลงสแู่ มน่ า ทาให้บรรยากาศ ไมน่ ่าอยู่เน่อื งจากมขี ยะเกลือ่ นพืนและส่งกล่นิ เหม็น หรือแมก้ ระท่ังเป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์พาหะนาโรค เช่น หนู แมลงวนั และแมลงสาบ ฉะนันหน่วยงานต่าง ๆ จงึ ได้จัดตังกิจกรรมหรือโครงการที่ช่วยรณรงค์ให้ผคู้ นรจู้ ักคัดแยกขยะ และนาขยะมาใช้ประโยชน์ให้มากท่สี ุดขึน เช่น การจัดหาสถานทีท่ ิงขยะแบบแยกประเภท การรณรงค์ลด ใช้โฟมและพลาสตกิ ศูนย์วัสดุรไี ซเคิลของชุมชน ธนาคารขยะรีไซเคิล ผ้าป่ารีไซเคิล ขยะแลกไข่ และการ ผลิตเชือเพลิงเขียว แนวคิดหลักของการทาธนาคารขยะ ได้แก่ การกระต้นุ ให้คนในชุมชนมีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหา ขยะกันมากขนึ ทงั ยังเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนและคนในชุมชนรูจ้ กั คัดแยกขยะ หารายไดเ้ สรมิ และฝึก นิสัยการออมไปในตวั ที่สาคัญคือเป็นการลดปรมิ าณขยะมูลฝอยชุมชนลงอย่างถกู ต้องและเหมาะสม น่ันเอง ประโยชนข์ องธนำคำรขยะ 1. ชว่ ยกระตุน้ ให้คนในชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการจดั การขยะอยา่ งถกู ต้อง 2. ชว่ ยลดปรมิ าณขยะมูลฝอยในชมุ ชน ส่งผลให้สภาพแวดลอ้ มนา่ อยขู่ นึ และบรรเทาภาระการ จัดการ ขยะลง 3. ช่วยสรา้ งรายได้เสริมพรอ้ มทังฝึกนสิ ัยการออมให้กับคนในชมุ ชน ทาให้ผคู้ นมเี งนิ เก็บ เยาวชนมี เงินใช้ และสามารถแบ่งเบาภาระของพ่อแม่ได้ 4. ช่วยให้คนในชมุ ชนเห็นคณุ ค่าของการคัดแยกและการรไี ซเคิลขยะ พรอ้ มทังปลกู จติ สานกึ เรือ่ ง การลดปรมิ าณขยะและรักษาส่ิงแวดลอ้ มไปในตัว 5. การสง่ เสริมโครงการธนาคารขยะในโรงเรียน ยังช่วยใหเ้ ยาวชนมีการเรียนรู้การทางานเปน็ กล่มุ เข้าใจระบบการทางานของธนาคารหรอื การทาธรุ กจิ ขนาดเล็ก อีกทงั ยงั ฝึกใหค้ ดิ วิเคราะห์ และแก้ไข ปญั หาไปพรอ้ ม ๆ กัน 6. เปน็ แหล่งการเรียนรู้ท่ดี ีให้กบั คนในชมุ ชน รวมถงึ เปน็ ตวั อยา่ งท่ีดใี ห้กบั ชุมชนอ่ืนดว้ ย ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
27 ครัวเรือนสัมมาชีพจึงตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการักษาส่ิงแวดลอ้ มทาให้ สมาชิกใน ครัวเรอื น แห่งบ้านประชานมิ ิตร ท่ีบ้านมีถงั ขยะอยู่ 4 ถงั แบ่งตามประเภทชนดิ ของขยะ เหตนุ ีทกุ คนจึง ยดึ ม่ันต่อหน้าที่ในการจัดการขยะ ชว่ ยกนั รบั ผิดชอบ เพ่ือรักษาสิ่งแวดลอ้ มที่นา่ อยู่ เรมิ่ จากการคดั แยกใน ครวั เรือน เพื่อใหเ้ หลอื ขยะทิงน้อยท่ีสดุ กอ่ นที่ขยะแตล่ ะประเภทจะถูกส่งต่อไปตามเส้นทางสายใหม่ทีไ่ ม่ ก่อใหเ้ กดิ มลภาวะเหมือนเช่นในอดตี ครวั เรอื นสัมมาชพี มีการคดั แยกขยะอย่างเป็นระบบ เช่น การแยกขยะพลาสติก ขยะรไี ซเคลิ และ ขยะทว่ั ไป สาหรับขยะทีเ่ ปน็ พลาสตกิ ทางครัวเรือนสัมมาชพี จะนาไปขายร้านรับซอื ของเก่าทาใหม้ รี ายได้ เสรมิ เพ่ิมขึน และสาหรบั ขยะทั่วไป หรือขยะเปยี กทางครวั เรือนจะนามาทาเป็นปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ครวั เรอื นมกี ารนาเศษอาหารไปหมกั ไวใ้ นถังปุ๋ยก่อน แล้วฝงั ไวใ้ นดิน และจัดการขยะประเภทใบไม้ ใบหญา้ โดยหากเป็น ขยะประเภทเศษอำหำร ใบไม้ ใบหญำ้ จะถกู นามาทงิ ไว้ในหลมุ ทาเป็นป๋ยุ หมกั ตาม ธรรมชาติ สามารถสร้างความชมุ่ ชนื ให้กบั ดนิ จงึ ไมจ่ าเป็นตอ้ งรดนาต้นไมบ้ อ่ ยๆ นาขยะพลาสตกิ กลับมาใชใ้ หม่ได้อยา่ งคุ้มค่า ในส่วน ขยะประเภทรีไซเคลิ อย่างขวดพลาสติก ประเภทต่างๆ นามาขายกบั โครงการธนาคารขยะ และใช้ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ พิ่มมูลคา่ แปรเป็นผลติ ภัณฑ์ ไดแ้ ก่ ตะกร้า พัด หมวก หรือผา้ กันเป้ือน ที่นอกจากจะนามาใช้งานในชีวิตประจาวันได้แล้ว ยังสามารถ จาหน่ายและสร้างรายไดเ้ สริมให้กบั ชาวชุมชนอีกดว้ ย ขยะอันตราย สาหรับประเภท ขยะอนั ตรำย อยา่ ง ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟา้ และกระป๋องสารเคมี ตา่ งๆ ชาวบ้านในชุมชนสามารถเก็บรวบรวมเพือ่ นามาแลกเป็นไข่ไก่กบั ทาง อบต. ทพ่ี ร้อมใหค้ วามร่วมมือ เปน็ อย่างดี ครัวเรือนสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
28 นอกจากเรอื่ งการแยกขยะทงั หมดแลว้ อกี หนง่ึ ส่ิงสาคญั ท่ีครัวเรือนและหมู่บ้านได้ดาเนินการควบคู่ ไปดว้ ยนนั่ คอื การปลูกฝังจติ สานึกแนวคดิ เศรษฐกิจหมนุ เวยี นให้กับเยาวชน และคนในพืนท่อี ย่างเตม็ กาลัง ความสามารถ ไม่วา่ จะเปน็ การสอนใหเ้ ดก็ นกั เรียนคัดแยกกลอ่ งนม หลังจากดมื่ เสร็จแล้ว นามาลา้ งทา ความสะอาดให้เรยี บร้อยกอ่ นทิง หรือการทชี่ าวบ้านนาขยะที่คดั แยกและล้างจนสะอาดมาทาเป็นผ้าปา่ รี ไซเคลิ ให้กบั วดั ในแตล่ ะปี จะเห็นได้วา่ วธิ กี ารคัดแยกขยะในครวั เรือนเป็นเรอื่ งง่ายๆ ที่ใครๆ ก็ทาได้ เพยี งแค่มคี วามตงั ใจ มองเหน็ มลู ค่าจากสง่ิ ของรอบตวั พร้อมกับความมุ่งมนั่ ได้รับความร่วมมอื จากทุกคนในชมุ ชนและทุกฝา่ ย ทเี่ กี่ยวข้องเพยี งเทา่ นนั นอกจากจะชว่ ยลดปริมาณขยะและชว่ ยจดั การขยะอย่างถกู ตอ้ งแลว้ ธนาคารขยะยงั เปน็ โครงการที่ช่วยปลกู ฝงั นิสยั การออม ปลกู จิตสานกึ รักษโ์ ลก ช่วยสรา้ งรายไดเ้ สริมให้กบั ครอบครัว และ ชว่ ยเพิม่ มูลคา่ ใหก้ บั ของเหลอื ใชไ้ ดด้ ว้ ย ฉะนน้ั ต่อไปนีแ้ ทนทจี่ ะทิ้งขยะรวมกันจนทาใหเ้ กิดปัญหา ตามมา มาคดั แยกขยะและนาไปขายให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ กัน ครัวเรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
29 2.2 ทำปยุ๋ ชวี ภำพ ปยุ๋ หมัก ปยุ๋ นำ้ ฯลฯ สมาชิกในครัวเรือนช่วยกันทาปุ๋ย เพื่อแบ่งปันให้กับชาวบ้านและเกษตรกร ของหมู่บ้าน ประชานิมิตร หลังจากท่ีได้ร่วมทากิจกรรมศูนยเ์ รียนร้กู ารทาปุ๋ยชีวติ ภาพจากการไปฝึกอบรม ป๋ยุ หมัก ปุย๋ นา ปุ๋ยแห้ง โดยมีหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร สานักงานเกษตร อาเภอศรีสาคร ตลอดจนปราชญ์สัมมาชีพชุมชน มาใหค้ วามรู้ในการทาปุ๋ยหมกั แบบแห้งชาม-นาชาม อย่างถูกต้อง เพอ่ื เอาไว้ใช้เองและสามารถแบง่ ปันครวั เรือนอื่นในหมู่บ้านได้ ครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
30 ประโยชนจ์ ำกกำรใช้ปุ๋ยหมกั ปุย๋ หมักนอกจากจะช่วยลดปริมาณขยะไดท้ างหน่ึง ประโยชน์ของป๋ยุ หมักไวอ้ ีกมากมาย เชน่ 1. ปยุ๋ หมกั เปน็ การนาขยะอินทรียม์ าใช้ประโยชนใ์ หม่ จึงช่วยลดปรมิ าณขยะอนิ ทรยี เ์ ขา้ ระบบการ จดั การขยะได้ 2. ปุ๋ยหมกั บางชนดิ มจี ุลนิ ทรียท์ ่ีชว่ ยยับยังและป้องกนั จุลนิ ทรียท์ ่ีทาใหพ้ ชื เป็นโรคได้ 3. ปยุ๋ หมักมีธาตอุ าหารครบถว้ น ทังธาตอุ าหารหลกั ธาตอุ าหารรอง และธาตุอาหารเสรมิ 4. ปุ๋ยหมักเปน็ แหล่งอาหารของสิง่ มีชวี ิตในดินทเ่ี ป็นประโยชน์ จงึ ช่วยให้ตน้ ไมเ้ จริญเตบิ โตไดด้ ี ขึน 5. ปยุ๋ หมักมักจะปลอ่ ยธาตอุ าหารให้พชื อย่างช้า ๆ ทาให้อยู่ในดินไดค้ อ่ นขา้ งนาน จึงมโี อกาสเสยี นอ้ ยกว่าปุ๋ยเคมี 6. ปุ๋ยหมักช่วยปรบั คา่ ความเปน็ กรด-ด่างของดนิ ใหเ้ หมาะสมได้ ตา่ งจากปุ๋ยเคมีทมี่ ีแอมโมเนีย เป็นสว่ นประกอบ จงึ อาจจะทาใหด้ ินแปรสภาพเป็นกรด 7. ปุ๋ยหมกั ช่วยเพ่ิมจลุ ินทรียแ์ ละอินทรยี วตั ถุ ทาให้โครงสร้างของดนิ ดีขึน เชน่ ร่วนซุย ระบาย นาดี ถ่ายเทอากาศสะดวก และรากแผ่กระจายหาอาหารงา่ ยขึน ในขณะท่ีปยุ๋ เคมีไมม่ ีคุณสมบตั ิในการ ปรบั ปรงุ ดนิ ใด ๆ 8. ปยุ๋ หมักชว่ ยลดคา่ ใชจ้ ่ายและทาใหป้ ระหยดั เงนิ เพราะสามารถใชแ้ ทนปยุ๋ เคมีได้ สามารถลด ปรมิ าณการซอื ปยุ๋ เคมลี งได้ แถมยังไม่ตอ้ งเสยี เงินซือสารเคมีหรอื ยาป้องกันแมลงศตั รูพืชดว้ ย จะเหน็ เลยวา่ มีเศษขยะอินทรยี ์หลายชนดิ ท่สี ามารถนากลับมาทาปยุ๋ หมกั ได้ แถมประโยชนย์ งั ดงี าม ค้มุ ค่า มปี ระสิทธภิ าพไมแ่ พป้ ๋ยุ เคมีเลยด้วย เอาเปน็ วา่ ต่อไปน้นี อกจากจะคดั แยกขยะก่อนท้งิ แลว้ อยา่ ลมื นาขยะอินทรยี ท์ ี่คดั แยกไวม้ าใช้ให้เกิดประโยชนก์ ันดว้ ย การทาปุ๋ยไว้ใชเ้ องโดยที่ไม่พ่ึงพาสารเคมีทาใหเ้ ราม่ันใจได้ว่าปยุ๋ ทเี่ ราใส่บารุงพืชผกั ท่ีเราปลูกจะ ปลอดภัยแนน่ อน ซ่ึงการทาปุ๋ยนีนอกจากจะได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ปลอดภัยแล้วเรายงั สาม ารถนามาใช้เป็น กิจกรรมยามว่างร่วมกันภายในครอบครัว หรือ ในชมุ ชนได้อีกด้วย การทาปุ๋ยโดยมหี ลกั การคือ เลียงดิน ให้ดินเลียงพชื และ ใหพ้ ืชเลยี งเรา ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
31 วธิ กี ำรทำปยุ๋ นำ้ สว่ นผสม 1. ผลไม้ หรอื ผัก 3 สว่ น 2. กากนาตาล หรือ นาตาลทรายแดง 1 ส่วน 3. หัวเชือจุลนิ ทรีย์ 1 ส่วน 4. นาสะอาด 10 สว่ น วธิ ที ำ 1. ใสผ่ ลไม้ลงในภาชนะทบึ แสงมีฝาปดิ 2. ละลายนาและกากนาตาลหรือนาตาลทรายแดง ให้เขา้ กนั และเตมิ ลงในภาชนะใส่ผลไมท้ ่ีเตรยี ม ไว้คลุกเคลา้ ให้เข้ากนั 3. เติมหัวเชือจลุ ินทรยี ์ คนใหท้ ่วั 4. ปิดฝาให้สนทิ เกบ็ ให้มิดชดิ ในทรี่ ม่ 5. ทิงไว้ 3 เดือน และเปิดใชง้ าน สดั ส่วนกำรใช้ 1/500 : สาหรบั ไม้ที่มใี บบาง 1/200 : สาหรบั ไมท้ ่ีมีใบหนา หรือไมผ้ ล 1/200 : ปรบั ปรงุ บารงุ ดนิ 1/100 : ไลแ่ มลงวัน 1/10 + เกลือ : ฆ่าหญา้ แบบเข้มข้น : ราดชกั โครงหรือพนื ห้องนาเพอื่ ดบั กลิ่น และยอ่ ยสลายส่งิ ปฏกิ ูล ครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
32 วิธีกำรทำปุย๋ แห้ง สว่ นผสม 1. อนิ ทรีย์วตั ถุ เช่นใบไม้ หญ้า ฟาง 4 สว่ น 2. มลู สตั ว์หรอื ปุ๋ยคอก 1 สว่ น 3. รา (ถา้ ม)ี 4. นาสะอาด + ปุ๋ยนา วิธีทำ 1. คลุกเคล้าอินทรีย์วัตถกุ ับมลู สตั ว์หรอื ปุ๋ยคอก 2. โรยรา (ถ้าม)ี และปุ๋ยนาผสมนา (1/200) คลุกเคลา้ ให้เขา้ กัน แคพ่ อชนื ๆไม่ต้องแฉะ 3. ปดิ คลมุ ทงิ ไว้ 3 สัปดาห์ 4. กลับกองปุ๋ย ทา 3ครงั 5. เมอื่ ครังที่ นาเข้าพักไว้ในท่ีร่ม เพ่ือคลายความรอ้ น ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
33 ๒.๓ มกี ำรจดั บ้ำนเรอื นเปน็ ระเบยี บ สะอำด ถกู สขุ ลกั ษณะ การจัดส่ิงแวดลอ้ มทถี่ ูกสุขลกั ษณะและเอือต่อสขุ ภาพ ส่งิ แวดล้อมมคี วามสาคัญต่อการ ดารงชีวติ ดังนันการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ให้สะอาดถูกสขุ ลกั ษณะ จะทาให้ดารงชวี ิตอย่อู ยา่ งปลอดภัย มี สุขภาพดแี ละไมเ่ กิดโรคภัยต่างๆ การจัดสิง่ แวดลอ้ มท่ีบ้านให้ถกู สขุ ลกั ษณะ บา้ นเป็นทอ่ี ยู่อาศยั สาหรับทุก คน บา้ นที่มสี ภาพแวดลอ้ มท่ีดจี ะทาให้สมาชิกในบ้านมีความสขุ ดงั นัน สมาชกิ ในบ้านจึงตอ้ งช่วยกนั ดูแล รกั ษาสิง่ แวดลอ้ มภายในบา้ นให้ถูกสุขลักษณะ ดังนี จัดบ้ำนอย่ำงไรใหถ้ กู สุขลกั ษณะ บ้านเปน็ ทีอ่ ยอู่ าศยั และพักผอ่ น การจดั บา้ นให้ถูกสุขลักษณะจะทาใหผ้ ู้อยอู่ าศัยมสี ขุ ภาพท่ีดี ซงึ่ บา้ นที่ถกู สุขลักษณะ ภายในบา้ นสะอาด เปน็ ระเบียบ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกและไม่อับชืน ส่วนประกอบของบา้ นตงั อยู่ในท่ีที่เหมาะสม บรเิ วณบ้านสะอาด ไม่เฉอะแฉะ มีแสงแดดส่องถงึ ห้องนา ห้องส้วมสะอาด ไม่มีกล่นิ เหม็น และไมอ่ บั ชนื ถ้ามใี ตถ้ นุ บ้านต้องสะอาด ไมม่ ขี ยะ ถ้ามีสตั ว์เลียง ควรจดั สถานทีท่ ่เี ลียงสัตว์ใหเ้ ป็นสดั สว่ นเพ่อื ไม่ให้ส่งกล่นิ รบกวนคนในบา้ น วธิ ีจัดบ้านเรือนใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ - ห้องนอน ต้องมีอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ไมอ่ ับชืน - หอ้ งครวั มที ่ีระบายอากาศและกลนิ่ ไดด้ ี มีถังขยะทม่ี ฝี าปดิ มิดชดิ เพ่อื ปอ้ งกนั การรบกวนจาก สตั ว์ตา่ ง ๆ - หอ้ งอาหาร ไมค่ วรอยู่หา่ งไกลจาก ห้องครัว และตอ้ งสะอาด - ห้องรับแขก ควรอยู่ดา้ นหนา้ ของตวั บา้ น ต้องสะอาด และมอี ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก - บรเิ วณบา้ น ต้องสะอาดเรียบรอ้ ย ถา้ เป็นสนามหญา้ ควรตดั หญ้าใหส้ นั อย่เู สมอ และต้องไมม่ นี า ท่วมขัง มถี ังขยะทีม่ ฝี าปิดมดิ ชดิ ตังอยู่หา่ งจากตวั บา้ นพอสมควร เพือ่ ใหค้ นเก็บขยะมาเก็บได้ - ห้องนาและห้องส้วม ตอ้ งดูแลใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ มอี ากาศถ่ายเทได้สะดวก ไมส่ ่งกลิน่ รบกวน และควรดแู ลรกั ษาความสะอาดของห้องส้วมด้วย การจัดและดแู ลรกั ษาสิง่ แวดล้อมภายในบ้าน - การจัดวางสง่ิ ของเคร่ืองใชใ้ ห้เปน็ เปน็ หมวดหมูเ่ พอื่ สะดวกต่อการหยิบใช้ - เมอื่ นาสิ่งของไปใช้แล้วให้ทาความสะอาดและเก็บเข้าท่ีใหเ้ รียบรอ้ ย - เปดิ ประตู หน้าต่างใหแ้ สงส่องเขา้ ถงึ - ควรซกั เคร่ืองนอน ให้สะอาดและนาผ่ึงแดดอยเู่ สมอ - พืนทกุ ห้อง ควรกวาดและถูอยู่เสมอ - ดแู ลทาความสะอาดห้องงนา อยเู่ สมอ - ฝาหนงั บา้ นต้องเชด็ ให้สะอาด ไม่มหี ยากไยร่ กรุงรงั - ล้างจานชาม และเครื่องครวั ให้สะอาดควา่ ให้แห้งแล้วเกบ็ ใหเ้ รยี บรอ้ ย - นาขยะไปทิงในทร่ี องรับขยะทกุ วัน ครัวเรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
34 ครวั เรอื นสมั มาชีพ มกี ารจัดทาป้ายครวั เรือน แสดงช่ือ ท่ีอยู่ อย่างชัดเจน ยงั มีการนากจิ กรรม 5 ส มาปรับใช้ในครวั เรือน เช่น การคัดแยกขยะ การจัดเก็บเอกสาร การจัดพืนที่ใช้สอยให้เป็นระเบียบ เรียบรอ้ ย เพอ่ื ให้งา่ ยในการคน้ หา เพ่อื ให้ครวั เรอื นตระหนักความสาคญั ของสงิ่ ที่อยู่ใกล้ตวั เรามากทสี่ ุดก็คอื “บ้าน” ช่วยกนั ปรับปรุง สภาพแวดล้อมภายในบ้าน และบริเวณบา้ นให้ถูกต้องตามหลกั สุขาภบิ าล ปรับปรุงพฤติกรรมอนามัย สง่ิ แวดล้อมของสมาชกิ ทุกคนในบ้านรวมทังมสี ่วนร่วมพัฒนาชมุ ชน ซึ่งเปน็ จดุ เรมิ่ ต้นที่ดีของการพัฒนา ด้านอื่นๆ ในสงั คมอยา่ งต่อเนื่องการทาบ้านให้น่าอย่สู ง่ ผลดหี ลายประการ ได้แก่ 1. สภาพแวดลอ้ มท่เี อือตอ่ การมสี ขุ ภาพที่ดี ทงั ร่างกายและจติ ใจ 2. สุขนิสยั ทด่ี ใี นเรือ่ งสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อมและพฤติกรรมอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม 3. ป้องกนั และลดอัตราการเกิดโรค อุบัติเหตุ ปัญหาสุขภาพจิต รวมทังอาชญากรรมใน สงั คม 4.. ครอบครวั อบอนุ่ มีความรกั เออื อาทรต่อกนั ซง่ึ เปน็ หัวใจสาคัญของการพฒั นาชุมชน 5. ชุมชนเข้มแข็ง มีความรกั / สามัคคี รว่ มแรงร่วมใจพัฒนาสังคมให้ดยี ่ิงขึน นาไปสู่การ เป็นบ้านเมืองนา่ อยู่และเมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) จะทาบ้านให้นา่ อยไู่ ด้อยา่ งไร การจัด ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
35 สภาพบ้านเรอื นให้น่าอยู่ น่าอาศัย ให้ถกู ต้องตามหลักสุขาภิบาล พึงควรคานึงถึง ตัวบ้าน บริเวณบ้าน ภายในบ้าน สขุ ภาวะในครอบครัว ตวั บ้านมั่นคงแข็งแรง 6. สะอาด ร่มร่นื เป็นระเบยี บ จดั เก็บสง่ิ ของเปน็ สดั สว่ น 7. ในกรณีที่มกี ารเลยี งสัตว์ เชน่ วัว ควาย ไก่ เปน็ ต้น ต้องจดั คอกสัตว์ให้ไกล อยู่นอก ตวั บา้ น ล้างทาความสะอาดสม่าเสมอ (ไม่ควรมคี อกสตั ว์ใต้ถุนบ้าน) 8. ไม่มีขยะทุกชนิด ป้องกันไม่ให้เกิดแหล่งเพาะพันธุแ์ มลงวนั แมลงสาบ และแหล่ง อาหารหนู แยกขยะก่อนทิง มีที่รองรับขยะ ทิง / กาจดั ขยะสมา่ เสมอ (ไม่ควรมีขยะตกค้างในบา้ นและ บรเิ วณบา้ น) 9. ไม่มนี าขังในหลมุ บอ่ หรอื ภาชนะตา่ งๆ เพื่อป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ แหลง่ เพาะพันธ์ยุ ุง 10. ปลกู ต้นไม้ใหร้ ม่ ร่ืน ภายในบ้าน มีแสงสว่างเพียงพอ 11. อากาศถ่ายเทสะดวก กาจดั แหล่งยุงในบ้าน 12. จัดหอ้ ง / พืนท่ใี ชส้ อยเป็นสัดส่วน จดั เก็บข้าวของเคร่ืองใช้เปน็ ระเบยี บ ทาความ สะอาดประจาสมา่ เสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครัง 13. มนี าด่ืมนาใชส้ ะอาด (นาประปา นากรอง นาต้ม เป็นต้น) เพียงพอ 14. อาหารปรุงสุก มีภาชนะปกปิด (เช่นฝาชีครอบหรือใส่ตกู้ บั ข้าว หรอื ตู้เย็น) 15. ออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอ อย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 3 วนั ๆละ 30 นาที ครวั เรอื นสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
36 2.4 มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมอนรุ กั ษท์ รัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิง่ แวดล้อมหรือสำธำรณะประโยชน์ การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม อย่างฉลาด โดยใชใ้ ห้น้อย เพื่อให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด โดยคานึงถึงระยะเวลาในการใชใ้ ห้ยาวนาน และ ก่อให้เกิดผลเสยี หายต่อสิ่งแวดลอ้ มนอ้ ยท่สี ุด รวมทงั ต้องมีการกระจายการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอยา่ ง ทว่ั ถึง ในสภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมมีความเสอ่ื มโทรมมากขึน ดังนันการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มจงึ มีความหมายรวมไปถงึ การพฒั นาคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ มด้วย ไดแ้ ก่ 1. รักษารถยนต์ ด้วยการเปลีย่ นไสก้ รอง ไส้กรองอากาศท่ีสกปรกจะทาให้การไหลของ อากาศที่สะอาดทาได้น้อยลง มีผลต่อการเผาไหมข้ องเคร่ืองยนต์ดว้ ย 2. ควรใชผ้ า้ แทนการใช้กระดาษทชิ ชู่ 3. ใช้ถงุ ผ้าแทนการใชถ้ งุ พลาสติก 4. ทงิ ขยะเป็นทเี่ ป็นทาง ควรทงิ ขยะใหล้ งถังขยะ 5. ช่วยกนั ปลกู ต้นไม้ เพื่อเพิม่ พนื ท่ีสีเขยี วให้มากขึน 6. ไม่บุกรุกพืนท่ปี ่า 7. ไมเ่ ปิดนา และไฟฟา้ ทงิ ไว้โดยไร้ประโยชน์ 8. ไมท่ งิ นาเสยี ลงแม่นาลาคลอง 9. ควรทานอาหารให้หมดจาน 10. ไมค่ วรเผาขยะหรือเศษไม้,เศษหญ้า การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสามารถกระทาได้หลายวิธี ท้ังทำงตรง และ ทำงออ้ ม ดังนี 1. การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มโดยทำงตรง ซง่ึ ปฏบิ ตั ไิ ด้ในระดับบุคคล องคก์ ร และระดับประเทศ ทส่ี าคัญ คอื 1.1) การใชอ้ ย่างประหยัด คือ การใชเ้ ท่าที่มคี วามจาเป็น เพื่อให้มีทรพั ยากรไว้ ใชไ้ ดน้ านและเกดิ ประโยชนอ์ ย่างคุ้มคา่ มากทีส่ ุด 1.2) การนากลบั มาใชซ้ าอีก สง่ิ ของบางอย่างเม่อื มกี ารใช้แลว้ ครังหนงึ่ สามารถที่ จะ นามาใช้ซาได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะนามาใช้ได้ใหม่โดยผ่าน กระบวนการตา่ งๆ เชน่ การนากระดาษท่ีใชแ้ ล้วไปผา่ นกระบวนการต่างๆ เพื่อทาเป็นกระดาษแข็ง ซ่ึง เป็นการลดปริมาณการใชท้ รพั ยากรและการทาลายส่ิงแวดล้อมได้ 1.3) การบูรณะซ่อมแซม สงิ่ ของบางอยา่ งเมื่อใชเ้ ป็นเวลานานอาจเกดิ การชารุด ได้ เพราะฉะนนั ถ้ามีการบรู ณะซ่อมแซม ทาให้สามารถยืดอายกุ ารใชง้ านต่อไปได้อีก 1.4) การบาบัดและการฟ้ืนฟู เป็นวิธีการที่จะช่วยลดความเส่ือมโทรมของ ทรัพยากร ด้วยการบาบัดก่อน เชน่ การบาบัดนาเสยี จากบา้ นเรือนหรือโรงงานอุตสาหกรรม ก่อนทีจ่ ะ ครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
37 ปล่อยลงสแู่ หล่งนาสาธารณะ สว่ นการฟ้นื ฟูเป็นการรือฟ้นื ธรรมชาติให้กลับสู่สภาพเดิม เชน่ การปลูกป่า ชายเลน เพ่อื ฟน้ื ฟูความ สมดุลของปา่ ชายเลนให้กลับมาอดุ มสมบรู ณ์ 1.5) การใชส้ ่ิงอนื่ ทดแทน เปน็ วิธกี ารท่ีจะช่วยใหม้ ีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ นอ้ ยลง และไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้ถงุ ผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ใบตองแทนโฟม การใช้ พลงั งาน แสงแดดแทนแรเ่ ชอื เพลิง การใช้ปุ๋ยชวี ภาพแทนปยุ๋ เคมี 1.6) การเฝ้าระวงั ดแู ลและป้องกัน เป็นวธิ กี ารทจี่ ะไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดล้อมถกู ทาลาย เช่น การเฝา้ ระวังการทงิ ขยะ สิ่งปฏกิ ลู ลงแม่นา คคู ลอง การจดั ทาแนวป้องกันไฟป่า 2. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยทำงอ้อม สามารถทาไดห้ ลายวิธี ดังนี 2.1) การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดนสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ที่ถูกต้องตามหลักวิชา ซงึ่ สามารถทาได้ทกุ ระดับอายุ ทังในระบบ โรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ และนอกระบบโรงเรียนผ่านสอื่ สารมวลชนต่างๆ เพื่อใหป้ ระชาชน เกิดความตระหนักถึงความสาคัญและความจาเปน็ ในการอนุรกั ษ์ เกิดความรักความหวงแหน และให้ความ ร่วมมืออยา่ งจรงิ จัง 2.2) การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย การจัดตังกลุ่ม ชุมชน ชมรม สมาคม เพ่อื การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มต่างๆ ตลอดจนการให้ความรว่ มมือทังทางด้าน พลัง กาย พลังใจ พลังความคดิ ดว้ ยจติ สานกึ ในความมคี ุณค่าของสิ่งแวดลอ้ มและทรัพยากรท่มี ตี อ่ ตัวเรา 2.3) ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถ่ินได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ช่วยกันดูแล รักษาให้ คงสภาพเดิม ไม่ให้เกิดความเส่อื มโทรม เพือ่ ประโยชน์ในการดารงชวี ิตในทอ้ งถ่ินของตน การ ประสานงานเพอ่ื สร้างความรู้ความเขา้ ใจ และความตระหนักระหว่างหน่วยงานของรฐั องคก์ รปกครอง ส่วน ทอ้ งถนิ่ กับประชาชน ให้มีบทบาทหน้าทีใ่ นการปกป้อง คุ้มครอง ฟน้ื ฟูการใชท้ รัพยากรอย่างคุ้มค่า และ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด 2.4) ส่งเสริมการศกึ ษาวิจยั ค้นหาวิธีการและพัฒนาเทคโนโลยี มาใช้ในการ จดั การกับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มให้เกิดประโยชน์สูงสดุ เช่น การใช้ความรทู้ างเทคโนโลยี สารสนเทศมาจดั การวางแผนพฒั นา การพัฒนาอุปกรณ์เคร่อื งมอื เคร่ืองใชใ้ ห้มีการประหยัดพลังงานมาก ขนึ การค้นควา้ วจิ ัยวิธกี ารจดั การ การปรบั ปรงุ พฒั นาส่งิ แวดล้อมให้มีประสิทธภิ าพและยง่ั ยนื 2.5) การกาหนดนโยบายและวางแนวทางของรฐั บาล ในการอนุรักษ์และพัฒนา สง่ิ แวดล้อมทงั ในระยะสันและระยะยาว เพ่ือเป็นหลักการให้หนว่ ยงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐทีเ่ กี่ยวข้อง ครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
38 ยึดถอื และนาไปปฏิบัติ รวมทังการเผยแพรข่ า่ วสารดา้ นการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ทัง ทางตรงและทางออ้ ม หลกั การหนึ่งในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรป่าไม้ คือ การทาฝายชะลอนา้ หรอื ฝายชะลอความชุ่ม ช้ืนซึ่งหมายถึง สง่ิ กอ่ สรา้ งทขี่ วางทางก้ันลานา้ ขนาดเล็กในบรเิ วณตน้ นา้ หรือพนื้ ทที่ ี่มคี วามลาดชนั สูง เพ่อื ให้น้าทไี่ หลมาแรงสามารถที่จะชะลอการไหลชา้ ลงและเก็บกักตะกอน เพื่อไมใ่ หล้ งไปสบู่ รเิ วณลุ่ม น้าตอนล่าง ประโยชนข์ องฝำยชะลอนำ้ ๑. ช่วยเก็บกักนา ๒. ช่วยลดความรุนแรงของการเกดิ ไฟปา่ ๓. ชว่ ยลดการพังทลายของหนา้ ดิน และลดความรุนแรงของกระแสนาในลาห้วย ๔. ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดตุ ่างๆ ทีไ่ หลลงมากบั นาในลาหว้ ย ๕. ช่วยเพมิ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ ๖. เปน็ ที่อยู่อาศยั ของสัตวน์ า และใชเ้ ป็นแหล่งนา เพือ่ การอุปโภคบรโิ ภค ครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
39 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร รว่ มกับชาวบ้าน ม.4 บ้านประชานิมิตร และครัวเรือน สมั มาชีพ ร่วมกันทาฝายชะลอนาชุมชนบ้านประชานมิ ิตร อาเภอศรีสาคร เป็นอีกหนึ่งชุมชนในพืนที่ จงั หวัดนราธิวาส ท่ปี ระสบปัญหาพนื ที่แห้งแล้งนาไม่เพียงพอกับความต้องการของคนในชุมชน ชุมชนจึงได้ รว่ มกับสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร สรา้ งฝายชะลอนา เพือ่ แกป้ ญั หา และหวงั คนื ความช่มุ ช่นื ให้ ผนื ดนิ จนปจั จุบนั เห็นผลแลว้ ว่า นอกจากความสมบรู ณข์ องระบบนิเวศทีก่ ลับคืนมา ฝายยงั ชว่ ยฟ้ืนสภาพ พนื ที่ให้เป็นแหล่งอาหาร และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ผลิตผลทังหน่อไม้ ทุเรียน และพืชผลทางการ เกษตร สร้างรายไดเ้ ปน็ กอบเปน็ กาให้ชุมชน “ชุมชนได้เข้าไปร่วมกิจกรรมสร้างฝายชะลอนากับเจ้าหน้าท่ี เพียงไม่กี่เดอื น ก็เริ่มเห็นความ เปลี่ยนแปลงเกดิ ขึนในพืนท่ี ฝายช่วยคนื ความสมดลุ ให้กับป่า และป่ายังเปรียบเสมือนซปุ เปอร์มาเก็ตที่ ชุมชนสามารถเขา้ ไปหาของป่าสาหรับนามาใช้ทาอาหารใหค้ รอบครัว และแบง่ ขายสร้างรายไดเ้ พมิ่ มากขึน แคค่ นในชุมชน 1 คน เดินเขา้ ป่าไปเกบ็ หน่อไม้เพียง 2 กระสอบปุ๋ย สามารถสร้างรายได้ให้ถึง 300 บาท ต่อวัน หรือประมาณ 5,000 – 6,000 บาทต่อเดอื น ส่วนรายไดข้ องชุมชนที่มาจากการขายหน่อไม้ พืช สมนุ ไพร ไม้ใช้สอยในครัวเรอื น มากถงึ 4,000,000 บาทต่อปี…” 3. สรำ้ งภมู ิค้มุ กันทำงสังคม 3.1 รว่ มกจิ กรรมจติ อำสำ “หากสามารถเคี่ยวบม่ กระบวนการจิตอาสา,จติ สาธารณะมาตังแตต่ ัวยังเล็กๆ ในระดับครอบครัว ยิง่ จะเป็นส่งิ อันลาค่าท่ีมอี ยู่ในตัวตนของผู้คน” จิตอาสา หรือจิตสาธารณะมสี องระดับใหญ่ๆ อันได้แก่ ระดับครัวเรือนและระดับสังคม และครอบครัวนนั่ แหละ คือรากฐานทีด่ ีในการเพาะบ่มเร่ืองเหล่านีให้ เกิดขึนในตัวตนของคนทกุ คน สอนใหค้ นรบั ผดิ ชอบตัวเองอย่างมีสติ รู้รักการแบ่งปนั กนั ในครวั เรอื น ไมบ่ ัง เบยี ดแกง่ แย่งกนั ในพพ่ี อ้ งน้อง,ญาติ และน่ันก็เป็นการดแู ลสังคมไปในตวั ดีๆนน่ั เอง ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
40 หากสามารถเคีย่ วบ่มกระบวนการจิตอาสา,จิตสาธารณะมาตงั แตต่ ัวยังเลก็ ๆในระดับครัวเรือน ย่ิง จะเปน็ สิ่งอันลาค่าที่อย่ใู นตัวตนของผคู้ น ซ่ึงอาจอาศัยกิจกรรมเลก็ ๆน้อยๆ ในครอบครวั เปน็ ตวั บม่ เพาะไป ทีละนิด... ทาให้เป็นธรรมชาติ ทาให้เป็นเหมือนกิจวัตรประจาวันได้ยิ่งดี สุดดท้ ายก็จะกลายเป็น “วฒั นธรรมทำงใจ”ไปโดยปริยาย สิ่งเหลา่ นีถอื เปน็ กระบวนการเติบกลา้ มาจากกลไกของครอบครวั ทังสิน ครอบครัวของนางจฑุ ามาศ คงขวัญเปน็ ครอบครัวทม่ี ีจติ อาสา รับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชน และมีจติ สานึกรับผิดชอบตอ่ ประโยชน์สาธารณะ มจี ติ อาสา มีสว่ น รับผดิ ชอบต่อสังคม มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิตในชุมชน โดยการประสานงานกับหนว่ ยงาน ในการดแู ลเกยี่ วดับความจาเป็นพนื ฐานของคนในชุมชน เชน่ นาประปา ไฟฟ้า ถนน เปน็ ต้น ได้แก่ 1. การพัฒนาแหล่งต้นนาของหม่บู า้ น ร่วมกันทาฝายชะลอนา 2. การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติในชมุ ชนการทาฝายมชี ีวิต 3. แปลงเพาะกลา้ ไมเ้ พือ่ แจกจา่ ยใหป้ ระชาชนในหมู่บ้านและผ้มู าดูงานในศนู ย์ 4. จัดทาปยุ๋ อินทรียแ์ บบนาและแบบแหง้ เพอ่ื แบ่งปันให้กบั ครวั เรือนในหมบู่ ้าน ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
41 การแบ่งปนั เป็นการเสียสละส่ิงของหรือทรพั ย์ของตนให้แก่ผู้ท่ีเดือดร้อนหรือตอ้ งการความ ช่วยเหลือ การแบง่ ปนั เป็นคุณธรรมที่ช่วยใหเ้ ราขจดั ความเหน็ แกต่ ัวออกจากตนเอง และทาให้คนเราอยู่ ร่วมกนั ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ เช่น การแบ่งปันความรู้ดา้ นการเกษตร แบง่ ปันกล้าไม้ แบง่ ปนั พืชผักผลไม้ ให้เพือ่ นบ้าน ควำมสำคัญของจติ อำสำ 1. ทาใหบ้ ุคคลมีความคิดชันสงู ชว่ ยยกระดับจติ ใจท่ีเปีย่ มไปดว้ ยเมตตา เพราะจติ อามุ่งเนน้ การให้ มากกว่าการรบั ทาให้พบความสขุ ทีเ่ กดิ จากการให้ ซงึ่ เป็นความสขุ ที่มคี ุณค่ากว่าความสขุ ท่ีเกิดจากการ ได้รบั 2. บคุ คลทม่ี ีจิตอาสาย่อมเป็นท่ีรกั ใครข่ องคนรอบขา้ ง เพราะมองเห็นคุณคา่ ในความดีทอ่ี ยใู่ นตัว คนๆนนั มากกวา่ มลู ค่าของทรัพย์สินใดๆ นอกจากนียังเป็นการผูกมติ รแทไ้ ด้อย่างยัง่ ยืน 3. ทาให้สังคมมีการแบ่งปัน การช่วยเหลือเกือกูลซึ่งกันและกัน ร่วมมือกันดูแลรักษาสง่ิ ของ สาธารณะเพอื่ การใช้ประโยชนร์ ว่ มกัน รวมทงั สิ่งแวดล้อมรอบตัว 4. ทาให้สงั คมน่าอยู่และเปน็ สังคมคุณภาพทีท่ กุ คนสามารถอยูร่ ่วมกันได้ พงึ่ พาอาศยั ซงึ่ กนั และกนั ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
42 จิตสาธารณะเพ่อื ส่วนรวมคือต้องมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม การช่วยกนั เก็บขยะ บรเิ วณโดยรอบ ของชุมชน ไมว่ ่าจะตามบ้านเรอื น ตามท้องถนน ริมทาง ก็เป็นวิธหี นึ่งแสดงให้เห็นถงึ การมจี ิตสาธารณะ ส่วนรวม การท่ีทุกคนมสี ว่ นร่วม เผื่อแผ่ ดแู ลชุมชน ดแู ลส่งิ แวดล้อม ตลอดจนปัญหาตา่ ง ๆรอบ ๆตวั รว่ มกัน สร้างสรรค์สิ่งดี ๆทาดีใหเ้ ปน็ รูปธรรมมากขึน ไม่เพยี งแต่รอดูใครจะรบั ผิดชอบเร่อื งอ ะไร แตค่ วรต้อง ออกมามสี ่วนร่วมรับผิดชอบด้วยกัน การจะเป็นจิตอาสา ไม่ได้จากัดท่ี วัย การศึกษา เพศ อาชีพ ฐานะ หรือขอ้ จากัดใด ๆทังสิน หากแต่เราตอ้ งมจี ิตใจเป็น “จิตอาสา”ที่อยากจะชว่ ยเหลอื ผู้อื่น หรือชุมชน เพยี งแตเ่ ราแต่ละคนคิดและทาความดีกันคนละนดิ เพอ่ื ชมุชน แล้วชุมชนเราจะงดงามขนึ อีกไมน่ อ้ ย อยา่ .....เป็นนกั จบั ผดิ อยา่ .....มัวแต่คิดรษิ ยา อย่า....เสยี เวลากบั ความหลัง อย่า....พังเพราะไม่รพู้ อ. 3.2 สมำชิกในครวั เรือนไม่ยงุ่ เก่ียวกับสงิ่ เสพติดและอบำยมุขต่ำงๆ ผู้ท่ีติดสงิ่ เสพตดิ ส่วนใหญจ่ ะเกดิ จากครอบครวั ท่แี ตกแยกมีปัญหา ขาดความรกั ความอบอนุ่ เกิด ความว้าเหว่ ขาดทีย่ ดึ เหนย่ี วทางจติ ใจ ซ่ึงเปน็ เหตใุ ห้เดก็ ๆ หนั ไปพึง่ ยาเสพตดิ แทน ดงั นันพ่อแม่จงึ ควรให้ ความรักความอบอนุ่ และพ่อแม่ก็ควรจะประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดี และเปน็ ที่ปรกึ ษาใหแ้ ก่ลูกๆได้ ทา ให้ลูกไมห่ นั ไปพ่งึ พายาเสพติด ครวั เรือนป้องกันเรื่องยาเสพตดิ โดย • สรา้ งความรกั ความอบอุ่นและความสมั พันธ์อันดีระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครวั • ร้แู ละปฏิบัติตามบทบาทหน้าทขี่ องตนเอง • ดูแลสมาชิกในครอบครัว ไม่ใหข้ ้องเก่ยี วกับยาเสพติด • ใหก้ าลงั ใจและหาทางแกไ้ ข หากพบว่าสมาชิกในครอบครวั ติดยาเสพติด ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
43 ครอบครัวเป็นหัวใจสาคัญท่ีจะเป็นเกราะป้องกนั และทาให้เยาวชนผ่านพ้นปัญหาต่างๆ ไปได้ ทุกคนตา่ งรับรวู้ ่ายาเสพตดิ นันสง่ ผลกระทบร้ายแรงเพียงใด ดงั นัน จึงไม่ควรเข้าไปเก่ียวข้องไม่ว่าจ ะใน กรณีใดก็ตาม สิ่งทีจ่ ะชว่ ยเป็นภูมิคุ้มกันใหเ้ ยาวชนพน้ ภัยยาเสพติดที่ดีท่ีสุด คือ วัคซีนทางสงั คมไม่ว่าจะเป็น ครอบครัว สถาบนั การศึกษา ชุมชน ส่ิงแวดล้อม จะตอ้ งร่วมมือรว่ มใจสร้างพืนท่ีปลอดภยั และมคี ุณภาพ ให้กบั เยาวชน รบั ฟังปัญหาและความรสู้ กึ ของพวกเขาอย่างเขา้ ใจและไม่ตัดสิน ทาให้พวกเขาตระหนกั ถึง คุณค่าของตัวเอง ลงมือสรา้ งอนาคตด้วยมือของเขาเอง โดยมคี วามรัก ความเข้าใจจากครอบครัวและ สังคมรอบขา้ งคอยผลกั ดนั และสนับสนุนให้พวกเขาเติบโตอย่างมคี ณุ ภาพและมีความสุขบนเส้นทางทีพ่ วก เขาต้องการ เสรมิ สร้างการรับร้คู ณุ คา่ ในตนเองให้กับเด็กผา่ นการใหค้ วามรกั และความเอาใจใส่ เพ่อื ใหเ้ ด็กเกิด ความมน่ั ใจในตนเองและรับรวู้ ่าคนในครอบครัวพรอ้ มท่ีจะอยู่เคียงขา้ งตนเองเสมอยามเม่ือเกิดปัญหาใน ชวี ิต เสริมสร้างทกั ษะการตดั สินใจและการร้จู กั ปฏเิ สธสิ่งท่ไี ม่ดใี ห้กับเดก็ เพอื่ ไมใ่ ห้หว่ันไหวไปกับการชัก จงู ไปในทางทไ่ี ม่ดีจากกลุ่มเพ่ือนหรือสภาพแวดล้อมอน่ื ๆ คอยสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างสมา่ เสมอ ทงั ในเร่อื งการใชช้ วี ิตประจาวนั การเรียน การคบ หาเพื่อน นอกจากนี การสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมทากิจกรรมท่ี จะชว่ ยใหเ้ ดก็ ใช้เวลาอยา่ งมีคณุ คา่ และได้ เขา้ สังคมท่ีหลากหลาย และเป็นเรอื่ งดีหากได้รู้จักใกลช้ ิดกบั เพือ่ นของเด็กและผ้ปู กครองอื่นเพอื่ ช่วยกัน สอดสอ่ งดูแลพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
44 ครวั เรอื นสมั มาชพี สมาชิกในครัวเครือนไมเ่ คยมีประวัตกิ ารเสพยา ติดสุรา และไม่เคยเก่ียวข้อง กบั อบายมุข ครัวเรือนมกี ารประกาศเปน็ ครวั เรือนปลอดภัยและรบั มอบธงสัญลกั ษณ์ (ปปส.) เพือ่ รณรงค์ การป้องกนั ยาเสพตดิ มกี ารประชุมร่วมกบั ชาวบ้านหาแนวทางแกไ้ ขปอ้ งกันการแพร่ระบาดในทป่ี ระชุม ประจาเดอื นของหมบู่ า้ นเปน็ ประจาทกุ เดือน เม่ือครัวเรือนไมย่ ุ่งเกย่ี วกบั สำรเสพติดและอบำยมขุ ต่ำง ๆแล้วผลทไี่ ดค้ อื - ครอบครัวสามารถอยูไ่ ด้อย่างอบอุ่น และมเี งินเกบ็ ไว้ใชจ้ า่ ยอยา่ งเปน็ ได้ - เกิดความสัมพันธท์ ่ีดีและยัง่ ยืนระหว่างผู้ปกครองและเดก็ จาเปน็ ต้องเรมิ่ ตังแต่ชว่ งกอ่ นวัยเรยี น ซง่ึ เปน็ ช่วงท่ีสาคัญท่สี ดุ ในการวางรากฐานความคดิ และการดาเนินชวี ิตต่อไปในอนาคต แม้เด็กวัยนีจะยัง ไมไ่ ด้เขา้ ไปเกย่ี วข้องกบั ยาเสพติด แตเ่ มื่อปลกู ฝังเรอ่ื งการกินอยู่อย่างมสี ุขภาพดี แนะนาการรับประทาน อาหารท่มี ปี ระโยชน์ การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การเลน่ และออกกาลงั กายเพื่อพัฒนาทกั ษะ ในดา้ นต่างๆอยา่ งเหมาะสม ทังในเร่ืองการคิด การตดั สนิ ใจ และการรับผิดชอบในเรือ่ งตา่ งๆ ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
45 สมาชิกในครัวเรอื นไมเ่ ขา้ ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพตดิ และอบายมุขท่ีผดิ กฎหมายทกุ ชนิด โดยเฉพาะ การสบู บหุ รี่ สง่ ผลให้บุตรหลานไม่ยุ่งเกย่ี วกบั ยาเสพติด เพราะมตี ้นแบบทด่ี จี ากผู้นาในครัวเรือน ครวั เรือน นไี ม่มีใครสูบบุหรี่ ทังตัวหัวหน้าครัวเรือนและบุตรหลานที่อาศัยอยู่ และยังมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพ่ือ สุขภาพ กิจกรรมสานสัมพนั ธ์ในชมุชนและนอกชมุ ชน เป็นการใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ หลีกเลี่ยงการ ใกลช้ ิดกับสิ่งยวั่ ยทุ งั หลาย 3.3 สมำชกิ ในครวั เรือนเปน็ สมำชกิ กุล่มองค์กรในชุมชน 1. กรรมการกลมุ่ กาแฟอาราบิก้า หมทู่ ี่ 4 บา้ นประชานมิ ติ ร 2. กรรมการศนู ยเ์ รียนรไู้ รท่ องผาภูมิ หมทู่ ่ี 4 บา้ นประชานิมติ ร ตาบลกาหลง 3. กรรมการกล่มุ ไม้ตดั ดอก หมู่ท่ี 4 บา้ นประชานมิ ติ ร 4. สมาชกิ กลมุ่ เครือ่ งแกง หมู่ท่ี 4 บ้านประชานิมิตร 5. สมาชกิ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน หมทู่ ี่ 4 บา้ นประชานิมติ ร 6. สมาชิกกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี หมู่ที่ 4 บ้านประชานิมติ ร 7. สมาชกิ กลุ่มออมทรัพย์เพอื่ การผลิตบ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง 8. สมาชกิ ศนู ยจ์ ัดการกองทนุ ชมุ ชนบ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง 9. สมาชกิ กลุ่มนายางก้อนถว้ ยบ้านประชานิมติ ร ตาบลกาหลง 10. สมาชิกกองทุนแมข่ องแผน่ ดนิ บ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง ครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
46 กลุม่ กำแฟอำรำบกิ ้ำ สมาชิกของครวั เรือนสมั มาชีพเปน็ กรรมการของกลุ่มกาแฟในหมบู่ ้าน หมู่ที่ 4 บ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร ซ่ึงกลมุ่ กาแฟได้เกิดจากการรวมกลุ่มของชาวบา้ นที่สนใจในเร่ืองของกาแฟ เริ่มจากการทดลองปลูกในสวนยางของชาวบา้ นเอง จนได้เป็นสายพันธุเ์ มลด็ กาแฟทม่ี ีคณุ ภาพ กลุ่มจึง ส่งเสริมการปลกู กาแฟสายพันธอ์ุ าราบกิ ้าซ่งึ เป็นที่นิยม ด้วยเป็นสายพันธท์ุ ี่ให้กลน่ิ รสทนี่ มุ่ นวล กลน่ิ หอม เหมาะสาหรับการดื่มในลักษณะกาแฟสด ตลาดสว่ นใหญ่จึงเป็น ร้านอาหารหรือร้านกาแฟสด เป็นต้น ดงั นันเพ่ือให้ได้เมลด็ กาแฟคุณภาพดี ใหผ้ ลผลิตสูง จึงจาเป็นตอ้ งปลกู ในที่มีอากาศที่คอ่ นข้างเย็น ดว้ ย สภาพภูมิอากาศของหมู่บา้ นประชานมิ ิตร อยู่บนเขาสูงและมีอากาศเย็นตลอดปี ทาให้กาแฟสายพันธุ์นี เติบโตและใหผ้ ลผลติ ดตี ลอดฤดกู าล ครวั เรือนสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
47 กลุม่ ไมต้ ัดดอก ครัวเรอื นได้เป็นกรรมการของกลุม่ ไม้ตัดดอก หมทู่ ่ี 4 บ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง อันไดแ้ ก่ “ดาวเรือง” ซ่ึงดอกไม้เปน็ ดอกไม้มงคลท่ีชาวไทยนยิ มนามาใช้ ในกจิ กรรมในเกอื บทกุ เทศกาล ประกอบมี ความต้องการของตลาดตลอดทังปี ทาให้ขณะนีเรมิ่ มกี ล่มุ เกษตรกรในหมบู่ า้ น หันมาปลูกดาวเรือง ออก ดอกเหลืองบานสะพรัง่ ยิง่ ใกล้วันพระ วันอาสาฬหบูชา และ วันเขา้ พรรษา เท่าไร ก็ยิ่งทาให้เกษตรใน พนื ที่ ต่างเรง่ ตัดดอกดาวเรอื งนบั พันดอก สง่ ให้กับรา้ นคา้ ในอาเภอ สง่ ใหห้ นว่ ยราชการต่าง ๆทผ่ี ูกขาดกับ กลุ่ม และยังมลี ูกค้าทีเ่ ดนิ ทางมารบั ซือถงึ พืนท่ี สร้างรายได้เสริมให้กับกลมุ่ ได้ตลอดทงั ปี ครัวเรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
Search