Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_sammasheep

ilovepdf_sammasheep

Published by epalateh, 2020-05-27 08:38:15

Description: ilovepdf_sammasheep

Search

Read the Text Version

AR กิจกรรมพัฒนาชมุ ชนดเี ด่น ปี 2563 สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธวิ าส โทรศพั ท์ 0 81 821 1376 https://www.facebook.com/cdsisakhon?epa=SEARCH_BOX http://sisakhon.cdd.go.th/th/

ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน ประจาปี ๒๕๖๓ อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส ชอื่ เจา้ ของผลงาน นางเจะ๊ นาตปี ะ๊ มะหแิ ละ ทอ่ี ยู่ บา้ นเลขที่ ๒๘/๒ บา้ นลาเวง หมทู่ ่ี ๓ ตาบลเชงิ ครี ี อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธิวาส

คำนำ การคัดเลือกหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่นระดับจังหวัด เป็นการ ดาเนินงานภายใต้ยุทธ์ศาสตร์กิจการกรมการพัฒนาชุมชน เพ่ือคัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด สาหรับเข้ารับพระราชทานโล่รางวัลเพ่ือเชิดชูเกียรติ รวมทั้งเข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทสมเด็จพระกนิษฐาธิราช เจา้ กรมสมเดจ็ พรเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างขวัญและกาลังใจให้แก่ผู้นาชุมชน และการจัดการ ความรู้ รวมท้ังสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในกระบวนการบริหารจัดการชุมชน ซึ่งเป็นหมู่บ้านท่ีได้รับงบประมาณ สนับสนุนจากกรมการพฒั นาชุมชน และจังหวัดไดป้ ระกาศเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบท่ีกรมการพัฒนา ชมุ ชนสนับสนนุ กอ่ นปี 2563 และพัฒนาหมู่บ้านตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งต่อเน่อื ง อาเภอศรีสาคร ได้พิจารณาคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพต้นแบบ นางสาวเจ๊ะนาตีป๊ะ มะหิและ หมู่ท่ี 3 ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรีสาคร เข้ารับการประเมินในกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่นประจาปี 2563 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ในการพัฒนาหมู่บ้านตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ ประชาชนในหมู่บ้านมีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเป็นรูปธรรม โดยคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ สามารถเป็นตน้ แบบในการบรหิ ารจัดการชุมชนเพือ่ พง่ึ ตนเองได้ สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอศรีสาคร 19 พฤษภาคม 2563

สำรบัญ หนำ้ เร่ือง 1 ส่วนที่ 1 ข้อมลู ครัวเรอื นสัมมำชีพ ส่วนที่ 2 กำรประเมนิ ครัวเรือนสมั มำชพี ชมุ ชน 3 6 - มสี ัมมาชีพ 10 - มีความสัมพันธ์ทีด่ ี 12 - มสี ภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม 13 - ไม่ติดยาเสพตดิ 14 - ไม่มีหน้นี อกระบบ 16 ส่วนที่ 3 สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน ภำพกิจกรรม

สว่ นที่ 1 ข้อมูลครวั เรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2563 ************************************************* 1. ชอ่ื นางสาวเจ๊ะนาตีป๊ะ นามสกุล มะหแิ ละ วันเดือนปีเกิด 19 กรกฏาคม 2511 ปัจจบุ นั อายุ 52 ปี สถานท่ีอยู่บ้านเลขที่ 28/2 หมทู่ ่ี 3 ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96210 โทรศพั ท์ 086 - 2924972 โทรสาร...................-................................... Facebook : กะปะห์ ลาเวง E –Mail [email protected] สถานที่ทางาน ชือ่ หนว่ ยงาน.............................-................................................................................ เลขท.ี่ ..-........หม่ทู ี่....-......ตาบล..........-......................อาภอ.........-......................จังหวัด.........-.......... รหัสไปรษณยี .์ ..............-................โทรศัพท์..........-............โทรสาร.................-.................................. 2. ประวตั ิสว่ นตัว/การศกึ ษาและการฝึกอบรม จบการศึกษาชนั้ สงู สดุ ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) วทิ ยาลยั เทคนิคนราธวิ าส ปกี ารศกึ ษา 2524 ผา่ นการฝกึ อบรม 1. ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ การพฒั นาระบบมาตรฐานงานชุมชน ปี 2557 2. อบรมหลกั สูตรเทคนิคการเปน็ วทิ ยากรเครอื ข่ายดา้ นสหกรณ์ 3. อบรมหลักสูตรการฝึกอาชพี เสรมิ การทาเบเกอรี่ 4. อบรมหลกั สูตร ญาลันนนั บารู ทางสายใหม่ รุ่น 15 3. หน้าท่ีการงาน/อาชพี (อดีต/ปจั จบุ ัน) - ครูสอนปกั ผ้าในโครงการศิลปาชพี บ้านดาฮง - ประธานกล่มุ ผ้าคลุมผมสตรบี า้ นลาเวง 4. รางวัลที่เคยไดร้ ับ (ระบปุ ีที่ได้รบั ) 4.1 ชอื่ รางวัล พระราชทานสมเดจ็ พระนางพระบรมราชินีนาถ รางวลั ท่ี 2 (ภาพปกั ไหมนอ้ มขนาดกลาง ประเภทภาพสตั ว)์ ชื่อหนว่ ยงาน ทกั ษณิ ราชนิเวศน์ ปีท่ ี่ไดร้ บั 2548 4.2 ชอ่ื รางวลั ผู้นาสตรีเครือข่ายศูนยอ์ านวยการบรหิ ารจังหวดั ชายแดนใต้ ชื่อหนว่ ยงาน ศนู ย์อานวยการบริหารจงั หวดั ชายแดนใต้ ป่ที ไ่ี ดร้ ับ 2558 4.3 ชือ่ รางวลั สตรดี เี ด่น ประจาปี 2559 ชื่อหน่วยงาน อาเภอศรีสาคร ปี่ท่ไี ด้รบั 2559

-2- 5. ผลงานดเี ดน่ ที่ไดร้ ับการยอมรบั และเป็นประโยชน์ต่อสงั คม (เปน็ ผลงานทมี่ คี วามต่อเนือ่ งและยังดาเนินการจนถึง ปัจจบุ นั ) เป็นสตรีท่ีมีความเสียสละและรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้เป็นอย่างดีเย่ียม มีผลงานโดดเด่น เกีย่ วกับการส่งเสริมอาชีพ การทางานจิตอาสาตามโครงการ ญาลันนันบารู และคณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับ ตาบลอีกทัง้ ยงั ให้ความสาคัญกับงาน พัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่องในฐานะอาสาพัฒนาชุมชนบ้านลาเวงและให้ความ ร่วมมือในการทางานในพ้ืนไดด้ ีเสมอมา

-3- สว่ นท่ี 2 การประเมนิ ครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน สัมมาชีพ เป็นการประกอบอาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดเบียน สิ่งแวดล้อม และมีรายได้มากกว่ารายจ่าย เป็นความพยายามท่ีจะปรับจากการ “ทามาหากิน” เป็น “ทามา ค้าขาย” โดยไมไ่ ด้เอากาไรสงู สดุ เปน็ ตัวต้ัง หรอื เป็นเป้าหมายสดุ ทา้ ย และตอ้ งคานงึ ถงึ ความเปน็ ธรรมทางสงั คม รายละเอียดกิจกรรมตามแบบประเมนิ 3 มี 2 ไม่ 3 มี - มีสัมมาชีพ - มคี วามสัมพันธ์ท่ีดี - มีสภาพแวดลอ้ มเหมาะสม 2 ไม่ - ไม่ติดยาเสพตดิ - ไม่มหี น้ีนอกระบบ ผลการดาเนนิ งานของครวั เรือนสมั มาชพี 1. มสี ัมมาชพี 1.1 ครวั เรือนประสบผลสาเรจ็ ในการประกอบสมั มาชีพสามารถเป็นแบบอยา่ งได้ - ดารงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง - เป็นครูสอนปักผา้ ในโครงการศิลปาชพี บ้านดาฮง - ประธานกลุ่มผ้าคลุมผมสตรีบ้านลาเวง มีผลิตภัณฑ์ของกลุ่มหลายประเภท ผ้าคลุมผม เขม็ กลดั ปลอกหมอน และรบั งานปกั ทกุ ชนิด - สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่ชุมชน และผู้ท่ีสนใจ ได้ศึกษาหาความรู้ พร้อมคาแนะนาใน เร่ืองของงานปกั และการดารงชวี ติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

-4- ผลที่เกิดจากการทากิจกรรม - สามารถเป็นตัวอย่างท่ีดีให้กับชุมชน / และเป็นศูนย์เรียนรู้สามารถศึกษาดูงานได้ พร้อมแนะนาให้ชุมชนปลูกผักสวนครัว เพื่อให้ชุมชนกินอยู่อย่างพอเพียงและเพียงพอ และการประกอบอาชีพ เสริมด้านการปักผา้ การทางานเป็นสง่ิ ท่ีเราตอ้ งทา เพราะทาใหเ้ รามรี ายได้ทจี่ ะนามาใช้จ่ายในการดาเนินชีวิต และ งานท่ที าต้องเป็นงานที่สจุ รติ และไมผ่ ดิ กฎหมาย 1. เพอื่ ตนเอง เป็นการประกอบอาชีพเพ่ือให้ได้เงินหรือรายได้มาจับจ่ายใช้สอยสาหรับการดาเนินชีวิต และ ตอบสนองความตอ้ งการของตนเอง ความรู้ที่ได้รบั จะเปน็ พ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ เพือ่ ให้มีรายได้มาซ้ือปัจจัย สี่และสิง่ ของอื่น ๆ ในการดารงชีวติ และสร้างมาตรฐานท่ีดใี ห้แก่ตนเอง ครอบครวั และสงั คม 2. เพ่ีอครอบครัว ครอบครัวเป็นหน่วยสังคมที่เล็กท่ีสุด สมาชิกของครอบครัวประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก ซ่ึงมี ภาระหน้าท่ีท่ีจะต้องปฏิบัติต่อกัน เช่น พ่อแม่มีหน้าท่ีเล้ียงดูลูกและให้การศึกษา เพื่อประกอบอาชีพใน อนาคต ลูกมีหน้าที่ศึกษาเล่าเรียนจนสาเร็จการศึกษา แล้วแสวงหาอาชีพ เพ่ือหารายได้มาเล้ียงดูตนเอง พ่อ แม่ และทุกคนในครอบครัว ให้มมี าตรฐานความเป็นอยทู่ ด่ี ีขึ้น 3. เพื่อชมุ ชน ครอบครัวเป็นส่วนหน่ึงของชุมชนหรือสังคม หากสมาชิกแต่ละครอบครัวประกอบอาชีพที่สุดจริต ถูกต้องตามกฎหมาย และมีอาชีพท่ีม่ันคง รายได้ดี และมีโอกาสก้าวหน้าภายในชุมชน ทาให้ชุมชน เขม้ แขง็ เศรษฐกิจของชมุ ชนเจรญิ รงุ่ เรืองสามารถพ่งึ พาตนเองได้ 4. เพ่อื ประเทศชาติ เมือ่ ประชาชนในชาติมกี ารประกอบอาชพี มีรายได้มาเลี้ยงตนเองและครอบครัว ทาให้อัตราการ วา่ งงานลดน้อยลง ยอ่ มเป็นการแก้ไขปญั หาสงั คมให้กับรัฐบาล สภาพสังคมมีความเป็นอยู่ท่ีดี มีการใช้ทรัพยากร ภายในชุมชน รายได้เกิดการหมุนเวียน ทาให้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก้าวหน้า ผลจากการที่ประชาชน ประกอบอาชีพ มงี านทา มีรายได้ ชุมชนมคี วามเข้าแข็งและชาระภาษีให้แก่รัฐ เพื่อรัฐจะได้นาไปพัฒนาประเทศ ในด้านต่าง ๆ เช่น การสร้างถนน สะพาน เข่ือน โรงไฟฟ้า เป็นต้น การประกอบอาชีพของประชาชน ใน ชุมชนและในประเทศ จึงเป็นการช่วยพฒั นาประเทศชาตไิ ด้อีกทางหนึ่ง 1.2 ครวั เรอื นมีการจดั ทาบญั ชคี รวั เรือน - มีการจดั ทาบัญชคี รวั เรือนอยา่ งสม่าเสมอ

-5- ผลท่ีเกดิ จากการทากิจกรรม ทาให้รู้ว่าเราควรมีการจัดการกับการใช้จ่ายหรือการทารายรับรายจ่ายอย่างไร ควรที่จะใช้จ่าย อะไรไปบ้าง รู้จักตนเอง ฝึกความมีระเบียบในตนเอง ลดละส่ิงท่ีฟุ่มเฟือย รู้จักการอดออมและรู้จักการพ่ึงพา ตนเอง มคี วามระมัดระวงั ในเร่ืองการใชจ้ ่ายมากข้ึน รคู้ ณุ ค่าของเงินมีความรอบคอบ ฝึกจัดระเบยี บการจดั การเงิน เพ่อื ให้เป็นนสิ ัย ใหร้ จู้ กั การประหยดั และอดออม เพ่ืออนาคตของเราเองและครอบครวั ของเราเอง 1.3 ครัวเรือนมีการออม 1. สหกรณ์การเกษตรอาเภอศรีสาคร เดือนละ 200 บาท 2. วิสาหกิจวานตี า เดอื นละ 200 บาท 3. สวสั ดิการวนีตา ปีละ 365 บาท (วันละ 1 บาท) 4. สวสั ดิการชมุ ชนฌาปนกจิ บา้ นลาเวง ครงั้ ละ 4 บาท ผลท่เี กิดจากการทากิจกรรม - ครัวเรือนสามารถมีเงินเก็บสะสม เป็นการเก็บเงินไว้เพ่ือใช้จ่ายในวันข้างหน้าเมื่อมี เหตุการณจ์ าเป็น เช่น เจ็บป่วย ค่าเทอม เพ่อื เปน็ เงนิ ทนุ ในการประกอบอาชพี หรือเมื่อเข้าสู่วัยชราไม่เป็นภาระ ต่อลกู หลาน ทาใหเ้ กิดผลดี ดงั น้ี 1. สร้างวนิ ยั เป็นการสร้างเด็กๆให้มีวินัยโดยเร่ิมจากการออมเงิน สร้างความมีระเบียบวินัย สามารถ กาหนดการฝากเงนิ ทุกๆ สิน้ เดือน จนกลายเป็นกิจวัตรประจาวนั

-6- 2. เงินเก็บ ออมเงิน ที่เห็นได้อย่างแรกเลยคือเงินเก็บ เกิดความภูมิใจที่รู้จักอดออม หากมีเงินเก็บมากพอ สามารถได้ส่งิ ของทีต่ ้องการได้ 3. เปน็ ทนุ ในการนาไปสรา้ งมลู ค่า เม่ือมเี งนิ เกบ็ จานวนทีม่ ากพอสามารถนาไปใช้ซ้ือส่ิงท่ีอยากได้แล้ว อาจนาเงินจานวนนั้นไปสร้าง มลู คา่ ใหง้ อกเงยเพม่ิ ขึน้ อกี ได้ด้วย หากฝากไวก้ บั ธนาคาร อาจนาเงินออมนั้นไปเปิดกิจการเลก็ ๆ ซอ้ื กองทุนรวม 4. เพิ่มความม่นั คงในอนาคต การมเี งินออมไวจ้ านวนหน่ึงก็เหมือนมีเกราะป้องกันสิ่งท่ีคาดไม่ถึง อนาคตจะเป็นเช่นไร อาจใช้ ชวี ติ ปกตสิ ุขดี เงินจานวนนก้ี เ็ ก็บเอาไว้ซอ้ื ความสุข แต่หากเกิดสิ่งเลวร้าย แต่เงินออมน้ีแหละที่จะช่วยให้ปัญหาเบา ข้นึ เช่น คณุ อาจประสบอุบัติเหตหุ รอื ตรวจพบโรคร้ายแรงจนไม่สามารถประกอบอาชีพดังเดิมได้ช่ัวขณะ ตราบใด ท่ีมีเงนิ ออมเกบ็ ไวจ้ านวนหน่ึง บางทีปญั หาเหลา่ นี้อาจเบาขน้ึ กว่าหากเทยี บกับการไม่มีเงินเก็บเลย เพราะไม่ต้องกู้ หนย้ี มื สิน และท่สี าคัญ มคี วามมั่นคงว่าในอนาคตจะไมต่ อ้ งเป็นภาระใหก้ บั ลกู หลาน 2.มีความสัมพนั ธ์ที่ดี 2.1 สมาชิกในครัวเรือนมวี ถิ ีชวี ิตประชาธปิ ไตยและทากจิ กรรมร่วมกนั อยา่ งสม่าเสมอ - สมาชกิ ในครวั เรอื นได้เขา้ ร่วมกจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกผักสวนครวั ผลท่เี กดิ จากการทากิจกรรม - ไดเ้ รียนรูว้ ิถชี ีวิตเศรษฐกจิ พอเพยี ง - สมาชกิ ในครอบครัวรูจ้ กั บทบาทหน้าท่ีตนเอง มสี ัมมาคารวะ มีความรับผิดชอบ มี ความซอื่ สตั ย์สุจรติ ไมค่ ดโกง ไมล่ กั ขโมย ไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับครอบครัว เศรษฐกจิ พอเพียงเป็นกรอบแนวคดิ ซงึ่ ม่งุ ใหท้ ุกคนสามารถพ่ึงพาตวั เองได้ รวมถึงการพัฒนาให้ดี ย่ิงขึน้ จนเกดิ ความยัง่ ยนื คาว่า พอเพียง คือ การดาเนินชีวติ แบบทางสายกลาง โดยต้ังอยู่บนหลักสาคญั สาม ประการ คอื ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และการมีภูมคิ ุ้มกันที่ดี

-7- ความพอประมาณ ดารงชวี ิตให้เหมาะสม ซง่ึ เราควรจะมคี วามพอประมาณทั้งการหารายได้ และพอประมาณในการ ใชจ้ ่าย ความพอประมาณในการหารายได้ด้วยความสุจริต ทางานให้เต็มความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ส่วน ความพอประมาณในการใชจ้ า่ ย คือการใชจ้ า่ ยใหเ้ หมาะกับฐานะความเปน็ อยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จ่ายเกินตัว และใช้จ่ายในการดูแลตนเอง และครอบครวั อยา่ งเหมาะสม ไมอ่ ยู่อย่างลาบาก และฝดื เคืองจนเกินไป ความมเี หตุผล ไมว่ า่ จะเปน็ การทาธุรกิจ หรือการดารงชีวติ ประจาวัน จาเปน็ ตอ้ งมกี ารตัดสนิ ใจตลอดเวลา ซึ่ง การตัดสนิ ใจทดี่ ี ควรตั้งอยู่บนการไตรต่ รองถงึ เหตุ รวมทัง้ คานึงถึงผลที่อาจตามมาจากการตดั สนิ ใจอยา่ งรอบคอบ ไม่ใช่ตดั สินใจตามอารมณ์ หรือจากสง่ิ ท่ีคนอ่ืนบอกมาโดยปราศจากการวิเคราะห์ การมภี มู คิ ุ้มกันท่ดี ี เป็นการเตรียมตัวให้พร้อมรับกับความเปล่ียนแปลงในโลกท่ีไม่มีอะไรแน่นอน ท้ังสภาพลม ฟ้า อากาศท่ีไม่เอ้ืออานวยแม้แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ท้ังในและต่างประเทศท่ีมีผลต่อการลงทุน เราจึง จาเป็นตอ้ งเรียนรู้ท่ีจะดารงอย่ไู ด้ด้วยการพึง่ พาตนเอง และตั้งอยู่ในความไมป่ ระมาทอย่เู สมอ เช่น เตรียมแผนสารอง สาหรบั แตล่ ะสถานการณ์ การมีรายได้หลายทางเพ่ือลดความเสยี่ งในวนั อนาคต โดยการดารงชีวิตตามหลักการท้ังสามข้อนั้น จาเป็นต้องมีความรู้และคุณธรรมประกอบด้วย ความร้ชู ่วยสร้างภูมิคุม้ กนั ท่ีเหมาะสม ช่วยทาให้เราตดั สินใจได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ถึงแม้ว่า พื้นฐานความคิดและ ประสบการณ์ท่ีแตกตา่ งกนั อาจทาให้เหตุผลของแต่ละคนน้ันแตกต่างกนั แตห่ ากทุกคนยึดมั่นอยู่ในหลักคุณธรรม ก็ จะทาให้การอยูร่ ่วมกันในสงั คมเปน็ ไปอย่างสงบสุข การพึ่งพาตัวเองได้เป็นเพียงส่วนเริ่มต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเม่ือทุกคนสามารถ ดูแลตัวเอง และครอบครัวได้แล้ว ขั้นต่อไปอาจทาการพัฒนาธุรกิจ โดยมีการรวมกลุ่มกันในวิชาชีพเดียวกัน เพื่อ แลกเปล่ียนความรู้และให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในการรวมกลุ่มกันน้ัน ไม่จากัดเฉพาะการรวมกลุ่มของ ชาวบ้าน เกษตรกร ในรูปของสหกรณ์ การทางานในเมืองก็สามารถมีการรวมกลุ่มกันได้ เช่น การแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ การแลกเปล่ียนแนวคิด เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ รวมไปจนถึงการแบ่งปันความช่วยเหลือ สง่ กลับคืนส่สู ังคม ไปสกู่ ล่มุ ทีย่ ังต้องการความช่วยเหลืออยู่ เช่น กิจกรรมจิตอาสา เพ่ือสร้างสังคมที่เข้มแข็งและอยู่ ร่วมกันอยา่ งสงบสขุ แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงน้ัน เป็นแนวคิดท่ีตั้งอยู่บนความไม่ประมาท ด้วยการใช้ความรู้และ คุณธรรม เพอ่ื ใหเ้ กิดการพึ่งพาตัวเองได้ และเผ่ือแผ่ไปถึงสังคม ซ่ึงเราสามารถนาหลักการปฏิบัติไปปรับใช้ได้ท้ังใน ชีวติ การทางาน และการดารงชวี ิต

-8- 2.2 สมาชิกในครัวเรอื นไม่มีการใช้ความรุนแรง - ไม่มีความรุนแรงเพราะอยู่แบบพอเพียง มีความเมตตา เอื้อเฟ้ือ เสียสละให้อภัยและ เออื้ อาทรตอ่ สมาชกิ ในครอบครัวทุกคน ไม่ลงโทษต่อสมาชิกในครอบครัวโดยวิธีท่ีรุนแรงไม่แสดงกิริยาข่มขู่ หรือทา ให้บคุ คลในครอบครวั อบั อาย เมอื่ รกั แล้วควรแสดงออกทางกาย ทางวาจาด้วย เชน่ บอกรักกันทุกวันโอบกอด จูบแสดง ความห่วงใย ฯลฯ ส่ิงเหล่านี้ล้วนเป็นการกระชับสายสัมพันธ์ระหว่าง พ่อ แม่ ลูกให้แน่นแฟ้นมากย่ิงขึ้น มีการ พดู คยุ ถามไถส่ ารทุกขส์ กุ ดบิ กันทกุ วนั ผลทีเ่ กิดจากการทากิจกรรม - รูจ้ ักยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ซงึ่ กนั และกัน - สมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่สามัคคี ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง มีความเห็นอกเห็นใจกัน ใหก้ ารชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกัน ความไวว้ างใจ ครอบครวั อบอนุ่ ไมเ่ พียงแค่ต้องการความรักอย่างเดยี ว แตย่ ังต้องการความไว้วางใจ ความซื่อสัตย์ ต่อกันและกันดว้ ย หากครอบครวั ไหนที่ขาดความไว้วางใจซึ่งกันและกันแล้ว ความระหองระแหง ความไม่มั่นคงใน ครอบครัวกจ็ ะเกิดข้ึนตามมาได้ เวลา เราคงเคยได้ยินคาพดู ท่วี ่า เงินคือพระเจา้ แต่สิ่งที่สาคัญยิ่งกว่าเงินกลับกลายเป็น เวลา เพียงแค่ เสียสละเวลาของตัวเองวันละ 1- 2 ชั่วโมงเพื่อมอบให้กับครอบครัว โดย 1 – 2 ช่ัวโมงท่ีว่าน้ันต้องมีการทา กิจกรรมร่วมกันด้วย ต้องทาให้เป็นเวลาท่ีมีค่า เช่น เอาไว้เล่นกับลูก อ่านนิทานให้ลูกฟัง หรือแม้กระท่ังการ อบรมสงั่ สอนลูก ฯลฯ เปน็ การเพมิ่ ความอบอนุ่ ใหก้ บั ครอบครัวได้อยา่ งดี ละเวน้ ความรุนแรง ทุกส่ิงทุกอย่างบนโลกใบนี้ล้วนพูดคุยกันได้ด้วยเหตุผล ขอเพียงแค่ความเข้าใจ ความรัก และ รูจ้ กั ยบั ยั้งอารมณเ์ ท่านน้ั เอง การให้อภยั การใหอ้ ภัยและเปิดโอกาสให้อีกฝ่ายไดท้ าในสง่ิ ท่ถี กู ทคี่ วร รวมท้ังมีโอกาสได้ปรับปรุงตัวน่ันแสดง ถงึ ความมีนา้ ใจต่อกัน นอกจากน้กี ารให้กาลังใจ หรอื การปลอบประโลมซง่ึ กนั และกัน ก็ช่วยทาให้ความรัก ความ อบอุ่นหย่งั รากลกึ ลงไปในจติ ใจ

-9- ๒.๓ สมาชิกในครัวเรอื นเปน็ สมาชิกกลุ่มองค์กร ในชุมชนอยา่ งนอ้ ย ๑ กลุม่ /องคก์ ร 1) ประธานกลมุ่ ผ้าคลมุ ผมสตรีบา้ นลาเวง 2) ประธานศนู ยเ์ รยี นรบู้ ้านลาเวง 3) สมาชกิ กลมุ่ ปักผ้าบ้านดาฮง 4) สมาชกิ ฌาปนกิจบา้ นลาเวง ผลทีเ่ กดิ จากการทากิจกรรม 1. ช่วยให้การทางานเป็นระบบท่ดี ี มกี ารแบง่ งานตามหน้าท่แี ละความรบั ผดิ ชอบทาให้งานบรรลุ เป้าหมายตามทกี่ ลุ่มและทีมงานรบั ผดิ ชอบ 2. ช่วยให้มีการนาหลกั มนษุ ย์สัมพันธ์มาใช้ในกลุ่มและทมี งาน เชน่ การรเู้ รา รู้เขา เอาใจเขามา ใส่ใจเรา งานของกลมุ่ และทมี งานจะดาเนินไปดว้ ยดี 3. ชว่ ยใหเ้ กดิ รู้รักสามัคครี ะหวา่ งสมาชิกของกลมุ่ และทมี งาน ในการทางานใหป้ ระสานสมั พันธ์ท่ี ดตี อ่ กนั 4. ช่วยสรา้ งขวญั และกาลงั ใจในการทางานกล่มุ และทมี งาน 5. ช่วยให้เกดิ ความม่ันคงในอาชีพเนือ่ งจากการทางานเป็นกลุ่มหรอื ทมี งาน จะกอ่ ให้เกิดความเป็น ปึกแผน่ ของมวลสมาชิกในกลมุ่ หรอื ทมี งาน อนั จะก่อให้เกิดความเกรงใจของคณะผบู้ รหิ ารทมี่ ีต่อกลุม่ หรอื ทีมงาน 6. ชว่ ยใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกการยอมรบั นับถอื ของสมาชกิ ในทีมงานทเี่ รียกวา่ คารวธรรม มกี าร เคารพนับถอื เปน็ พเ่ี ปน็ นอ้ ง กอ่ ใหเ้ กิดการถ้อยทีถ้อยอาศัย

-10- 3. มสี ภาพแวดลอ้ มเหมาะสม 3.1 มปี ้ายครัวเรือนและจดั ระเบยี บบ้านใหส้ ะอาดถูกสขุ ลักษณะ - การพฒั นาปรับปรุงบ้าน หรือการจัดการท่ีพักอาศัย ให้สะอาดถกู สุขลักษณะ - มีการจัดระเบยี บดแู ลในครัวเรอื น อากาศถ่ายเท สะดวก - มีอปุ กรณ์ในการจัดการดแู ลความสะดวก ผลที่เกดิ จากการทากิจกรรม 1. เกดิ สภาพแวดล้อมดีภายในบ้านและบรเิ วณโดยรอบ รวมถงึ หมู่บา้ น/ชมุ ชน ทเ่ี อือ้ ต่อการมสี ขุ ภาพดี ท้ังทาง รา่ งกายและจิตใจ 2. เกดิ สขุ นสิ ยั ท่ดี ีในเรอ่ื งการสขุ าภิบาลสิง่ แวดล้อม และพฤตกิ รรมอนามัยสว่ นบคุ คล 3. ปอ้ งกนั และลดอตั ราการเกดิ โรคท่มี ีปัจจยั ด้านสง่ิ แวดล้อม 4. เกิดสัมพันธภาพหรือบรรยากาศท่ีดีในครัวเรือน ช่วยให้ครอบครัวมีความอบอุ่น มี ความรกั เออื้ อาทร ซ่งึ กันและกนั 3.2 มีการบริหารจดั การขยะอย่างเหมาะสมไม่เปน็ มลพษิ ต่อสิ่งแวดล้อม - มีการจดั การแยะประเภทขยะ * ขยะรีไซคเ์ คิล แยกไว้ขายต่อได้ * ขยะพลาสติก ใชว้ ธิ ีการขุดหลุมและฝ่งั กลบ * ขยะเปยี ก แยกนาไปใช้ทาปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ผลท่เี กดิ จากการทากิจกรรม - สร้างจิตสานึกในการคัดแยกขยะให้แก่คน ในครอบครัวและชุมชน ถูกวิธีและเป็นกิจวัตรประจาวัน สามารถนา ขยะท่มี ีประโยชน์ไปสร้างเป็นมลู คา่ ได้

-11- 3.3 มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมหรือสาธารณประโยชน์ - มกี ารปลกู ป่าเพอ่ื เนน้ ปา่ ชมุ ชน นา้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง การปลกู ปา่ 3 อย่าง ได้ประโยชน์ 4 อยา่ ง พระองค์มพี ระราชดารสั ดังน้ี “การ ปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชนใ์ หเ้ ขาไดใ้ ห้ใชว้ ธิ ีปลูกไม้ 3 อยา่ ง แตม่ ีประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใชส้ อย ไมก้ ินได้ ไม้เศรษฐกิจ โดยปลกู รองรับการชลประทาน ปลูกรบั ซับน้า และปลกู อุดช่วงไหลต่ ามรอ่ งหว้ ยโดยรับนา้ ฝนอย่างเดียว ประโยชน์อยผา่ งลทที่ 4เ่ี กคิดอื จสาากมการาถรชท่วายกอนิจรุกกั รษรด์รนิมและน้า” แปลความสรปุ อยา่ งเข้า-ใสจงาา่ มยาปรถลกูมไีนมา้ใหเกพ้ บ็ อใอชยใู้่ นพอศกูนนิ ย์เพรอยี ในช้รแเู้ ลศะรรษะฐบกบจิ นพเิ วอศเนพ์ ียงได้ พออยู่ หมายถงึ ไมเ้ ศรษฐกจิ ปลกู ไวท้ าทอ่ี ยู่อาศยั และจาหนา่ ย พอกนิ หมายถงึ ปลกู พืชเกษตรเพือ่ การกินและสมนุ ไพร พอใช้ หมายถึง ปลูกไม้ไว้ใชส้ อยโดยตรงและพลงั งาน เชน่ ไมฟ้ นื , และไม้ไผ่ เป็นตน้ ประโยชนต์ อ่ ระบบนิเวศน์ สร้างความสมบรู ณแ์ ละก่อใหเ้ กิดความหลากหลายทางชวี ภาพในพนื้ ท่ีปา่ โครงการปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อยา่ ง ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลที่เกิดจากการทากิจกรรม - ปลกู ป่าเสริมธรรมชาตเิ ปน็ การสร้างความอดุ มสมบรู ณใ์ ห้กบั ชมุ ชน - เป็นแหล่งต้นน้าลาธารอันส่งผลต่อการประกอบอาชีพทางการเกษตร การอุปโภค และการบริโภคในครัวเรือน - การสร้างความร่วมมือกันดาเนินกิจกรรมจัดการป่าไม้อันเป็นการทางานเพ่ือ ส่วนรวม อันส่งผลต่อความรักสามัคคีที่สามารถส่งผลต่อการดาเนินกิจกรรมอ่ืนๆ ร่วมกันในชุมชน

-12- 2. ไม่ 1. ไมต่ ิดยาเสพตดิ สมาชิกในครัวเรอื นไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ยาเสพติด และอบายมขุ อ่ืนๆ - ไม่ยุ่งเกีย่ วกับยาเสพตดิ และอบายมขุ - เสริมสร้างการรับรู้คุณค่าในตนเองให้กับเด็กผ่านการให้ความรักและความเอาใจใส่ เพอ่ื ใหเ้ ด็กเกดิ ความมนั่ ใจในตนเองและรบั รู้วา่ คนในครอบครัวพรอ้ มท่จี ะอยู่เคียงข้างตนเองเสมอยามเม่ือเกิดปัญหา ในชีวิต เสริมสร้างทักษะการตัดสินใจและการรู้จักปฏิเสธส่ิงท่ีไม่ดีให้กับเด็ก เพื่อไม่ให้หวั่นไหวไปกับการชักจูงไป ในทางที่ไม่ดจี ากกลุ่มเพื่อนหรือสภาพแวดล้อมอื่นๆ - คอยสังเกตพฤติกรรมของเด็กอย่างสม่าเสมอ ท้ังในเรื่องการใช้ชีวิตประจาวัน การ เรยี น การคบหาเพอื่ น นอกจากน้ี การสนับสนนุ ใหเ้ ด็กเข้าร่วมทากจิ กรรมท่ี จะชว่ ยให้เด็กใช้เวลาอย่างมีคุณค่าและ ไดเ้ ขา้ สงั คมทห่ี ลากหลาย และเปน็ เรือ่ งดีหากได้รู้จักใกล้ชิดกับเพื่อนของเด็กและผู้ปกครองอื่นเพื่อช่วยกันสอดส่อง ดแู ลพฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสม สรา้ งความรกั ความไวว้ างใจกัน ส่งเสริมให้บตุ รหลานใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ผลท่เี กิดจากการทากิจกรรม - ครอบครวั สามารถอย่ไู ด้อยา่ งอบอุ่น และมเี งนิ เกบ็ ไวใ้ ช้จ่ายอยา่ งเปน็ ได้ - เกิดความสัมพันธท์ ด่ี แี ละยงั่ ยนื ระหว่างผู้ปกครองและเด็กจาเป็นต้องเริ่มต้ังแต่ช่วงก่อน วยั เรียน ซึง่ เป็นช่วงทสี่ าคญั ที่สดุ ในการวางรากฐานความคิดและการดาเนินชีวิตต่อไปในอนาคต แม้เด็กวัยน้ีจะยัง ไม่ไดเ้ ขา้ ไปเกีย่ วขอ้ งกับยาเสพตดิ แต่เมื่อปลกู ฝังเรื่องการกินอยูอ่ ยา่ งมสี ุขภาพดี แนะนาการรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ การดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย การเล่นและออกกาลังกายเพื่อพัฒนาทักษะในด้านต่างๆอย่าง เหมาะสม ทัง้ ในเร่อื งการคิด การตัดสินใจ และการรบั ผดิ ชอบในเร่อื งต่างๆ

-13- 2. ไม่มหี นี้นอกระบบ สมาชกิ ในครัวเรือนไม่มีการกู้ยืมเงนิ นอกระบบ และไม่มหี นี้สินลน้ พน้ ตัว - ไมม่ ีการก้ยู ืมเงินนอกระบบกู้ เพราะดารงชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง - ผลทเี่ กดิ จากการทากิจกรรม - ไม่มหี น้สี ินไม่เดือดร้อนในการจ่ายหน้ีนอกระบบ - ทาให้ครอบครวั อบอนุ่ มคี รอบครวั ที่อบอุ่นทาให้เราดาเนินชีวติ ได้อยา่ งปกตสิ ขุ คนที่มี ครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทาหน้าท่ีได้เหมาะสม และทาให้สมาชิกในครอบครัวมี สุขภาพจิตดไี ปด้วย

-14- ส่วนที่ 3 สรุปผลการดาเนนิ งาน การที่มีครอบครัวทอ่ี บอนุ่ สมาชกิ แต่ละคนในครอบครัวจะต้องมีบทบาทความเป็นผู้นา ในวาระที่แตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ แมจ่ ะเปน็ ผู้นาและเป็น ผู้ตัดสินใจเก่ียวกับการดูแลครอบครัวและ การดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น เร่ืองอาหารการกินในบ้าน ส่วนพ่อจะเป็นผู้นาในเรื่องท่ีสาคัญ เช่น เรือ่ งภายนอกบ้าน และสมาชิก ในบ้านควรมสี ่วนในการสนบั สนุนความคดิ ของผนู้ าในครอบครวั รว่ มกันคิดเรื่องการพัฒนาใช้ข้อมูลท่ีคนในชุมชนร่วมกันทา และแปลงเป็นแผนในการ บริหารการพัฒนาของชุมชน คนในชุมชน ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับประโยชน์ ร่วมเรียนรู้ และ รว่ มตรวจสอบ กระบวนการเรียนรทู้ ี่สาคญั และทาให้การผสานพลงั สรา้ งเศรษฐกิจฐานล่างที่ยั่งยืนได้ จริง คือ กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเน่ืองผ่านการปฏิบัติ (Interactive learning though action) เป็นการผสานพลังของวิถีท่ีแตกต่างกันของวิถีธุรกิจ เข้าไปเติมเต็มวิถีชุมชน โดยถือหลัก ปฏิบัติที่สาคัญ คือ \"ไปหาชาวบ้าน อยู่กับเขา เรียนรู้จากเขา วางแผนกับเขา ทางานกบั เขา เริม่ จากส่ิงที่เขารู้ สร้างจากสิ่งที่เขามี สอนโดยช้ีให้เห็น เรียนจาก การทา” (ดร.ป๋วย อึง๊ ภากรณ)์ ปัญหา/อุปสรรค ไมม่ ี ข้อเสนอแนะ อยากใหช้ าวบา้ นในชุมชนไดห้ ันมาทากิจกรรมปลูกผักสวนครัวรั้วกันได้ เพ่ือสง่ เสริมการลด รายจ่าย - เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9 เพ่ือให้ ครอบครัวได้ทากิจกรรมร่วมกัน และมีกิจกรรมอาชีพเสริมทา ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น การปักผ้าคลุม การปักเข็มกลัด การปักปลอกหมอน แนวพระราชดาริในการดาเนนิ ชวี ติ แบบพอเพยี ง ๑. ดารงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดความประหยัดไม่ฟมุ่ เฟือย ตัดทอน ค่าใช้จา่ ยทีไ่ มจ่ าเปน็ ส่งผลให้ตนเองและครอบครัวดารงชีวิตอย่างมีความสขุ มีความพอเพยี งในชวี ติ ๒. ประกอบอาชพี ตามหลักสัมมาชพี ชมุ ชน ไมเ่ บียดเบยี นตนเอง ผอู้ ่ืน และสง่ิ แวดล้อม ด้วยการ เปน็ เกษตรกรทใ่ี ช้องค์ความรจู้ ัดการไรน่ าสวนผสม สรา้ งรายไดใ้ ห้แก่ครอบครวั อยา่ งเป็นกอบเป็นกา ๓. เปน็ ผู้ศึกษาหาความรู้และพัฒนาตนเองอยเู่ สมอ และลงมอื ปฏิบตั ิด้วยตนเอง จนสามารถเปน็ วิทยากรถา่ ยทอดความรู้แกค่ รวั เรือนอนื่ ได้

-15-

-16- ภาพกจิ กรรม เข้ารบั การฝกึ อบรมหลกั สูตรตา่ งๆ เพอื่ รบั ความร้แู ละการพฒั นา ตนเอง พรอ้ มกับ-1ถ1่าย-ทอดความรู้ให้ผอู้ น่ื ต่อ

-17- ภาพกิจกรรม ตอ้ นรับคณะดูงานจากหลายๆ หน่วยงาน จากต่างประเทศ และเขา้ รับการฝึ กอบรมเรียนรู้อยา่ งสม่าเสมอ

คณะผูจ้ ดั ทำ ที่ปรึกษำ นายกรชิ นอ้ ยผา นายอาเภอศรสี าคร นายกติ ติพงษ์ อาพันธ์ ปลัดอาเภอ (เจ้าพนกั งานปกครองชานาญการพิเศษ) นางสาวนาฏยา ศรสี ายันต์ พฒั นาการอาเภอศรีสาคร คณะทำงำน นางซากีย๊ะ เหงบารู นกั วิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ นางปารวี แซ่เง้า นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ นางสาวนซั รี ปะเตะ๊ นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ นางสาวคอลเี ย๊าะ แวโดยี อาสาพฒั นา (อสพ.) พสิ ูจน์อกั ษร นางสาวปลม้ื จิต เหมือนใจ เจ้าพนกั งานพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ัติงาน นางสาวรอหานา เยน็ นิยม เจา้ พนักงานพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ตั งิ าน

สำนกั งำนพัฒนำชุมชนอำเภอศรสี ำคร ถนน กรป.รงั สรรค์ หมูท่ ่ี ๑ ตำบลซำกอ อำเภอศรสี ำคร จังหวัดนรำธิวำส ๙๖๒๑๐ โทร. ๐๘๑ – ๘๒๑ – ๑๓๗๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook