Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

A05

Published by epalateh, 2021-04-25 05:38:17

Description: A05

Search

Read the Text Version

สนบั สนนุ โดย สำนกั งำนพฒั นำชมุ ชนอำเภอศรสี ำคร โทร . 081 – 821 1376

คำนำ ตำบลกำหลงได้น้อมนำมำเป็นแนวทำงปฏิบัติ ซ่ึงเป็นรูปแบบกำรขับเคลื่อนเชิง คุณภำพ เพ่ือให้เกิดผลสำเร็จฝังรำกลึกทำงวัฒนธรรมให้อยู่ในจิตสำนึกแก่ประชำชนอย่ำงย่ังยืน และสำมำรถขับเคล่ือนให้เกิดประโยชน์ต่อประชำชนอย่ำงทั่วถึง เป็นกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถ ของผู้นำชุมชนให้สำมำรถบูรณำกำรงำนพัฒนำชุมชน นำไปสู่กำรพ่ึงพำตนเองได้ ในพ้ืนที่มีผู้นำ ระดบั ท้องที่ เช่น ผใู้ หญ่บ้ำน กำนัน นำยกองคก์ ำรบริหำรสว่ นตำบล ผู้นำธรรมชำติ เช่น พระสงฆ์ ผทู้ ่มี คี นนับถอื ในชมุ ชน รวมถงึ ผนู้ ำที่เปน็ รำชกำร เชน่ นำยอำเภอ หวั หน้ำส่วนรำชกำรต่ำงๆ ร่วม เข้ำมำขับเคลอ่ื นกำรดำเนนิ งำนร่วมกัน โดยกำรปฏิบัติผู้นำต้องทำก่อน ให้พ่ีน้องประชำชนปฏิบัติ ตำม ด้วยกำรปลูกพืชผักสวนครัว ในครัวเรือน และพื้นท่ีส่วนรวม วัด โรงเรียน ถนนหนทำงใน หมูบ่ ้ำน ใหเ้ ป็นพน้ื ทที่ ีส่ รำ้ งควำมสวยงำม และสร้ำงควำมม่ันคงทำงอำหำรไดอ้ ย่ำงเปน็ รปู ธรรม บ้ำนประชำนิมิตร หมู่ท่ี 4 ตำบลกำหลง อำเภอศรีสำคร จังหวัดนรำธิวำส ไดร้ บั คดั เลือกเป็นตวั แทนเขำ้ ร่วมกจิ กรรมครั้งน้ีจะทำให้ 1 หมู่บำ้ น สำมำรถดูแลได้ทั้งตำบล สร้ำง ควำมมั่นคงทำงด้ำนอำหำร ดว้ ยหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นผู้นำทำงควำมคิด ตำม แนวทำงของสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี สอดคลอ้ งกับเปำ้ หมำยทย่ี ั่งยืนของ UN (องคก์ ำรสหประชำชำติ) ส่งเสริมกำรเกษตรกรรมที่ยั่งยืน และหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์พระรำชทำนให้พี่น้องประชำชน ซึ่งกระตุ้นให้ ผ้นู ำภำคสว่ นต่ำงๆ เข้ำมำมสี ่วนรว่ มในกำรขับเคล่ือนในระดับพ้ืนท่ี ในกำรสืบสำน รักษำ และต่อยอด ตำมพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศร มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร สู่พ่ีน้อง ประชำชน อย่ำงเป็นรูปธรรม โดยได้ดำเนินกำรขับเคล่ือนปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ควำม ยั่งยืนโลก (SEP to SDGs) และมีเป้ำหมำยเดียวกัน นั่นคือ กำรมุ่งพัฒนำ สร้ำงควำมสมดุลในมิติ สังคม เศรษฐกจิ และสิ่งแวดลอ้ ม พฒั นำประเทศไปสู่ควำมย่ังยืน เรำต้องลงมือปฏิบัติอย่ำงจริงจัง ศึกษำอย่ำงถ่องแทแ้ ละน้อมนำศำสตร์พระรำชำ “เขำ้ ใจ เข้ำถึง พัฒนำ” มำเป็นกระบวนทัศน์ใน กำรทำงำน อำทิ โครงกำรบ้ำนนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง ในพระรำชดำริของสมเด็จพระกนิษฐำธิรำช เจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี มำขยำยต่อยอดสู่กิจกรรมตำม แผนปฏบิ ัติกำร 90 วัน ปลกู ผักสวนครัว เพ่ือสร้ำงควำมมั่นคงทำงอำหำร ให้ผู้นำในท้องที่ต้องทำ กอ่ น สรำ้ งวัฒนธรรมปลูกพชื ผกั สวนครัว ให้เตม็ พื้นที่ นำไปสู่ 1 หมู่บ้ำนสำมำรถดูแลได้ 1 ตำบล 1 ตำบลดแู ลได้ 1 อำเภอ เป็นแหล่งของอำหำรไดอ้ ย่ำงย่ังยืน สำนักงำนพฒั นำชมุ ชนอำเภอศรสี ำคร 23 เมษำยน 2564

สำรบัญ หนำ้ คำนำ 1-2 สำรบัญ 3 บทนำ 4 ประวัตคิ วำมเปน็ มำของหม่บู ำ้ น วเิ ครำะห์สถำนกำรณ์ของชุมชน 6 8 1.ผลสำเรจ็ เป็นรูปธรรม 9 1.1 สร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำหำร 10 -กำรปลูกพชื 11 -เลีย้ งสัตว์ 12 -กำรแปรรปู 15 1.2 สร้ำงสิ่งแวดลอ้ มใหย้ ่ังยืน 16 -กำรบริหำรจัดกำรขยะ 17 -กำรจัดสุขลกั ษณะในบำ้ น 18 -กำรใช้ทรพั ยำกรอย่ำงคุม้ ค่ำ 20 1.3 สรำ้ งภูมิคมุ้ กันทำงสังคม 20 21 -กำรปฏิบตั ิศำสนกจิ -กำรออกกำลงั กำย 27 -กำรเข้ำร่วมกิจกรรมสำธำรณะประโยชน์ 1.4 มผี ลท่เี กิดจำกกำรนำกจิ กรรม / ผลงำนของผูน้ ำกำรเปล่ยี นแปลงไปเผยแพรห่ รือ ขยำย 31 ผล เพื่อใช้ประโยชน์ในระดับตำบล 1.5 ดำเนินกำรตำมข้อ 1.4 แล้วขยำยผล สู่ระดบั อำเภอ อยำ่ งน้อย 1 กิจกรรม 38 1.6 ดำเนินกำรตำมขอ้ 1.5 แล้วขยำยผล สู่ระดบั จงั หวัด อย่ำงน้อย 1 กิจกรรม 2.พัฒนำกำรของชมุ ชนเป้ำหมำย : ด้ำนกำรสร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำหำรท่เี กิดขนึ้ ก่อน – หลัง โดยมีโกง่ ธนโู มเดล เปน็ ตน้ แบบ 3.บทบำทของผู้นำกำรเปลีย่ นแปลง ๑๕ คน ในกำรกระตนุ้ กระบวนกำรมีสว่ นรว่ มของคนใน ชมุ ชน 4.กำรพัฒนำขยำยผลและควำมคิดสร้ำงสรรค์ ในกระบวนกำรขับเคลอื่ นกำรสร้ำงควำม มน่ั คง ทำงด้ำน อำหำรใหต้ ่อเนื่องยงั่ ยนื ภำคผนวก กำรจัดตัง้ กลุ่มแหล่งเงนิ ทนุ ชมุ ชนภำยในหมู่บำ้ นเพอ่ื ให้ชำวบำ้ นไม่ต้องออกนอกพ้นื ท่ี



1 บ้านประชานมิ ติ ร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส พระราชดารวิ า่ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง “...การพฒั นาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญเ่ บื้องตน้ ก่อน โดยใชว้ ิธีการและอปุ กรณท์ ่ีประหยัดแต่ถูกต้อง ตามหลกั วชิ าการ เม่อื ไดพ้ น้ื ฐานความมนั่ คงพรอ้ มพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อย เสรมิ ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขน้ั ท่สี ูงขึน้ โดยลาดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระราชทานมานานกว่า ๓๐ ปี เป็นแนวคิดท่ีตั้งอยู่บนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็น แนวทางการพัฒนาที่ตั้งบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท คานึงถึงความ พอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็น พื้นฐานในการดารงชีวิต ที่สาคัญจะต้องมี “สติ ปัญ ญา และความเพียร ” ซ่ึงจะ นาไปสู่ “ความสุข” ในการดาเนนิ ชีวิตอยา่ งแทจ้ ริง กรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญในการเสริมสร้างผู้นาชุมชน โดยการ พัฒนาศกั ยภาพผนู้ าชมุ ชน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในระดับต่างๆ ให้ผู้นาชุมชนมี ความรู้ คู่คุณธรรม สามารถบรหิ ารจัดการชุมชนของตนเอง เป็นกาลังหลักในการขับเคลื่อนงาน อยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยมีการจัดประกวดแข่งขัน เสริมสร้างและพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง เพื่อเชิด ชูเกียรติ สร้างแรงจูงใจต่อการขับเคล่ือนงาน นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ึน Change for Good สร้างชุมชนเข้มแข็งและพ่ึงตนเองได้ โดยน้อมนาแนวพระราชดาริของกรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างความม่ันคงทางอาหารสู่ปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัว เพ่อื สรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร แกพ่ น่ี ้องประชาชน เช่น ตาบลโก่งธนู จังหวัด ลพบรุ ี ภายใตโ้ ครงการ “บา้ นน้มี รี กั ปลูกผกั กินเอง” รณรงค์ให้ทุกหลังคาเรือนมีการคัดแยกขยะ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการขยะเปยี ก ดูแลรักษาภูมิทัศน์ส่ิงแวดล้อม เพิ่มพื้นที่ สเี ขยี วให้กับชมุ ชน การปลกู ผกั สวนครัวสรา้ งคลงั ทางอาหาร บ้านประชานมิ ิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส

2 ตาบลกาหลงได้น้อมนามาเป็นแนวทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นรูปแบบการขับเคล่ือนเชิง คุณภาพ เพ่ือให้เกิดผลสาเร็จฝังรากลึกทางวัฒนธรรมให้อยู่ในจิตสานึกแก่ประชาชนอย่างย่ังยืน และสามารถขับเคล่ือนให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างท่ัวถึง เป็นการเพิ่มขีดความสามารถ ของผู้นาชมุ ชนให้สามารถบูรณาการงานพัฒนาชุมชน นาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ ในพ้ืนที่มีผู้นา ระดบั ทอ้ งที่ เชน่ ผใู้ หญบ่ ้าน กานัน นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วน ตาบล ผู้นาธรรมชาติ เช่น พระสง์์ ผู้ที่มีคนนับถือในชุมชน รวมถึง ผู้นาท่ีเป็นราชการ เช่น นายอาเภอ หวั หน้าสว่ นราชการตา่ งๆ ร่วมเขา้ มาขบั เคลอ่ื นการดาเนินงานร่วมกัน โดยการปฏิบัติ ผู้นาต้องทาก่อน ให้พี่น้องประชาชนปฏิบัติตาม ด้วยการปลูกพืชผักสวนครัว ในครัวเรือน และ พ้ืนที่ส่วนรวม วัด โรงเรียน ถนนหนทางในหมู่บ้าน ให้เป็นพื้นที่ท่ีสร้างความสวยงาม และสร้าง ความม่ันคงทางอาหารไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม กิจกรรมคร้ังน้ีจะทาให้ 1 หมู่บ้าน สามารถดูแลได้ทั้งตาบล สร้างความม่ันคง ทางด้านอาหาร ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นผู้นาทางความคิด ตามแนวทาง ของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สอดคล้องกับเป้าหมายที่ย่ังยืนของ UN (องค์การสหประชาชาติ) เป้าหมายท่ี 2 ยุติความหิว โหย บรรลุความม่ันคงทางอาหาร ยกระดับโภชนาการ ส่งเสริมการเกษตรกรรมที่ยั่งยืน และ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระองค์พระราชทานให้พี่น้องประชาชน ซึ่งกระตุ้นให้ผู้นา ภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ ในการสืบสาน รักษา และต่อยอด ตามพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร สู่พ่ีน้อง ประชาชน อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้ดาเนินการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความ ย่งั ยืนโลก (SEP to SDGs) และมีเปา้ หมายเดียวกัน น่ันคือ การมุ่งพัฒนา สร้างความสมดุลในมิติ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม พัฒนาประเทศไปสคู่ วามย่ังยนื เราต้องลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง ศึกษาอย่างถ่องแท้และน้อมนาศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็นกระบวนทัศน์ ในการทางาน อาทิ โครงการบ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง ในพระราชดาริของสมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาขยายต่อยอดสู่กิจกรรมตาม แผนปฏิบัตกิ าร 90 วนั ปลูกผักสวนครวั เพ่อื สร้างความมั่นคงทางอาหาร ให้ผู้นาในท้องท่ีต้องทา ก่อน สร้างวัฒนธรรมปลูกพืชผักสวนครัว ให้เต็มพื้นท่ี นาไปสู่ 1 หมู่บ้านสามารถดูแลได้ 1 ตาบล 1 ตาบลดูแลได้ 1 อาเภอ เป็นแหลง่ ของอาหารได้อยา่ งยัง่ ยืน บา้ นประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

3 ประวตั คิ วามเปน็ มาของหมบู่ ้าน เดิมทีหมู่บ้านสายบนเป็นหมู่บ้านใหญ่ ซึ่งมีหมู่บ้านประชานิมิตรวมอยู่ด้วย จัดต้ังเมื่อ พ.ศ. 2515 โดยนคิ มพฒั นาตนเองภาคใต้ 6 กือลอง อาเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ในขณะนั้น เขตพ้ืนท่ีของตาบลกาหลงพื้นท่ีนี้ มีช่ือเรียกว่า “ป่าปริญญอ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2522 ได้มี การแยกการปกครองออกจากนิคมพัฒนาภาคใต้ 6 กือลอง มาเป็นนิคมสร้างตนเองศรีสาคร จึงได้จัดสรรที่ดินแก่สมาชิกคนละ 18 ไร่ จัดเป็นสองฝั่งถนนอยู่กลางที่ตั้งของหมู่บ้าน ประชากรได้รับการจัดสรรท่ีดินเป็นที่อยู่อาศัยคนละ 2 ไร่ อยู่รวมกันในท่ีลุ่มน้าซ่ึงมีความอุดม สมบูรณ์ ต่อมาได้แยกการปกครองเป็นหมู่บ้าน คือหมู่บ้านประชานิมิตร 1 หมู่บ้าน และบ้าน สายบน 1 หมบู่ า้ น สาหรับหมูบ่ ้านประชานมิ ิตร มี 3 ชุมชน คอื 1. ชุมชนบ้านประชานิมิตร ทราบว่า นายกลาย แดงรักษ์ เป็นผู้ตั้งชื่อ ซ่ึง ตอนน้ไี ด้เสียชีวิต 2. ชมุ ชนบ้านสันคีรี นายอั้น เมธา เป็นผตู้ ัง้ ชอ่ื สนั ครี มี าจากสันเขา (สันกาลาคีรี) เพราะอยูส่ ูงกวา่ เพอื่ น 3. ชุมชนบ้านโคกโพธ์ิสันติ มาจากประชากรส่วนใหญ่มาจากอาเภอโคกโพธ์ิ จังหวดั ปัตตานี เขา้ มาอยู่อยา่ งสันติ กเ็ ลยเรียกชือ่ วา่ โคกโพธิ์สันติ เน่ืองจากบ้านประชานิมติ ร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร เป็นชุมชน ที่อยหู่ า่ งไกลจากตวั อาเภอมาก เป็นหมบู่ ้านทม่ี ีความอดุ มสมบูรณ์ พื้นท่ีเป็นเทือกเขาสูง และมี ลาธารเล็กๆ ไหลผ่าน เหมาะแก่การเพาะปลูก ทาสวน เช่น สวนยางพารา สวนผลไม้ ( ทุเรียน ลองกอง เงาะ ฯลฯ ) เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง มีความสามัคคีกัน สมาชิกในชุมชน ดารงชีวติ ตามหลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาตง้ั แต่บรรพบุรุษ เพอ่ื การเลี้ยงชีพในแต่ละวัน สิ่งสาคัญก็คือความพอเพียงในการดารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานท่ีทาให้คนชุมชนสามารถ พึ่งตนเอง และดาเนนิ ชีวติ ไปได้อย่างมีศักดิ์ศรี มีความสามารถในการควบคุมและจัดการเพ่ือให้ ตนเองไดร้ ับการสนองตอบต่อความตอ้ งการต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง พร้อมกับส่งเสริมให้คนในชุมชนมีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มี ความรอบร้ทู ี่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี และพร้อมท่ีจะรับมือกับการ สถานการณเ์ ชื้อโรคในปจั จบุ ันได้ บา้ นประชานมิ ติ ร หม่ทู ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส

4 วเิ คราะหส์ ถานการณข์ องชมุ ชน การศึกษาทาความเข้าใจชุมชนเพื่อวิเคราะห์ความสาคัญต่อการกาหนดแผนการ ดาเนนิ งานในชุมชน เพอื่ หาข้อเท็จจริงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชุมชนนั้นๆ ทั้งทางด้านส่ิงแวดล้อมทาง กายภาพ สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมืองการปกครอง นามาซึ่งความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการกาหนดปัญหา การประเมินศักยภาพในดา้ นต่างๆ ของชมุ ชน อันจะนามาซึ่ง โครงการและกจิ กรรม เพอ่ื การพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา ท้ังนี้เน่ืองจากชุมชนแต่ละชุมชนมีความ แตกต่างกัน และมลี กั ษณะทเ่ี ฉพาะหรือมลี กั ษณะของความเป็นเอกลกั ษณ์ของแต่ละชุมชน จากสถานการณ์ในรอบปีที่ผ่าน บ้านประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส ประสบปญั หาตา่ งๆ ดงั นี้ 1. ปัญหาด้านโรคระบาด โควิด – 19 ชุมชนได้รับผลกระทบอย่างมาก เน่ืองจากชุมชนมีการปิดหมู่บ้าน / ตาบล ไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกเข้ามาในพื้นที่ชุมชน มีการตง้ั ด่านคัดกรองเปน็ ระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ชาวบ้านเองก็ไม่สามารถท่ีจะออกไปซ้ือ สินคา้ อุปโภค บริโภคในการดารงชพี ได้จากนอกพ้นื ทีไ่ ด้ เพราะต้องทาเรื่องขออนุญาตและต้องมี หนังสือรับรองการเข้าออก ทาให้ไม่สะดวก เกิดความยุ่งยากในการจัดทาเอกสารผ่านเข้าออก หมู่บ้าน 2. ปัญหาน้าท่วม ในรอบปีที่ผ่านมาในพ้ืนท่ีประสบปัญหาฝนตกระยะเวลา ยาวนาน 5 – 6 เดือน ทาให้ปริมาณน้าฝนเยอะ ชาวบ้านประสบปัญหาน้าท่วมคอสะพาน ทรดุ ทาให้ชาวบ้านไม่สามารถสญั จรไปจับจา่ ยซ้ือของมาอปุ โภค บริโภคได้ 3. ปัญหาด้านรายได้ ในช่วงฤดูฝนการประกอบอาชีพกรีดยางไม่สามารถหา รายได้ให้ครอบครัว เพราะปริมาณน้าฝนเยอะ ทาให้หน้ายางเปียก จึงทาให้ครัวเรือนกรีดยาง จงึ ไมม่ นี า้ ยางขายให้กบั นายทุนได้ ทาใหข้ าดรายไดม้ าดแู ลครอบครัว บา้ นประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส

5 จากสถานการณ์ดงั กลา่ ว ทาใหช้ ุมชนบา้ นประชานิมิตร หม่ทู ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธิวาส ต้องหันมาพ่งึ พาตนเองด้วยหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดังนี้ 2.1 ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้านลดละความฟุ่มเฟือยใน การดารงชีพอย่างจรงิ จัง ความเป็นอยู่ท่ตี ้องไม่ฟงุ้ เฟอ้ ต้องประหยดั ไปในทางท่ีถูกต้อง 2.2 ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ใน ภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม เพราะความเจริญของคนทั้งหลายย่อม เกิดมาจากการ ประพฤตชิ อบและการหาเล้ียงชีพของตนเป็นหลักสาคัญ 2.3 ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง ความสุขความเจริญอันแท้จริงน้ัน หมายถึงความสุข ความเจริญทบ่ี คุ คลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรมทั้งในเจตนา และการกระทาไม่ใช่ได้มาด้วย ความบงั เอิญ หรอื ด้วยการแกง่ แยง่ เบียดบังมาจากผอู้ น่ื 2.4 ไม่หยุดนิ่งท่ีจะหาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งน้ี โดย ต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนข้ึนจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสาคัญ ตอ้ งการให้ทุกคนพยายามท่ี จะหาความรูแ้ ละสร้างตนเองใหม้ ัน่ คงน้ีเพ่ือตนเอง เพื่อท่ีจะให้ตัวเอง มีความเป็นอยูท่ ี่กา้ วหน้า ท่มี คี วามสขุ พอมีพอกินเปน็ ขนั้ หน่ึงและขั้นต่อไป ก็คือให้มีเกียรติว่ายืน ไดด้ ว้ ยตวั เอง 2.5 ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดีลดละส่ิงยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป พยายามไม่ ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทาลายตัว ทาลายผู้อ่ืน พยายามลด พยายามละความช่ัวท่ีตัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายามรักษา และเพิ่มพูนความดีท่ีมีอยู่น้ันให้งอกงาม สมบูรณข์ นึ้ บา้ นประชานิมติ ร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธวิ าส

6 1. ผลสาเรจ็ เป็นรูปธรรม ภายในชมุ ชน 1.1 สรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร ประชาชนในระดับชุมชนสามารถเข้าถึงอาหาร สร้างความม่ันคงด้านอาหารให้ เกิดข้ึนในระดับชุมชน เพ่ือเพิ่มผลผลิตให้ประชาชนมีอาหารบริโภคที่เพียงพอมีคุณภาพ และ ความปลอดภยั และมคี ณุ ค่า ทางโภชนาการ ประกอบดว้ ย การปลกู พชื (มจี านวนครวั เรอื นทปี่ ฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 70 ของครัวเรือนทั้งหมดที่อยู่จริง) - ชาวบ้านมีความต้องการที่กินผักท่ีปลูกปลอดสารเคมี มีผักปลอดภัยกินกันใน ครอบครวั โดยเฉพาะผู้สูงวัย แม่บ้าน ได้หันมาปลูกผักอินทรีย์กินเองในบ้าน เหลือจากบริโภค แลว้ ค่อยนามาฝากขายที่ร้านค้าชุมชนในหมู่บ้าน เพ่ือกระจายพืชผักปลอดภัยสู่ชาวบ้านให้ทั่วถึง ส่วนใหญ่พืชท่ีชาวบ้านปลูก เป็นผักที่ใช้ประจาในครัว เช่น ข่า ตะไคร้ ขมิ้น กะเพรา โหระพา แมงลกั สะระแหน ซึ่งเป็นผกั ที่ปลูกครง้ั เดียวกนิ ไดน้ าน - การปลูกผักพื้นถ่นิ เชน่ ผักเหลียง สะตอ สะเดา - การปลูกพืชผักเศรษฐกิจ เช่น สะตอ ลูกเหรียง เก๊กฮวย เมล็ดกาแฟ ดอก ดาวเรอื ง ดอกมะลิ - การปลูกพืชปลูกผัก ที่สามารถต่อยอดและเพิ่มช่องทางการตลาดได้ เช่น กาแฟ สามารถเก็บดอกกาแฟมาทาชาดอกกาแฟ , ชาดอกมะลิ , ชาใบหม่อน ,มัลเบอร์รี่ สามารถมาแปรรูปนอกจากจะกนิ ผลสดแล้วสามารถนาเปน็ แยมมัลเบอรร์ ีไ่ ด้ บ้านประชานิมติ ร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

7 บ้านประชานมิ ติ ร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส

8 เลี้ยงสัตว์ (มจี านวนครัวเรือนที่ปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 10 ของครัวเรือนทั้งหมดที่อย่จู ริง) การเลย้ี งสัตว์ปรกติเปน็ งานควบคกู่ ันไปกบั การปลกู พชื ในชนบท มีการเล้ียงสัตว์ อาชพี หลกั และอาชพี เสรมิ เพื่อมาตรฐานเศรษฐกจิ ของครอบครวั การเลี้ยงสตั วจ์ งึ มีความสาคญั ที่ ทาให้ครวั เรือนมรี ายได้จากการจาหน่ายสตั ว์ ผลิตภัณฑ์และสว่ นต่างๆของสัตว์ เชน่ เนื้อ นม ไข่ เปน็ การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ทาให้เกิดความเพลดิ เพลินและพฒั นาจิตใจให้เป็นคนใจเยน็ สุขุม ทาใหเ้ ห็นคณุ ค่าของตวั เอง สามารถนาเศษอาหารที่เหลอื ใชม้ าเลีย้ งสัตว์ เช่น -การเลีย้ งโคเนือ้ สามารถนามูลไปเปน็ ปุ๋ยคอกใส่ในพชื ผกั ได้ และสามารถนาไป จาหน่ายให้เกดิ รายได้กระสอบละ 50 บาท -การเล้ียงไก่ไข่ สามารถขายปยุ๋ ข้ไี ก่ได้ ขายไขไ่ ก่ได้ และเมอ่ื ไก่ไขห่ มดระวาง สามารถขายไก่เป็นเนอ้ื ได้ เป็นการเพิ่มรายไดใ้ ห้กบั ครัวเรอื น -การเลยี้ งปลา ประเภทปลากนิ พชื เพือ่ ไม่ใหเ้ ปลืองในคา่ อาหารปลา สามารถ เลีย้ งหญ้าใหเ้ ป็นอาหารได้ เปน็ การลดต้นทุน -การเลยี้ งแพะ สามารถนามลู ไปเป็นปยุ๋ คอกใส่ในพืชผกั ได้ บ้านประชานิมิตร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธิวาส

9 การแปรรปู (มีการรวมกลุ่มในการแปรรูปผลผลติ อย่างน้อย 1 กลุม่ ในชุมชน) การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เป็นการนาผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูป จะชว่ ยปอ้ งกนั การลน้ ตลาดของผลติ ผลสด ซ่งึ ช่วยยกระดับราคาผลิตผลไม่ให้ตกต่า เป็นการเพ่ิม มูลค่าของผลิตผลทางการเกษตรที่นามาแปรรูปเป็นอาหาร โดยเกิดกระบวนการบริหาร จัดการกลุ่ม และสามารถรับซื้อวัตถุดิบของชาวบ้านเพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน เช่น กล่มุ เครือ่ งแกงบ้านประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร ที่ผลิตเคร่ืองแกงไว้ จาหน่ายในชมุ ชน หมูบ่ า้ นขา้ งเคียง ภายในตาบล และส่งออกในร้านตัวแทนจาหน่ายในอาเภอ เป็นการช่วยเพ่ิมพูนรายได้ให้แก่สมาชิกกลุ่มผลิตเคร่ืองแกง และชาวบ้านที่นาวัตถุดิบมาขาย ให้แกก่ ลุ่ม เช่น ข่า ตะไคร้ ขม้นิ การแปรรปู ผลิตผลทางการเกษตรเป็นการส่งเสริมให้ชาวบ้าน ใชช้ ีวิตแบบพ่งึ ตนเอง โดยการยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ซึ่งเป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการ ดารงชีวิตของครอบครัวแต่ละครอบครัวเพื่อเป็นการลดรายจ่ายและยังสามารถเพิ่มรายได้ให้ ครอบครวั ได้อกี บ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส

10 ข้อดีในการจดั ตั้งกลุม่ อาชีพ 1. การนาผลผลิตในชุมชน มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการดาเนินชีวิตให้มากที่สุด และนามาใชเ้ พิ่มผลผลิต เพือ่ สนองความต้องการพ้ืนฐานอย่างพอประมาณ พอดี ไม่ฟุ้งเฟ้อ เน้น การพ่งึ พาตนเอง ไมใ่ หเ้ ปน็ ภาระของผ้อู ื่น 2. เกิดการรวมกลุ่มกัน เกิดการร่วมมือกันทางาน การพัฒนาเทคโนโลยี ชาวบ้านหรือภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ เพือ่ ให้สมาชิกมรี ายได้เพิม่ มากขึ้น ครอบครัวมีความเข้มแข็งทาง เศรษฐกจิ และส่งผลใหท้ ้องถน่ิ หรอื ชุมชนมคี วามเขม้ แข็งตามมาในที่สุด 3. ชุมชนมีการจัดการที่ดี การดาเนินชีวิตในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มี หลักการบรหิ ารและการจัดการกลมุ่ โดยนาความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ มาใช้บริหาร และจัดการทรัพยากรทม่ี อี ยู่ ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า เช่น มที ่ีดนิ จากดั แต่สามารถนามาใช้เพิ่ม ผลผลิตและเพม่ิ รายได้ให้แกค่ รอบครัวไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี 1.2 สร้างสิง่ แวดล้อมให้ยงั่ ยนื การบรหิ ารจัดการขยะ มีจานวนครัวเรือนท่ีปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 70 ของครัวเรือน ทั้งหมดทอี่ ยู่จริง ส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างจริงจังด้วย วธิ กี ารต่าง ๆ เชน่ ใหป้ ระชาชนเข้ามาส่วนร่วมในการคัดแยกขยะก่อนท้ิง เช่น ขยะเปียกนาไป ให้เปน็ อาหารสัตว์ หรือการทาปุย๋ หมกั ขวดพลาสตกิ เก็บไว้รไี ซตเ์ คิล ขวดแกว้ กแ็ ยกถงุ ไว้ต่างหาก ประชาชนยอมรับวิธีการคัดแยกและยอมปฏิบัติตามด้วยความรู้สึกดีใจและภาคภูมิใจท่ีได้ทา หน้าท่ีเป็นพลเมืองดีมีความรับผิดชอบต่อการรักษาความสะอาดของบ้านเรื อนและชุมชนของ ตนเอง ตลอดจน จะต้องทาใหป้ ระชาชนเข้าใจวา่ การจดั การขยะมูลฝอยไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงาน ภาครัฐเพยี งฝ่ายเดยี ว แตเ่ ปน็ หน้าทขี่ องทกุ คนในสังคมทจี่ ะตอ้ งร่วมกันรบั ผิดชอบกบั ปญั หา บ้านประชานิมติ ร หมูท่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส

11 การจัดสุขลักษณะในบ้าน มีจานวนครัวเรือนที่ปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 70 ของ ครวั เรอื นทงั้ หมดทีอ่ ยู่จรงิ 1. มกี ารประชุมผนู้ าชมุ ชนในการส่งเสริมการรักษาส่ิงแวดล้อมและการจัดบ้านให้ น่าอยู่ 2. ให้ทุกครัวเรือนดาเนินการส่งเสริมการจัดบ้านให้น่าอยู่ เป็นการจัดการทาง สิ่งแวดล้อมให้เอ้ืออานวยต่อสุขภาพดี ทั้งร่างกายและจิตใจของสมาชิกภายในบ้าน รวมผู้มา เยี่ยมเยือนและชุมชนโดยรอบ รวมถึงการจัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมและการสร้าง สภาพแวดล้อมในบ้าน เพ่ือสนับสนุนให้สมาชิกทุกคน มีวิถีการดารงชีวิตประจาวันอย่างถูก สุขลักษณะ และมีความสุขเม่ืออยู่บ้าน รวมท้ังการปลูกจิตสานึกที่ดีต่อสังคมและชุมชน ครอบครัว หมายถึง สถาบันสังคมท่ีประกอบด้วย สามี ภรรยา และบุตรเป็นต้นครอบครัวและ เครือญาติ หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนทางสายโลหิต เป็นการกาหนดวิถีชีวิตของชุมชน หม่บู ้าน “บ้านน่าอยู่ คคู่ รอบครัวไทย” เพ่ือให้ชาวบ้านตระหนักความสาคัญของสิ่งท่ีอยู่ใกล้ตัว เรามากที่สุดก็คือ “บ้าน” ช่วยกนั ปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมภายในบ้าน และบริเวณบ้านให้ถูกต้อง ตามหลักสขุ าภิบาล ปรบั ปรุงพฤตกิ รรมอนามัยสิง่ แวดล้อมของสมาชกิ ทุกคนในบ้านรวมท้ังมีส่วน ร่วมพัฒนาชุมชน ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนาด้านอื่นๆ ในสังคมอย่างต่อเน่ืองการทา บา้ นให้น่าอยสู่ ง่ ผลดหี ลายประการ ได้แก่ 1. สภาพแวดลอ้ มทเี่ อ้ือต่อการมีสุขภาพท่ีดี ท้งั ร่างกายและจิตใจ 2. สขุ นสิ ัยทดี่ ใี นเรอ่ื งสขุ าภิบาลสงิ่ แวดลอ้ มและพฤตกิ รรมอนามยั สิ่งแวดล้อม 3. ป้องกันและลดอัตราการเกิดโรค อุบัติเหตุ ปัญหาสุขภาพจิต รวมทั้ง อาชญากรรมในสงั คม 4.. ครอบครัวอบอ่นุ มคี วามรกั เอ้ืออาทรต่อกนั ซงึ่ เป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาชุมชน 5. ชุมชนเข้มแข็ง มีความรัก / สามัคคี ร่วมแรงร่วมใจพัฒนาสังคมให้ดีย่ิงข้ึน นาไปสู่การเป็นบา้ นเมืองนา่ อยู่และเมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) จะทาบ้านให้น่าอยู่ ได้อย่างไร การจัดสภาพบ้านเรือนให้น่าอยู่ น่าอาศัย ให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล พึงควร คานึงถึง ตวั บ้าน บริเวณบา้ น ภายในบ้าน สุขภาวะในครอบครวั ตัวบา้ นมั่นคงแข็งแรง 6. สะอาด ร่มรน่ื เป็นระเบยี บ จัดเกบ็ สง่ิ ของเปน็ สัดสว่ น 7. ในกรณีทีม่ ีการเลีย้ งสัตว์ เช่น วัว ควาย ไก่ เป็นต้น ต้องจัดคอกสัตว์ให้ไกล อย่นู อกตัวบา้ น ลา้ งทาความสะอาดสม่าเสมอ (ไม่ควรมีคอกสตั วใ์ ต้ถนุ บ้าน) 8. ไม่มีขยะทุกชนิด ป้องกันไม่ให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวัน แมลงสาบ และ แหล่งอาหารหนู แยกขยะก่อนท้ิง มีที่รองรับขยะ ท้ิง / กาจัดขยะสม่าเสมอ (ไม่ควรมีขยะ ตกค้างในบา้ นและบริเวณบ้าน) 9. ไม่มีนา้ ขังในหลมุ บ่อ หรอื ภาชนะตา่ งๆ เพือ่ ป้องกนั ไมใ่ ห้เกิดแหลง่ เพาะพันธ์ุยงุ บา้ นประชานิมิตร หมูท่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

12 10. ปลูกตน้ ไมใ้ หร้ ม่ รน่ื ภายในบา้ น มแี สงสวา่ งเพียงพอ 11. อากาศถา่ ยเทสะดวก กาจัดแหล่งยุงในบ้าน 12. จัดหอ้ ง / พืน้ ทีใ่ ช้สอยเปน็ สัดส่วน จดั เก็บข้าวของเคร่ืองใช้เปน็ ระเบยี บ ทา ความสะอาดประจาสม่าเสมออย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 1 ครงั้ 13. มีนา้ ด่มื น้าใช้สะอาด (น้าประปา นา้ กรอง นา้ ต้ม เปน็ ต้น) เพียงพอ 14. อาหารปรงุ สกุ มีภาชนะปกปดิ (เช่นฝาชีครอบหรือใสต่ กู้ ับข้าว หรือตเู้ ยน็ ) 15. ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ อยา่ งน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที บา้ นประชานิมติ ร หมูท่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธิวาส

13 การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีจานวนครัวเรือนที่ปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 70 ของ ครวั เรอื นทัง้ หมดทีอ่ ยจู่ รงิ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อยเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยบ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส คานึงถึงระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และ ก่อให้เกิดผลเสียหาย ต่อส่ิงแ วดล้อมน้อยท่ีสุด รวมทั้งต้อ งมีการกระจายการใ ช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างท่ัวถึง บ้านประชานิมิตร มีกิจกรรมรณรงค์การอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ท้ังทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมโดยทางตรง ดังน้ี 1)การใชอ้ ย่างประหยัด คือ การใชเ้ ท่าท่ีมคี วามจาเปน็ เพือ่ ให้มที รพั ยากรไวใ้ ช้ได้ นานและเกิดประโยชนอ์ ยา่ งคุม้ ค่ามากท่ีสุด 2)การนากลับมาใชซ้ า้ อกี ส่งิ ของบางอย่างเม่อื มีการใชแ้ ล้วคร้ังหน่ึงสามารถท่ีจะ นามาใช้ซ้าได้อีก เช่น ถุงพลาสติก กระดาษ เป็นต้น หรือสามารถที่จะนามาใช้ได้ใหม่โดยผ่าน กระบวนการต่างๆ เช่น การนากระดาษที่ใช้แล้วไปผ่านกระบวนการต่างๆ เพ่ือทาเป็นกระดาษ แข็ง เปน็ ตน้ ซึง่ เปน็ การลดปรมิ าณการใช้ทรัพยากรและการทาลายส่ิงแวดล้อมได้ 3) การบูรณะซอ่ มแซม สิง่ ของบางอย่างเม่ือใชเ้ ปน็ เวลานานอาจเกิดการชารุดได้ เพราะฉะนน้ั ถ้ามกี ารบรู ณะซอ่ มแซม ทาให้สามารถยดื อายกุ ารใชง้ านตอ่ ไปไดอ้ ีก 4)การบาบัดและการฟ้ืนฟู เป็นวิธีการท่ีจะช่วยลดความเสื่อมโทรมของ ทรพั ยากรด้วยการบาบดั กอ่ น เชน่ การบาบัดน้าเสียจากบ้านเรือน การร้ือฟ้ืนธรรมชาติให้กลับสู่ สภาพเดิม เชน่ การทาฝายมีชีวติ การปลูกป่าทดแทน 5)การใช้สิ่งอ่ืนทดแทน เป็นวิธีการที่จะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ น้อยลง และไม่ทาลายส่ิงแวดล้อม เช่น การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การใช้ปุ๋ยชีวภาพแทน ปุ๋ยเคมี เปน็ ต้น 6)การเฝา้ ระวังดแู ลและปอ้ งกนั เป็นวิธกี ารที่จะไม่ให้ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มถูกทาลาย เช่น การเฝ้าระวังการท้ิงขยะ ส่งิ ปฏิกูลลงแม่น้า คคู ลอง การจัดทาแนว ป้องกนั ไฟป่า การจัดทาฝายชะลอน้า การจัดทาประปาภูเขา การรักษาทางนา้ ไหลโดยจัดผู้ดูแล เป็นผชู้ ่วยผู้ใหญ่บ้าน หรอื คนในชุมชน เพอื่ ไม่ให้เกิดการทบั ถมของกงิ่ ไม้ใบหญา้ ขวางทางน้า เพื่อใช้ในชุมชน การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มโดยทางอ้อม ดังน้ี 1) การพัฒนาคุณภาพประชาชน โดยสนับสนุนการศึกษาด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่ถูกต้อง ซ่ึงสามารถทาได้ทุกระดับอายุ เพ่ือให้ประชาชน เกิดความตระหนกั ถงึ ความสาคัญและความจาเป็นในการอนรุ กั ษ์ เกิดความรกั ความหวงแหน และ ให้ความร่วมมืออย่างจรงิ จัง บา้ นประชานมิ ิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส

14 2) การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย การจัดตั้งกลุ่ม ชุมชน ชมรม เพื่อการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมต่างๆ ตลอดจนการให้ความร่วมมือท้ังทางด้านพลังกาย พลงั ใจ พลังความคิด ด้วยจติ สานกึ ในความมีคุณค่าของส่งิ แวดล้อมและทรพั ยากรทมี่ ตี ่อตัวเรา 3) สง่ เสริมใหป้ ระชาชนในท้องถ่ินได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ช่วยกันดูแลรักษาให้ คงสภาพเดิมไม่ให้เกิดความเส่ือมโทรม เพื่อประโยชน์ในการดารงชีวิตในท้องถ่ินของตน การ ประสานงานเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักระหว่างหน่วยงานของรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นใหม้ ีบทบาทหน้าทีใ่ นการปกป้องคุ้มครอง ฟื้นฟูการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุดให้มีบทบาทหน้าท่ีในการปกป้องคุ้มครอง ฟื้นฟูการใช้ทรัพยากรอย่าง คมุ้ คา่ และเกิดประโยชน์สงู สุด 4) ส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ มให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด เชน่ การใช้ความรทู้ างเทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการวางแผน พฒั นา การพัฒนาอปุ กรณ์เคร่ืองมือเครอื่ งใช้ให้มีการประหยัดพลงั งานมากข้ึน 5) การกาหนดนโยบายและวางแนวทางในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้ง ในระยะส้ันและระยะยาว เพราะเป็นส่ิงจาเป็นต่อการดาเนินชีวิตตลอดเวลา จึงให้ความสาคัญ เป็นอยา่ งยงิ่ และจะตอ้ งเอาใจใส่ดูแลเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาตนิ นั้ ใหค้ งไว้ใชไ้ ดน้ าน บ้านประชานิมติ ร หมทู่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส

15 1.3 สรา้ งภมู คิ ุม้ กนั ทางสังคม การปฏิบัติศาสนกิจ มีจานวนครัวเรือนที่ปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 70 ของครัวเรือน ทงั้ หมดทอี่ ยู่จริง บ้านประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง เป็นชุมชนพหุวัฒนธรรม สาหรับ ขอบเขตของสิทธิทางวัฒนธรรมในการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาของชาวบ้านที่เป็นไทยพุทธ และไทยมุสลมิ ตามกรอบของศาสนา การเข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาต่อการดารงชีวิตตามกรอบ ศาสนาไม่มีปรากฏหลักฐานตามคาสอนของพระพุทธศาสนาว่าห้ามมิให้คนพุทธเข้าร่วมกิจกรรม ทางศาสนาของศาสนาอน่ื และเชน่ เดยี วกันสาหรับคนต่างศาสนาสามารถเข้าร่วมกิจกรรม หรือ พิธีกรรมของพุทธ เป็นท่ีอนุญาตโดยไม่มีข้อยกเว้น เพราะการนับถือศาสนาคือสิทธิข้ันพ้ืนฐาน ของทุกคน แต่สาหรับคนมุสลิมในการเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมบางอย่างต้องดูความเหมาะสม ซึ่ง ความเหมาะสมในที่น้ี ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติของตนเองในแต่ละกิจกรรมท่ีเข้าร่วม หากเป็น กิจกรรมที่เป็นพิธีกรรมศาสนาก็ควรอยู่ นอกพิธี คือไม่ควรร่วมพิธีกรรมเหล่านั้น แต่หากเป็น กจิ กรรมท่ัวไปที่ไม่ใช่พิธีกรรมศาสนาหรือความเช่ือก็สามารถเข้าร่วมได้ ศาสนาอิสลามไม่มีการ บงั คับไม่ว่ากรณีใดกต็ าม ทุกคนมีสิทธเิ สรภี าพในการนับถือศาสนาของตนเอง ทั้งนี้หากมองด้วย หลักการของอสิ ลามพบวา่ บางกรณสี ามารถยดื หย่นุ ได้ และในบางกรณกี ็ไม่สามารถยืดหยุ่นอย่าง กรณีกิจกรรมท่ีเป็นพิธีกรรมทางศาสนาไม่เป็นที่อนุญาต เว้นแต่ด้วยความจาเป็นถึงขั้นต้อง เสยี ชวี ิต (ความจาเปน็ ขัน้ สงู สุด) ก็เปน็ ท่ีอนุญาตเช่นกัน บ้านประชานมิ ิตร ประกอบกิจกรรมทางศาสนาอย่างสม่าเสมอ ในวันสาคัญทาง ศาสนา เช่น การทาบุญเดือนสิบ การบวชสามเณรภาคฤดูร้อน การละหมาดวันศุกร์ การทา เมาลดิ การกวนอาซรู อ บา้ นประชานมิ ติ ร หมทู่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส

16 การออกกาลังกาย มีจานวนครัวเรือนท่ีปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 70 ของครัวเรือน ท้งั หมดที่อยจู่ รงิ บ้านประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง มีการส่งเสริมให้ชาวบ้านมีสุขภาพดี โดยการสง่ เสริมใหม้ กี ารออกกาลงั กาย โดยการจดั ตงั้ กลมุ่ แอรโ์ รบิคของหมู่บ้าน มีการออกกาลัง กายสัปดาหล์ ะ 3 วัน เวลาช่วงเย็น ใช้เวลาคร้ังละ 30 นาที เพราะการออกกาลังกายเป็น ยาบารุง ทีส่ ามารถทาใหร้ ่างกายมสี มรรถภาพเพิ่มข้ึนได้อยา่ งแทจ้ รงิ และถาวร การออกกาลังกาย มปี ระโยชนต์ ่อสุขภาพสามารถเพมิ่ ภมู ติ า้ นทานโรคได้ บา้ นประชานิมิตร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส

17 การเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ มีจานวนครัวเรือนปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 70 ของครัวเรอื นทัง้ หมดทอ่ี ยู่จรงิ บ้านประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง ส่งเสริมกิจกรรมสาธารณะของ หมู่บา้ น ตาบล โดยการทากิจกรรมร่วมกนั อย่างน้อยเดือนละ 3 – 4 คร้ัง มีกิจกรรมตัดหญ้า ริมทาง ทาความสะอาดบริเวณศาสนสถาน การทาฝายมีชีวิต เป็นกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ เป็นการปลูกฝังจิตสานึก ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม เพื่อการพัฒนา ชุมชน เพื่อช่วยขัดเกลาจิตใจของประชาชนให้มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละ และมีจิต สาธารณะ เพอ่ื ช่วยสรา้ งสรรคส์ ังคมให้อยรู่ ่วมกนั อย่างมีความสุข บา้ นประชานิมติ ร หมทู่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส

18 ภายนอกชมุ ชน 1.4 มีผลท่ีเกิดจากการนากิจกรรม / ผลงานของผู้นาการเปล่ียนแปลงไปเผยแพร่หรือ ขยายผล เพ่อื ใช้ประโยชนใ์ นระดบั ตาบล การดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการใช้ชีวิตแบบพอมี พอกิน ไม่สร้างความเดือดร้อนให้คนอื่น มีความสุขกับชีวิตที่เป็นอยู่ มีน้อยใช้น้อย มีมากใช้น้อย รู้จักแบ่งปันให้คนอ่ืน ใช้ชีวิตไม่ประมาท รอบคอบ รู้จักเก็บออม มีคุณธรรมในการใช้ชีวิต มีเหตุผล มีปัญญาในการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน เม่ือเราพอเพียงแล้ว สามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ บ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง มีแนวคิดว่าการพัฒนาคุณภาพชีวิตนั้น ควรเริ่มต้น จากตนเองก่อน และพัฒนาตนเองอย่างมีคุณภาพขึ้นเรื่อยๆ จนชีวิตมีอยู่มีกิน มีใช้มีออม สมาชิก ครอบครวั มีความสุข เมอื่ ครอบครัวซงึ่ เปน็ ส่วนหนึง่ ของสงั คมมคี วามสุขแล้ว จึงขยายผลสู่คนอ่ืน และชุมชน โดยใช้ความรู้ความสามารถที่มีและจิตใจที่เป็นคุณธรรม มุ่งแบ่งปันทางานอย่าง ต่อเนื่องและทาประโยชน์ให้ชุมชน จนชุมชนมีความเข้มแข็ง และขยายผลการน้อมนาปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์สู่ชุมชนข้างเคียง ซ่ึงผู้นาชุมชนได้ใช้เศรษฐกิจพอเพียงมาตั้งแต่ปี 2556 เพราะเห็นพระบาทสมเด็จพระเจ้ายู่หัวเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร ซ่ึงช่วย จดุ ประกายใหอ้ ยากช่วยพระองค์อกี แรงหนึ่ง กจิ กรรมที่เกดิ ผลจากการนากจิ กรรม เพ่อื ใชป้ ระโยชนใ์ นระดบั ตาบล 1. ชุมชนบ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส มปี ราชญช์ มุ ชน / วิทยากรถา่ ยทอดความรู้และประสบการณ์อยู่ตลอดเวลา เพื่อการถ่ายถอด องค์ความรู้ด้านต่าง ๆ โดยได้มีคณะต่างๆ จากทุกภาคส่วนมาศึกษาดูงาน เช่น การทา กาแฟอาราบีก้า การทาทุเรียนอินทรีย์ การทาปุ๋ยอินทรีย์ การประกอบกิจกรรมกลุ่มต่างๆ และยังแบ่งปันความรู้ต่างๆ และสร้างเครือข่ายด้านเศรษฐกิจพอเพียงไปยังชุมชนอื่น ๆ อย่าง กว้างขวาง โดยหวังว่าจะให้ชุมชนได้มีวิถีชีวิตที่พอเพียงและย่ังยืนต่อไป ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถพง่ึ ตนเองได้โดยไม่ตอ้ งรองบประมาณจากภาครัฐ บา้ นประชานิมติ ร หมูท่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

19 2. นาผลผลผลิตของชุมชนจาหน่ายในชุมชน หมู่บ้านข้างเคียง ภายตาบล และในตัวอาเภอ เชน่ กลุ่มเครื่องแกงจาหนา่ ยในชุมชนแลว้ ยงั มรี า้ นคา้ ในตลาดอาเภอที่รองรับ ผลิตภณั ฑข์ องกลุ่ม และผลิตภณั ฑ์ของชาวบ้านจะเก็บเพื่อจาหน่ายในตลาดภายในตาบลกาหลง ทุกอาทิตย์ รวมทั้งผลิตภัณฑ์บางอย่าง เช่น กาแฟ ชาดาวอินคา สามารถขายได้ในตลาด ออนไลน์ ช่องทาง Facebook 3. การบริหารจัดการขยะ ชุมชนมีการรณรงค์การบริหารจัดขยะ แยกขยะก่อน ทงิ้ มีที่รองรับขยะ ทง้ิ / กาจดั ขยะสม่าเสมอ (ไม่ควรมขี ยะตกค้างในบา้ นและบริเวณบ้าน) และ รณรงค์การนาเศษขวดที่เหลือใช้มาเป็นภาชนะในการเพาะปลูก และการนากลับมาใช้ซ้า เช่น แก้วนา้ ชาเย็นทซ่ี ือ้ มาจากรา้ น การนาถุงพลาสติกมาใส่ขยะ การบริจาคเสื้อผ้าท่ีไม่ต้องการแล้ว ใหแ้ กช่ าวครวั เรอื นท่ียากจนภายในตาบล บ้านประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

20 1.5 ดาเนนิ การตามข้อ 1.4 แลว้ ขยายผล สรู่ ะดับอาเภอ อยา่ งนอ้ ย 1 กิจกรรม การทาผลผลิตจากกลุ่มมาตั้งขายในตลาดอาเภอศรีสาคร เช่น เคร่ืองแกง ผัก สวนครวั ตามฤดกู าล กาแฟอาราบกี า้ ชาดาวอนิ คา ไม้กวาดดอกหญ้า 1.6 ดาเนนิ การตามข้อ 1.5 แล้วขยายผล สูร่ ะดับจงั หวัด อย่างนอ้ ย 1 กจิ กรรม การนาผลผลิตจากกลุ่มมาโพสขายในช่องทางอ่ืน ๆ เช่น Facebook สามารถ นาผลผลิต กาแฟอาราบีก้า ชาดาวอินคา มาจาหน่ายและสามารถส่งขายได้ท้ังภายในจังหวัด และต่างจังหวัดได้อีกด้วย บา้ นประชานมิ ติ ร หม่ทู ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธิวาส

21 2. พัฒนาการของชมุ ชนเปา้ หมาย : ดา้ นการสร้างความมัน่ คงทางอาหารทเี่ กดิ ขึน้ กอ่ น – หลัง โดยมีโกง่ ธนโู มเดล เป็นต้นแบบ มีผลการดาเนนิ งานกจิ กรรม ดงั น้ี - ครวั เรือนมีการปลกู ผักสวนครัวไว้บริโภค (มีจานวนครัวเรือนที่ปฏิบัติ มากกว่าร้อยละ 90 ของครวั เรอื นทงั้ หมดท่อี ยูจ่ ริง) - ครัวเรือนปลูกพชื ผักสวนครัวโดยใช้ปยุ๋ อินทรยี ช์ ีวภาพ น้าหมกั ชีวภาพ สารไล่แมลงด้วย สมุนไพร (มีจานวนครัวเรอื นทปี่ ฏิบตั ิ มากกวา่ ร้อยละ 90 ของครัวเรอื นทงั้ หมดทอี่ ยูจ่ ริง) บ้านประชานมิ ิตร หมูท่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธิวาส

22 - ครัวเรือนในชุมชนเข้าร่วมกลุ่มแปรรูปถนอมอาหาร (มีจานวนครัวเรือนสมัครเป็น สมาชกิ กลมุ่ เพม่ิ ขน้ึ หรือมกี ลุม่ แปรรูปถนอมอาหารเพิม่ ขนึ้ ) - กิจกรรมการคัดแยกขยะ (จานวนครัวเรือนท่ีปฏิบัติมากกว่าร้อยละ ๙๐ ของครัวเรือน ทงั้ หมดท่อี ยู่จรงิ ) บ้านประชานิมติ ร หมูท่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

23 - การทาถังขยะเปียกรักษ์โลก (มีจานวนครัวเรือนที่ปฏิบัติมากกว่าร้อยละ ๙๐ ของ ครวั เรอื นทง้ั หมดที่อยู่จรงิ - ทางน้ีมีผลผู้คนรักกัน (ปลูกผักบริเวณท่ีว่าง สองข้างทางของถนนในชุมชน เพื่อการ แบง่ ปันในชุมชน เพิ่มข้ึนอย่างน้อย ๑ แหง่ ) บา้ นประชานมิ ิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

24 - การปลูกพืชผกั ผลไมใ้ นพน้ื ทีส่ าธารณะเพ่อื แบ่งปันในชุมชน (เพมิ่ ขน้ึ อย่างน้อย ๑ แห่ง) - ธนาคารเมล็ดพนั ธุ์พืช กิจกรรมท่เี กี่ยวกับการร่วมมือลงแรงผลิตแบ่งปันกล้าไม้ ปุ๋ยคอก ฯลฯ (เพ่มิ ขึ้นอยา่ งน้อย ๑ กจิ กรรม) บา้ นประชานมิ ิตร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส

25 - กิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั ธนาคารขยะ ศนู ย์เรยี นรกู้ ารบริหารจัดการขยะ (เพิ่มข้ึนอย่างน้อย 1 กจิ กรรม) บา้ นประชานมิ ติ ร หม่ทู ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

26 - มอี าสาสมัครทอ้ งถิน่ รกั ษโ์ ลกในชุมชน (อย่างน้อย ๓ คน ขึน้ ไปในหม่บู ้าน) ชอ่ื – สกลุ นายสุกฤษฎ์ คงขวญั ทอ่ี ยู่ 28/32 บา้ นประชานมิ ิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส โทร. 098 – 201 - 4091 ชอื่ – สกลุ นายประพันธ์ เพ็ชรพวง ท่ีอยู่ 27/3 บ้านประชานมิ ติ ร หมูท่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส โทร. 098 – 201 - 4091 ช่อื – สกุล นายอมั พร แกว้ นา ท่ีอยู่ 63 บ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส โทร. 098 – 201 - 4091 ชอื่ – สกุล นางสาววิชุดา วชิ ัยดษิ ฐ ที่อยู่ 72 บา้ นประชานิมิตร หมทู่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธิวาส โทร. 098 – 201 - 4091 บ้านประชานิมติ ร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธวิ าส

27 3. บทบาทของผนู้ าการเปลย่ี นแปลง ๑๕ คน ในการกระต้นุ กระบวนการมสี ่วนรว่ มของคนใน ชุมชน ๓.๑ บทบาทผนู้ า ๑๕ คน ในการกระตุ้นการมสี ่วนร่วม - ผู้นาต้องทาก่อน (ริเริ่ม ทาเป็นตัวอย่างให้คนในชุมชน โดยเพ่ิมขึ้นอย่างน้อย ๑ กิจกรรม) - ทาเป็นบ้านสานเป็นกลุ่ม (สร้างให้เกิดความร่วมมือเป็นกลุ่มใหม่ โดยเพ่ิมขึ้น อย่างน้อย ๑ กจิ กรรม) บ้านประชานมิ ติ ร หม่ทู ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธิวาส

28 - ชุมชนสเี ขยี วเปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ การใช้สารอินทรีย์ชีวภาพ โดยเพ่ิมข้ึน อยา่ งนอ้ ย ๑ กจิ กรรม) - จากวัฒนธรรมสู่นวัตกรรม (มีการสร้างนวัตกรรม ๓ สร้าง โดยเพิ่มขึ้นอย่าง น้อย ๑ กิจกรรม) บ้านประชานิมิตร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส

29 ๓.๒ การกระตุ้นการมีส่วนร่วม สร้างการรับรู้ ผ่านการส่ือสาร Social Media ความถ่ี มากกวา่ ชอ่ งทางละ ๑-๒ ครั้ง / เดือน เช่น Line , Youtube , Facebook กลุ่มสาธารณะ #ปิด หมบู่ า้ น ๓ เดือนพวกเราอยู่ได้ - บทบาทผู้นา ๑๕ คน สามารถใช้งานสื่อ Social Media เพ่ือการประชาสัมพันธ์ ในชุมชน - บทบาทผู้นา ๑๕ คน เข้าร่วมและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ใน Facebook กลุ่มสาธารณะ # ปิดหมู่บ้านเดือนพวกเราอยู่ได้ (ถ้าเป็นสมาชิก ๑ - ๕ คน ได้ 1 คะแนน ถา้ เป็นสมาชิก ๕-๑๐ คน ได้ 2 คะแนน ถา้ เป็นสมาชกิ ๑๐-๑๕ คน ได้ ๓ คะแนน) บ้านประชานมิ ิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

30 - บทบาทผู้นา ๑๕ คน ผลติ ส่อื เพ่ือประชาสมั พนั ธไ์ ดเ้ อง เช่น จัดทาคลิปวิดีโอเพื่อ สื่อสาร ผ่านช่องทางต่างๆ ฯลฯ บ้านประชานิมติ ร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธวิ าส

31 4. การพัฒนาขยายผลและความคิดสร้างสรรค์ ในกระบวนการขับเคล่ือนการสร้างความ ม่ันคงทางด้าน อาหารให้ต่อเนื่องยั่งยืน โดยพิจารณาจาก แบบเสนอโครงการขอรับการ สนับสนุนการดาเนินงาน โครงการเสริมสร้างและพัฒนา ผู้นาการเปล่ียนแปลง (งบประมาณ 100,000 บาท) ๔.๑ ความเป็นมา / ความสาคัญของปญั หา และวัตถปุ ระสงค์ของโครงการฯ กรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญในการเสริมสร้างผู้นาชุมชน โดยการ พัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในระดับต่างๆ ให้ผู้นาชุมชนมี ความรู้ คูค่ ณุ ธรรม สามารถบรหิ ารจดั การชุมชนของตนเองได้และเป็นกาลังหลักในการขับเคลื่อน การดาเนนิ งานพัฒนาชุมชนในพ้นื ที่ ขับเคลอื่ นกิจกรรมการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสง่ เสรมิ ความเข้มแขง็ ของชุมชน ซงึ่ ได้ไปสนับสนนุ นโยบายรัฐบาลท่ีมุ่งสืบสาน รักษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระชน กาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร ร่วมกบั แนวคิด “โคก หนอง นา โมเดล” สรา้ งการมีสว่ นร่วมของประชาชนมีภมู คิ มุ้ กนั ให้ชมุ ชนสามารถพ่งึ ตนเองได้ จากสถานการณ์ปัจจุบัน วิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โค วดิ 19) ได้ส่งผลกระทบตอ่ วิถีชวี ติ ของผคู้ นในทุกๆ ด้าน ยังไม่สามารถกาหนดระยะสิ้นสุดได้ ทา ใหป้ ระชาชนมกี ารดารงชีวติ ในภาวะปกตแิ บบใหม่หรือนิวนอร์มอล (New Normal) ท่ีต้องหันมา พึง่ พาตนเองเพือ่ ลดการแพร่ระบาด นาไปสูก่ ารช่วยเหลอื ของชมุ ชนในระยะยาว เพ่ือความอยู่รอด ของประชาชนในหมบู่ า้ น/ตาบล ในการสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างย่ังยืน โดยนาคติพจน์ (Motto) “1 หมู่บ้าน สามารถดแู ลไดท้ ้งั ตาบล สร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร ด้วยหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” อาเภอศรีสาคร ได้คัดเลือก บ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง เปน็ หมู่บ้านต้นแบบในการสร้างความม่ันคงทางด้านอาหารให้ครอบคลุมเต็มพื้นท่ี ประกอบด้วย ด้านการเกษตร ด้านประมง ด้านปศุสตั ว์ นาไปส่กู ารจัดตั้งกองทุนเมล็ดพันธุ์ มีการบริหารจัดการ ขยะ ชุมชมมีความเข้มแข็ง สามารถลดรายจ่าย ประชาชนคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาหารบริโภคที่ ปลอดภัย เกิดความรัก ความสามัคคี ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการสร้างความมั่นคงทางด้าน อาหาร เพื่อเปน็ จดุ เรยี นรู้ของตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส ตอ่ ไป บ้านประชานมิ ิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส

32 ๔.๒ กระบวนการมีสว่ นร่วม (๑) รูปแบบหรือวธิ ีการดาเนินงาน ที่ส่งเสรมิ กระบวนการมสี ่วนร่วมของชุมชน ที่ กจิ กรรมท่ีดาเนินการ รปู แบบ/วธิ กี าร ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ (Action Plan) (How to) ผลผลติ / ผลลัพธ์ (วัน) (บาท) (ทีม ๑๕ คน) 1. ผูน้ าตอ้ งทาก่อน ผนู้ าทุกคนปลกู ผักสวน มีผักบริโภค/ ก.พ.-ม.ี ค.64 - ครัวปฏบิ ตั ติ นเปน็ ประชาชนนาไปเป็น แบบอย่างเรือ่ งการสร้าง แบบอยา่ ง ความมน่ั คงทางดา้ น อาหาร 2. การแบง่ โซนรบั ผิดชอบ กาหนดจุดตัวอย่างของ -มีจดุ ตัวอยา่ งในการ มี.ค.-เม.ย. - ปลูกผกั จานวน 7 โซน โซน มผี ูช้ ่วยผู้ใหญ่บา้ น รบั ผิดชอบโซนละ 1 คน รวม 7 โซน 3. “เอามื้อสามัคคี” ร่วมกิจกรรมเอามอ้ื สามคั คี -มแี ปลงผักตวั อยา่ ง มี.ค.-เม.ย. - 7 แปลง ของผนู้ า/ประชาชน/ภาคี -มีความรักความ สามคั คี การพัฒนา ณ จุดตัวอยา่ ง มีการจัดการขยะ เม.ย.- 18,000.- เปยี กให้คุม้ คา่ ของโซนทกุ โซน มกี องทุนเมล็ดพนั ธ์ุ เม.ย.-ม.ิ ย. 82,000.- 4. ส่งเสริมใหค้ รัวเรอื นมี จัดหาถงั ขยะเปียกเพื่อใส่ ผักอยา่ งนอ้ ย 1 64 แห่ง ถังขยะเปยี กทกุ เศษอาหาร ทุกครัวเรือน ครัวเรอื น นา้ ส้มควนั ไม้ 5. -สง่ เสรมิ การปลกู ผัก -สง่ เสริมให้ครวั เรอื นเกบ็ ทกุ ครัวเรอื น เมลด็ พันธ์ เพ่อื สรา้ ง -จัดตงั้ ศูนยเ์ มล็ดพนั ธ์ ภมู ิคุม้ กัน/แบ่งปนั ผกั /จดุ เรียนร้ใู น -พฒั นาจุดตัวอยา่ งเป็น หมู่บา้ น แหลง่ เรยี นร้ใู นหมบู่ ้าน 6. ติดตามและสนบั สนุน -ภาคกี ารพัฒนารว่ มกัน -ครวั เรือนมีที่ มี.ค.-มิ.ย. - การดาเนินงาน ติดตามและสนบั สนนุ ปรึกษา 64 โครงการฯ เพอื่ ใหค้ าแนะนา/ -ครวั เรือนมีขวัญ แกป้ ัญหา และกาลงั ใจ 7. ตดิ ตามประเมนิ ผล -ภาคีการพัฒนา/ผนู้ า -หมู่บา้ นมคี วาม พ.ค.-ม.ิ ย. - โครงการฯ ชมุ ชน ร่วมตดิ ตาม เข้าใจแนวทางการ 64 ประเมินผล เพอื่ นาไปสู่ พัฒนา การพัฒนา -หม่บู ้านได้ทราบถึง ผลสาเรจ็ ของงาน บ้านประชานมิ ิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

33 8 ประชาสัมพนั ธ์ -ประชาสัมพันธก์ าร -หม่บู ้านได้ ม.ี ค.-มิ.ย. - โครงการ ดาเนนิ งานของหมู่บา้ น/ ประชาสัมพนั ธ์ผล 64 การดาเนนิ งาน รวม 8 กิจกรรม ตาบลเปา้ หมาย ผ่านสอ่ื -หมู่บา้ นข้างเคียง ออนไลน์ สามารถนาไปปรับ ใช้ 100,000 รวมทั้งส้นิ (๒) การบูรณาการ หน่วยงาน / องค์กร / ภาคี ภายในและนอกชุมชน เพ่ือสร้างความมัน่ คงทางอาหาร - นิคมสรา้ งตนเองศรสี าคร - สานกั งานเกษตรอาเภอศรีสาคร - องค์การบรหิ ารส่วนตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร - เครอื ขา่ ยกลมุ่ ไม้ดอกไมป้ ระดบั อาเภอธารโต จังหวัดยะลา ๔.๓ ผลผลิต / ผลลพั ธ์ (ทาใหท้ ุกครัวเรอื นมีความมั่นคงทางด้านอาหาร ทั้งปริมาณ และคุณภาพอย่างยัง่ ยนื ) 1. ชุมชนบ้านประชานิมิตร มีศูนย์เรียนรู้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้ท่ี สนใจ จานวน 1 ศนู ย์ 2. ชมุ ชนมีการปลูกผักสวนครัวทุกครวั เรือน 1 หมู่บ้านสามารถดูแลได้ท้ังตาบล และมีศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถพ่ึงพาตนเองได้ สร้างความมั่นคงทางด้าน อาหารอย่างยั่งยืน ๔.๔ ความคิดสร้างสรรค์ และการพัฒนาขยายผล เพ่ือสร้างความม่ันคงทางด้าน อาหารให้เกดิ ความย่งั ยืน (๑) ความคิดสรา้ งสรรค์ การพัฒนาต่อยอด นวัตกรรม สง่ ผลใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อชมุ ชน การจัดการนวัตกรรมในการขับเคลื่อนชุมชนบ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เน้นกระบวนการพัฒนาศักยภาพคนให้เป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้ และกาหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันของสมาชิกในชุมชน ใช้นวัตกรรมท่ีเป็น รูปแบบการจัดการมาเป็นตัวต้ังเพื่อวางแผนกลยุทธ์ท่ีเหมาะสม จะทาให้สมาชิกองค์กรเป็นกลุ่ม คนแห่งการเรียนรู้และนาไปสู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ด้วยการพัฒนาศักยภาพบุคคลและทีมงาน อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เปน็ การสร้างผลงานคุณภาพให้กับองคก์ ร ให้กบั สังคมอยา่ งยงั่ ยืนได้ บ้านประชานิมิตร หม่ทู ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธิวาส

34 บุคคลแห่งการเรียนรู้ โดยการจัดการที่ตัวคนในชุมชน นั้นคือ ผู้นาให้เป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้ เป็นตัวอย่างซ่ึงจะเป็นจุดเร่ิมต้นในการจัดการพัฒนาชุมชนให้มีความ เขม้ แข็ง โดยเร่ิมท่ีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านที่ดูแลโซนบ้านต้องทาเป็นตัวอย่างในการดารงชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคลื่อนกิจกรรมเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้เกิดการพัฒนา ก้าวหน้าอย่างยั่งยืน ด้วยการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ตามความถนัดในการจัดการพัฒนาชุมชน และสามารถถ่ายถอดองค์ความรู้ระยะยาวแบบยง่ั ยืนให้แก่สมาชกิ ในชมุ ชน ส่งเสริมให้เป็นบุคคล แห่งการเรียนรู้และรู้จักตระหนักท่ีจะเรียนรู้ด้วยตนเอง ที่จะป้องกันแก้ปัญหาของตนเอง ครัวเรือน และต้องการให้เกิดความก้าวหน้า เกิดความกระตือรือร้นท่ีจะแสวงหาความรู้ด้วย รูปแบบวิธกี ารต่าง ๆ ท่จี ะมาตอ่ ยอดกระบวนการเรยี นรู้ถา่ ยทอดใหเ้ กิดการสญู หายตอ่ ไป ชุมชนบ้านประชานิมิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร มีการบริหาร จัดการชุมชนให้การเรียนรู้ร่วมกันท่ีเป็นพื้นฐานสาคัญในการพัฒนา และเพื่อเตรียมให้บุคคล เหล่านี้ได้มีศักยภาพในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ข้ึนมา เป็นนวัตกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้อัน นาไปสู่การพฒั นาในภาพรวมขององค์กรตอ่ ไป ชุมชนมกี ารบริหารจดั การดา้ นสง่ เสริมเศรษฐกจิ ชมุ ชน ดังน้ี 1.) มีการนาแนวคิดมาขยายผลการดาเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ในหมู่บ้านมีสมาชิกศูนย์ศีลปาชีพจานวน 2 ศูนย์ คือศูนย์ศีลปาชีพบ้านประชา นิมิตร จานวน 22 คน ศูนย์ศีลปาชีพโคกโพธิ์สันติ จานวน 20 คน กิจกรรมท่ีดาเนินงาน คอื การทอผ้า และ การปกั ผา้ 2.) พัฒนาและส่งเสริมการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริมเพื่อให้สังคมอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุขภายใตป้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมกี ลุม่ ตา่ ง ๆในชมุ ชน มีรายละเอยี ดดังน้ี 2.1 กลุ่มทอผา้ บา้ นประชานิมิตร  ดาเนนิ การ เมอ่ื วนั ที่ 19 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2529  สมาชกิ ทงั้ หมด 22 คน 2.2 กลุ่มทอผ้าโคกโพธ์สนั ติ  ดาเนินการ เมื่อวนั ที่ 19 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2529  สมาชิกทงั้ หมด 20 คน 2.3 กลุ่มปกั ผ้า  ดาเนนิ การ เมอ่ื วนั ที่ 19 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2529  สมาชิกทง้ั หมด 9 คน 2.4 กองทนุ หมู่บ้านและชมุ ชนเมอื ง (กทบ.)  ดาเนนิ การ เมือ่ วันที่ 17 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2544  สมาชกิ ทั้งหมด 96 คน  ยอดเงินทงั้ หมด 2,300,000 บาท บา้ นประชานมิ ติ ร หมูท่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

35 2.5 การดาเนินงานกล่มุ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ ผลการดาเนนิ งาน  ก่อต้งั เมอ่ื วันที่ 10 เดือนมกราคม พ.ศ. 2552  สมาชกิ ก่อตง้ั 100 คน  สมาชิกปจั จุบนั 129 คน  มเี งนิ สจั จะทั้งหมด 1,161,600 คน  สวสั ดิการ ดงั น้ี  เงนิ ขวญั ถงุ บตุ รแรกเกิด คนละ 500 บาท  เจบ็ ป่วย คนละ 500 บาท  สมาชกิ เสียชีวิต มเี งินฌาปนกิจ รายละ 2,000 บาท  สาธารณประโยชน์ 10 % 2.6 กลุ่มเยาวชนแกะสลกั ไม้ (เทพนิมิตร)  ดาเนินการ เมือ่ วันที่ 15 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2558  สมาชิกทง้ั หมด 9 คน 2.7 กลุม่ อาหาร – ขนม  ดาเนินการ เมอ่ื วันท่ี 20 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2559  สมาชกิ ทง้ั หมด 6 คน 2.8 กลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนยางก้นถว้ ย ผลการดาเนนิ งาน  กอ่ ตงั้ เมอ่ื วนั ที่ 17 เดือนธันวาคม พ.ศ.2559  สมาชิกก่อต้ัง 38 คน 2.1 กลุ่มกาแฟอาราบกี ้าบ้านประชานมิ ติ ร  ดาเนนิ การ เมอ่ื วันท่ี 10 เดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2560  สมาชิกทง้ั หมด 15 คน 2.9 กลุ่มไม้กวาดดอกหญา้  ดาเนินการ เมื่อวันที่ 12 เดอื นกุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2560  สมาชกิ ทงั้ หมด 9 คน 2.10 กลมุ่ เคร่อื งแกงบ้านประชานมิ ิตร  ดาเนินการ เมอ่ื วนั ท่ี 15 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2560  สมาชิกทั้งหมด 15 คน 2.11 กลุม่ วสิ าหกจิ เกษตรอินทรียแ์ ละสมนุ ไพรบา้ นประชานมิ ติ ร  ดาเนินการ เมือ่ วันท่ี 16 เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ.2560  สมาชิกทง้ั หมด 7 คน 2.12 กลุ่มเล้ียงผึ้งชนั โรง  ดาเนนิ การ เมอื่ วนั ท่ี 10 เดอื นกุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2561  สมาชิกทง้ั หมด 5 คน บา้ นประชานมิ ิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธิวาส

36 2.13 กล่มุ ดอกไมต้ ัดดอก  ดาเนินการ เมอื่ วนั ท่ี 3 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2562  สมาชิกทั้งหมด 9 คน (๒) การพัฒนาขยายผล ในกระบวนการขับเคล่ือนการสร้างความม่ันคง ทางด้านอาหารให้ต่อเนื่องยั่งยืน (เช่น มีแผนการ แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ กับ ผู้นา ประชาชน ครัวเรือนตน้ แบบ เด็ก เยาวชน ให้เกดิ ความย่งั ยนื ) แผนการพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนในการขบั เคล่ือนการสรา้ งความมน่ั คงทางด้านอาหาร จดั ตง้ั ศนู ยเ์ รยี นรชู้ ุมชน ฐานการปลูกผกั สวนครวั ฐานเพาะพันธ์กลา้ ไม้ ฐานปุ๋ย บ้านประชานมิ ิตร อินทรยี ์ / น้าสม้ ควันไม้ สนับสนนุ และส่งเสริม สง่ เสริมกจิ กรรมลดรายจ่าย เพ่ิมรายไดใ้ ห้กับครัวเรอื น การลดต้นทุน และ (กนิ ทุกอย่างทปี่ ลูก ปลูกทกุ อยา่ งทีก่ ิน) ปจั จัยในการผลิต ให้สามารถพัฒนาไปสูค่ วามพออยู่พอกนิ ซงึ่ เป็น สนับสนุนและส่งเสรมิ เปา้ หมายขน้ั ตน้ ของหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผู้ดอ้ ยโอกาสและผู้ วา่ งงานในหม่บู า้ น ส่งเสริมสนบั สนุนการ การดาเนินกจิ กรรมของรา้ นค้าสตรี กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อ ดาเนนิ งานด้าน การผลติ สนับสนุนผลิตภัณฑข์ องชุมชน (เครือ่ งแกง) เศรษฐกจิ ชมุ ชน พึง่ ตนเองในหมูบ่ ้าน บา้ นประชานมิ ติ ร หมูท่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธวิ าส

37 ภาคผนวก บา้ นประชานมิ ิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

38 การจัดต้ังกลุ่มแหลง่ เงนิ ทุนชุมชนภายใน หมู่บ้านเพ่ือให้ชาวบ้านไม่ตอ้ งออกนอกพื้นที่ บ้านประชานิมติ ร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส

39 ศูนยจ์ ัดการกองทุนชุมชนบา้ นประชานิมติ ร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัด นราธิวาส บา้ นประชานิมติ ร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธวิ าส

40 ผลการดาเนินงานการจดั ตั้งศนู ย์จดั การกองทุนชุมชน 1) ประวัตกิ ารกอ่ ตงั้ ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชมุ ช ชอื่ ศูนย์จัดการกองทนุ ชุมชนบ้านประชานิมติ ร หมทู่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส เบอรโ์ ทรศัพท์ 098 – 82014091 จัดตัง้ เม่ือวนั ท่ี 12 มีนาคม พ.ศ. 2564 2) ทม่ี า/การกอ่ ตั้งศูนย์จัดการกองทนุ ชมุ ชน ภารกจิ ของกรมการพัฒนาชมุ ชนทีม่ กี ารส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมของประชาชน และพฒั นาเศรษฐกจิ ชุมชนฐานรากใหม้ ีความมนั่ คงและมีเสถียรภาพ โดยใหค้ วามสาคัญกับการบริหารจัดการ เงินทนุ ชุมชนให้มปี ระสทิ ธภิ าพ จึงไดด้ าเนนิ การสง่ เสริมสนับสนนุ การดาเนนิ งาน “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน” โดยมกี ลุ่มออมทรัพยเ์ พือ่ การผลติ ท่เี ขม้ แขง็ เป็นแกนนาในการจดั ตั้ง ทาหน้าที่เชื่อมโยง/บูรณาการการบริหาร จัดการกลุ่มกองทุนชุมชนต่าง ๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชน มุ่งเน้นบริหารจัดการเงินทุนท่ีมีอยู่ในชุมชนให้เกิดความ ค้มุ ค่า มปี ระสิทธภิ าพและเกิดประโยชน์สงู สดุ เปา้ หมาย คอื “การลดหนี้/ปลดหน้ี” ดังเช่นผลสาเร็จของการ ดาเนินงานกิจกรรมศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบริหารจัดการหน้ี “สานึกดี แผนดี บริหารหน้ีได้” ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทส่ี ามารถบริหารหนีส้ นิ ครัวเรอื นเป้าหมาย ส่งผลใหล้ ดหนไี้ ด้ 20,030 ครัวเรือน เป็นเงิน 323,257,350 บาท และสามารถปลดหนี้ได้ 2,546 ครัวเรือน เป็นเงิน 75,626,768 บาท ดังนั้นโจทย์ท่ีสาคัญคือ ทั้งคณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน และเจ้าหน้าที่ผู้ขับเคลื่อนงานในระดับ พนื้ ที่ จะทาอย่างไรให้ครัวเรือนในหมู่บ้านเกิดความตระหนักรู้ถึงภัยอันตรายของการขาดการออม ขาดการ วางแผนการใช้จ่ายเงิน และขาดวินัยทางการเงิน พร้อมผลักดันให้คนในชุมชนใช้ประโยชน์จากการเข้าถึง แหล่งทนุ อย่างมีประสิทธภิ าพในการต่อยอดการสร้างอาชพี สร้างรายได้อย่างแท้จริง รวมทั้งมีภูมิคุ้มกันท่ีดีใน การดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ซึง่ ถือเปน็ ทางออกสาคญั ในการฟนั ฝา่ วกิ ฤตทิ เ่ี กดิ ข้นึ กรมการพัฒนาชุมชนจึงตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าการดาเนินงานของศูนย์ จดั การกองทุนชมุ ชน ถงึ แมเ้ ปน็ การรวมตวั กนั ของกลุ่มองค์กรฐานรากในระดบั ชุมชน ท่ีเป็นเพียงฟันเฟืองเล็ก ๆ ในการขับเคลือ่ นการแก้ไขปัญหาระดับครัวเรือน แต่ภารกิจมีความสาคัญที่มีการแก้ไขปัญหาท่ีต้นตอและ กอ่ ให้เกิดผลสาเรจ็ เป็นรูปธรรมด้วยการเสริมสร้างวินัยทางการเงินให้กับประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ควบคู่ กับการส่งเสริมการออม ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงต้องอาศัยความร่วมมือที่ดีของกลุ่ม องคก์ รในการบรู ณาการการทางาน และแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยใช้ทุนที่มีอยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด สรา้ งชมุ ชนแหง่ การเก้ือกลู พ่งึ ตนเองได้ ดงั น้ันเพ่อื เปน็ การส่งเสริมและตอ่ ยอดความสาเร็จจากการดาเนินงาน ดังกล่าว กอร์ปกับจังหวัดนราธิวาสเป็นพ้ืนที่ประสบปัญหาการยากจนเรื้อรังซ้าซาก 1 ใน 10 จังหวัดของ ประเทศ โครงการจดั ต้ังศนู ยจ์ ดั การกองทนุ ชมุ ชน จงึ เป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน ในการ ส่งเสริมสนบั สนุนครวั เรือนให้สามารถบริหารจัดการเงินทุน บริหารจัดการหนี้สินของครัวเรือน และส่งเสริม อาชีพแก่ครัวเรือนเป้าหมาย ซึ่งจะเป็นทิศทางในการแก้ ไขปัญหาระดับชุมชน ส่งผลต่อการพัฒนา ระดับประเทศอยา่ งเปน็ รปู ธรรม และย่ังยืนต่อไป บา้ นประชานิมติ ร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธิวาส

41 วธิ กี าร/ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1) พจิ ารณาหม่บู า้ นท่มี ีกล่มุ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต/โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน ทีมี ความเข้มแข็งตามหลักธรรมาภิบาลเป็นแกนหลักในการจัดตั้งเป็นอันดับแรก หากไม่มีให้พิจารณากลุ่ม/ กองทุน/องค์กรการเงินชุมชนอื่น เช่น กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ท่ีมีความเข้มแข็ง มีศักยภาพ และ ความสามารถเป็นแกนนาในการจดั ตงั้ ศูนยจ์ ัดการกองทนุ ชมุ ชนเป็นลาดบั ถดั ไป 2) มีกลุ่ม/กองทุน/องค์กรการเงินชุมชน ที่สามารถเข้าร่วมบูรณาการกองทุนชุมชน เพื่อ รว่ มกันบรหิ ารจดั การหน้ี ไม่นอ้ ยกวา่ 2 กลมุ่ /กองทนุ 3) มีสถานท่ีทาการพร้อมในการขับเคลื่อนศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ทั้งนี้ อาจใช้สถานท่ี ร่วมกบั การดาเนินการอน่ื ของหมู่บา้ นกไ็ ด้ 4) ผู้นาชุมชน และตัวแทนกลุ่ม/กองทุน/องค์กรการเงินชุมชน ที่จะเข้ามาเป็น คณะกรรมการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ต้องมีประสบการณ์ รวมถึงมีความรู้ความสามารถในเรื่องของการ บริหารงานกองทุนชุมชน เป็นทไ่ี ว้วางใจ มีความซือ่ สัตย์ และมีความสมัครใจในการจัดตั้งศูนย์จัดการกองทุน ชมุ ชน 5) เขา้ สกู่ ระบวนการจัดต้ังศนู ยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน ดังนน้ั บ้านประชานมิ ิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง มีการพัฒนาและส่งเสริมการประกอบอาชีพ หลกั และอาชพี เสริมเพอ่ื ใหส้ ังคมอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยมีจานวนกลุ่ม กองทุนชมุ ชนที่เป็นแหล่งเงินทุนชมุ ชนในหม่บู ้าน จานวนหลายกลมุ่ ทีม่ ีความเขม้ แข็ง ดังน้ี 1) กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิตบา้ นประชานิมิตร ผลการดาเนินงาน  ก่อตง้ั เมอ่ื วันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2546  ปัจจบุ ันมสี มาชกิ 97 ราย  มเี งนิ สจั จะสะสม 1,131,000 บาท  มีสวสั ดิการ ร้อยละ 10 คา่ รกั ษาพยาบาล รายละ 500 บาท  ทุนการศกึ ษา 1,000 บาท  เงินสาธารณประโยชน์ของหมู่บา้ น 10 % ของกาไร  เงินประกนั ความเสี่ยง รอ้ ยละ 10 2) กองทุนหมู่บา้ น ผลการดาเนนิ งาน  กอ่ ตงั้ เม่ือวนั ท่ี 2545  ปจั จุบันมสี มาชกิ 97 ราย  มเี งนิ ทุน 2,300,000 บาท ในการจัดตัง้ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ในปี พ.ศ. 2564 สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรี สาคร เล็งเห็นผลการดาเนนิ งานของกล่มุ ฯ อยู่ในระดบั ดี จงึ ไดร้ ่วมกันปรึกษาหารือกันทางคณะกรรมการฯ ถึง การจัดตั้งเป็น “ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนบ้านประชานิมิตร” (ซึ่งได้รับงบประมาณมาจากกรมการพัฒนา ชุมชนในปี พ.ศ. 2564) โดยมนี ายสุกฤษฎ์ คงขวญั เป็นประธาน และไดด้ าเนินการจดั ตั้งและเปิดศูนย์จัดการ กองทุนชมุ ชนบา้ นประชานมิ ิตร ในวนั ที่ 12 มีนาคม 2564 เป็นตน้ มา บา้ นประชานิมิตร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

42 3) แนวทางการดาเนนิ งานการจัดตัง้ ศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชน มดี ังนี้ 1) เผยแพร่แนวคิด แนวทางการดาเนินงานให้กับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ประธานกลุ่ม/ กรรมการ / ผแู้ ทนองคก์ รกองทนุ ชุมชน และผู้นาชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิ ภาคีการพัฒนา ในข้ันนี้ พัฒนากรผู้รับผิดชอบงาน ศูนยจ์ ดั การกองทนุ พรอ้ มด้วยประธานกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลติ ได้ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการ ดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชมุ ชน ทาความเขา้ ใจกลับกลมุ่ ผู้ได้รับประโยชน์ และผู้ที่คิดว่าสูญเสียประโยชน์ ให้เขา้ ใจไปในทิศทางเดียวกนั 2) สารวจวิเคราะหข์ ้อมูลกองทนุ ชมุ ชน คณะกรรมการศนู ย์จัดการกองทุนชมุ ชนบ้านประชา นิมติ ร มกี ารประชุมเพอื่ ปรกึ ษาหารือในเร่อื งของการสารวจ ข้อมลู กองทนุ การเงนิ ของหมบู่ า้ นว่าในหมบู่ า้ นมกี องทนุ การเงินประเภทใดบ้าง และแต่ละประเภทจัดต้ังขึ้นได้อยา่ งไร กองทุนการเงนิ แตล่ ะประเภทได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานใด พร้อมทงั้ จัดทาฐานข้อมูลลูกหนี้ของแต่ละกลุม่ /องค์กร/กองทุน การเงินในชมุ ชน จากน้ันนาข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสารวจมาจดั ทาเป็นทะเบียนฐานข้อมลู ภาวะหนีส้ นิ ครัวเรือน ของหมู่บา้ นเปน็ รายครัวเรอื น 3) ประชุมร่วมกัน โดยมีประธานกลุ่ม/กรรมการ / ผู้แทนองค์กรกองทุนชุมชน และผู้นา ชมุ ชน ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ภาคีการพัฒนา เพื่อเตรยี มการวางแผน การจัดตง้ั ศนู ย์ฯ สรปุ ผลการดาเนินการ นาข้อมูลท่ีได้มา ปรบั ใช้กบั การวางแผนการจัดทาระเบียบข้อบังคับ การจัดทากิจกรรมของศูนย์ฯ สรุปสถานที่เพื่อดาเนินการ ของศูนยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชน 4) ศกึ ษาดงู านศนู ย์จดั การกองทนุ ชุมชน ณ ศนู ย์จัดการกองทุนชมุ ชนต้นแบบ 5) จดั ตงั้ ศูนยจ์ ัดการกองทนุ ชุมชน โดยดาเนนิ การ ดงั น้ี 1) เลอื กคณะกรรมการบริหาร 2) จัดทารา่ งระเบยี บข้อบงั คับ 3) จัดทาแผนและกาหนดการจัดทากจิ กรรมของศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน 4) จดั เตรยี มสถานท่ี เอกสาร สอื่ ต่าง ๆ ที่จะใช้ในการดา เนินงาน 5) เพ่ิมทกั ษะคณะกรรมการบรหิ ารสถาบันฯ การจดั ตง้ั ศูนย์จดั การกองทุนชุมชน เรมิ่ ต้นมกี ลุม่ / องคก์ าร ร่วมกนั จัดต้ัง ดังน้ี  กลุม่ ออมทรพั ย์เพอื่ การผลติ บ้านประชานิมิตร  กองทนุ หม่บู า้ นและชุมชนเมอื งบา้ นประชานมิ ติ ร บา้ นประชานมิ ิตร หมทู่ ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธิวาส

43 กระบวนการจัดต้งั ศูนย์จัดการกองทุนชุมชน โดยแบง่ การดาเนนิ งานเปน็ 5 ข้ันตอน ดังน้ี ขั้นตอนที่ 1 ประชุมช้แี จงและวางแผนการขับเคลื่อนโครงการการแก้ปัญหาหนี้สินภาค ครัวเรือนของประชาชน ในระดับอาเภอ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร ศจพ.อ. จานวน 1 คณะ ดาเนนิ การโดยสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอ ณ สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอศรีสาคร ขั้นตอนท่ี 2 ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ สร้างความรคู้ วามเข้าใจในแนวทางการจัดต้ังศูนย์ จัดการกองทุนชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร ได้ดาเนินการกิจกรรม ณ ท่ีทาการกลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการผลติ บ้านประชานิมิตร ในวันท่ี 26 มกราคม 2564 โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมจานวน 20 คน เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในสถานการณ์ของกองทุนในชุมชน และให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนว ทางการดาเนินงานศูนยจ์ ัดการกองทนุ ชมุ ชน ประกอบด้วยมีเน้ือหา ดงั นี้ (1) สถานการณเ์ ศรษฐกจิ และกองทุนในชุมชน (2) การตรวจสอบ/วิเคราะห์สถานการณ์กองทุนในชุมชน โดยการสารวจข้อมูลกองทุนใน ดา้ นผลการดาเนินงาน และปญั หาอุปสรรค (3) แนวทางการจัดตงั้ และการดาเนนิ งานศนู ยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชน (4) กาหนดแผนปฏิบัติการสนับสนุนการจัดตั้งและดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน ร่วมกบั ภาคกี ารพฒั นาท่เี กีย่ วข้อง (5) กาหนดสถานท่ีศึกษาดูงาน ณ ศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบันนังกระแจะ ตาบลธารโต อาเภอธารโต จังหวดั ยะลา บา้ นประชานมิ ิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธิวาส

44 ขั้นตอนที่ 3 ศกึ ษาดงู านศนู ย์จดั การกองทุนชุมชน โดยสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรี สาคร ได้นากลุ่มเปา้ หมายเดนิ ทางเพอ่ื ศึกษาดูงาน ณ ศูนย์จดั การกองทุนชุมชนต้นแบบบ้านบันนังกระแจะ ตาบลธารโต อาเภอธารโต จงั หวัดยะลา ในวันท่ี 28 มกราคม 2564 เพอ่ื การเรียนรู้ ดังน้ี (1) รูปแบบการบริหารจัดการและกิจกรรมของศูนย์จัดการกองทุนชุมชนต้นแบบด้านการ บรหิ ารจัดการหนี้ (2) แนวทางการบริหารจดั การหน้ี (กระบวนการบริหารจดั การหนี้, การปรับโครงสร้างหน้ี (3) แนวทางการพฒั นาและแผนการดาเนินงานศนู ยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชน (4) ศกึ ษาดงู านครวั เรือนตน้ แบบลดหนี/้ ปลดหนี้ ศึกษาดูงาน ณ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรกาแป๊ะ กอตอใน (วังเก่า) ตาบลเบตง อาเภอเบตง จังหวัด ยะลา วนั ท่ี 29 มกราคม 2564 เพือ่ ศึกษาการแปรรปู ผงกาแฟโบราณ เพ่ือให้สอดคล้องกับอาชีพเกษตรกร ในชุมชนบา้ นประชานิมิตรทีม่ กี ารส่งเสริมและสนับสนุนในคนในชุมชนมีการปลูกต้นกาแฟ และเพื่อเป็นแนว ทางการสรา้ งกลุม่ อาชพี เพอื่ สรา้ งอาชพี สร้างรายได้ใหแ้ ก่ชุมชนตอ่ ไป บา้ นประชานมิ ิตร หมู่ที่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธิวาส

45 ข้ันตอนที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือดาเนินการจัดต้ังศูนย์จัดการกองทุนชุมชน โดย สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอศรสี าคร ได้ดาเนนิ การจดั ประชมุ ฯ หลังจากท่ีกลมุ่ เปา้ หมายตามขัน้ ตอนท่ี 1 ซึ่ง เปน็ แกนนาสาคญั ในการดาเนนิ การจัดตง้ั ศนู ย์จดั การกองทุนชุมชน ได้ไปเรียนรู้ ศึกษาดูงานตามข้ันตอนท่ี 2 6 และนาองค์ความรู้ท่ีได้มากาหนดกรอบ ขอบเขต และทิศทางในการดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชนท่ี ชดั เจน มีรปู แบบการดาเนนิ การสอดคล้องกบั แนวทางท่ี กรมการพฒั นาชมุ ชนกาหนด ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 โดยดาเนนิ การตามประเด็น ดังนี้ (1) กาหนดสถานท่ีตง้ั /รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์จัดการกองทุนชุมชน โดยมีกลุ่มออม ทรัพย์เพ่ือการผลิต/โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน และกลุ่ม/กองทุน/องค์กรการเงินชุมชนอ่ืน เช่น กองทุนหมู่บ้านและชมุ ชนเมืองทมี่ คี วามพร้อมรว่ มดาเนนิ การจดั ตั้งเปน็ ศูนยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน (2) จัดทาระเบยี บขอ้ บงั คับของศูนยจ์ ดั การกองทุนชมุ ชน บ้านประชานมิ ติ ร หม่ทู ี่ 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธวิ าส

46 (3) เลือกตัง้ คณะกรรมการศนู ย์จดั การกองทุนชมุ ชน โดยให้มีคณะกรรมการมาจากตัวแทน ทกุ กลุ่ม/กองทนุ ทร่ี ่วมจัดตง้ั ศนู ยจ์ ดั การกองทนุ ชุมชน มาร่วมเป็นคณะกรรมการบริหาร และให้มีผู้ทรงคุณวุฒิ ในหมูบ่ า้ นเปน็ ทป่ี รึกษา (4) จัดทาแผนการดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน และกาหนดการเปิดศูนย์จัดการ กองทุนชมุ ชน (5) จัดซื้อจัดจ้างวัสดุ/อุปกรณ์ในการดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน โดยให้จัดทา ทะเบียนการสง่ มอบรายการวัสดุ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ให้ศนู ยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชนดว้ ย (6) มอบหมายภารกจิ ใหแ้ ก่คณะกรรมการศูนย์จดั การกองทุนชมุ ชน ขนั้ ตอนท่ี 5 ดาเนนิ การเปดิ ศนู ย์จัดการกองทนุ ชุมชน ในวนั ท่ี 12 มนี าคม 2564 บา้ นประชานิมติ ร หมูท่ ่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวดั นราธิวาส


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook