สารสนเทศตาบลต้นแบบเพ่อื การพัฒนาคุณภาพชีวิต ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส ปงี บประมาณ 2564 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 โดยสานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอศรีสาคร 081 - 8211376 หน้า 1
คานา รายงานหมบู่ า้ นสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตจดั ทาข้ึนโดยแกนนาประชาชนตาบลเชิงครี ี อาเภอศรสี าคร จังหวัดนราธวิ าส ร่วมกบั พฒั นากร ในการสรุปวเิ คราะห์ขอ้ มลู สภาพทวั่ ไป ข้อมลู พืน้ ฐาน สภาพปัญหาความต้องการ จดุ แข็ง จุดอ่อน ในการพฒั นาหมบู่ า้ นและได้ประเมนิ สถานะการพฒั นาหมูบ่ ้านใน รอบปที ี่ผา่ นมา โดยการวเิ คราะหจ์ ากขอ้ มลู จปฐ.เพ่ือหาปัจจยั ท่ีมีผลกระทบต่อตวั ช้วี ัดทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์ จปฐ. เพอ่ื นาไปวางแผน การพัฒนา แกไ้ ขปัญหาภายในครัวเรือน และชมุ ชน ได้ตรงกับสภาพปัญหาภายในครัวเรือน ชมุ ชน อีกทง้ั ไดน้ าข้อมูลกิจกรรมโครงการที่ไดร้ ับการสนับสนุนจากหนว่ ยงานตา่ งๆมาวิเคราะห์ พรอ้ มด้วยการ วิเคราะห์ข้อมูลดว้ ยโปรแกรม CIA ความสอดคลอ้ งกบั ทิศทางการพฒั นาชุมชน จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลของ แกนนาและประชาชน และการประเมนิ สถานการณ์พฒั นาหมูบ่ ้าน ทาให้ชาวบ้านสามารถกาหนดทิศทางการ พฒั นาหมู่บา้ นไดว้ ่าจะพฒั นาไปในทศิ ทางใด จงึ จะทาให้ชาวบา้ นมีคุณภาพชีวติ ท่ดี ขี ึน้ ได้ รายงานการพฒั นาหมู่บา้ นเล่มนี้คงจะเปน็ ประโยชน์ในการศกึ ษา หรือเปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาหมบู่ า้ น ชุมชน และสามารถนาไปเปน็ แนวทางในการพฒั นาหมูบ่ ้านในภาพรวมต่อไป ผจู้ ดั ทา สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาคร กมุ ภาพันธ์ 2564 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 2
สารบญั หน้า เร่ือง 5 สว่ นที่ 1 5 1. ขอ้ มูลทวั่ ไปของตาบล 6 1.1 ประวัติความเป็นมา 6 1.2 สภาพภูมิศาสตร์ 6 1.2.1 ทต่ี ง้ั และอาณาเขต 7 1.2.2 ภมู ปิ ระเทศ 7 1.2.3 ภมู อิ ากาศ 8 1.3 จานวนหมู่บา้ น 1.4 จานวนครัวเรอื นประชากร 9 1.5 สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว 9 12 2. สถานภาพทางเศรษฐกจิ 13 3. สภาพทางสงั คม 14 3.1 หน่วยงานราชการ 14 3.2 การศกึ ษา 15 3.3 ศาสนา 15 3.4 การสาธารณสขุ 15 4. การบรกิ ารพ้นื ฐาน 15 4.1 เสน้ ทางการคมนาคม 4.2 การสอ่ื สาร / โทรคมนาคม / กาขนสง่ 15 4.3 การไฟฟา้ 15 4.4 การประปา 16 4.5 แหลง่ นา้ ธรรมชาติ 18 4.6 แหง่ น้าสรา้ งขึ้น 5. ขอ้ มูลอ่ืน ๆ 20 5.1 ทรัพยากรธรรมชาติ 20 5.2 ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ 6. ผู้นาชมุ ชน กล่มุ องคก์ ร อตั ลักษณ์ หน้า 3 7. ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี / เทศกาลประจาปี /ศาสนา สว่ นท่ี 2 แนวทางการพัฒนาตาบลสารสนเทศต้นแบบเพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพชีวิต 1. การบรหิ ารจดั การ 1.1 สถานทด่ี าเนนิ การ 1.2 ตัวแทนหมู่บ้าน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
1.3 แตง่ ตั้งคณะทางานบริหารตาบลสารสนเทศตน้ แบบฯ หน้า 1.4 โครงสรา้ งคณะทางานบริหารตาบลสารสนเทศต้นแบบฯ 1.5 แผนปฏบิ ัติการขบั เคล่อื นสารสนเทศตาบลตน้ แบบฯ 21 1.6 การขับเคลอื่ นสารสนเทศตาบลตน้ แบบฯ 22 2. การจัดทาสารสนเทศภมู ิศาสตร์ (GIS) เพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ 23 2.1 การแสดงสัญญาลกั ษณ์ (ICON) บนแผนที่ 24 3. การวิเคราะหข์ ้อมลู และการจัดทาแผนพัฒนาตาบล 3.1 การวเิ คราะห์ข้อมูล CIA 26 3.2 ผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพชุมชน 28 3.2.1 ผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพชุมชนแยกเปน็ หมบู่ ้าน 3.3 สรุปแนวทางการแกไ้ ขปัญหาจากการผลการวเิ คราะห์ 31 4. การดาเนนิ งานโครงการเชิงบรู ณาการและการแสวงหางบประมาณ 36 4.1 การจดั ทาแผนงานบรู ณาการ/โครงการ 43 4.2 โครงการสนับสนนุ การขบั เคลอ่ื นแผนงานบรู ณาการ 45 4.3 ตารางการสรปุ ผลการดาเนินงานการแก้ไขปัญหาข้อมูลฯ 51 5. ผลท่เี กิดข้นึ ตอ่ ครัวเรอื น หมบู่ า้ น ตาบล 54 6. การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธแ์ ละการนาเสนอกจิ กรรม 56 5.1 ชอ่ งทาง Facebook 5.2 ชอ่ งทาง Line 57 5.3 ช่องทางเว็บไซต์ (www.) 60 62 ส่วนที่ 3 ภาคผนวก 1. คาสง่ั แต่งตงั้ คณะทางานฯ ระดบั ตาบล 2. รายชือ่ ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมฯ 3. ภาพสถานท่จี ัดทาตาบลสารสนเทศต้นแบบฯ 4. ข้อมลู ความจาเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) ปี 2562 4.1 ขอ้ มลู ความจาเปน็ พน้ื ฐานระดบั ตาบล 4.2 ข้อมูลความจาเป็นพืน้ ฐานระดบั หมู่บา้ น 5. ขอ้ มลู สภาพปัญหา (กชช.2ค) ปี 2562 5.1 ข้อมลู สภาพปัญหาระดับตาบล 5.2 ขอ้ มูลสภาพปญั หาระดบั หมู๋บา้ น สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 4
สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป ตาบลสารสนเทศตน้ แบบเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ตาบลเชงิ ครี ี อาเภอศรีสาคร จงั หวัดนราธิวาส ข้อมลู 1 สภาพทั่วไป 1.1) ประวัติความเปน็ มา ตาบลเชิงคีรี อยู่ในการปกครองของตาบลตะมะยูง และตาบลซากอ ต่อมาได้ประกาศ จดั ต้ังตาบลเชิงคีรี เม่อื ปี พ.ศ. 2525 ในสมัยก่อนหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านของตาบลเชิงคีรี เป็นหมู่บ้านที่เต็มไป ด้วยป่าไม้ โดยที่ตั้งของตาบลน้ีอยู่เชิงเขา ภูเขาเป็นเส้นแบ่งระหว่างอาเภอ สภาพอากาศเย็นสบาย มีแม่น้า ลาธารที่ไหลมาจากภูเขา เพ่ือใช้สาหรับอุปโภคและบริโภค และด้านเกษตรกรรม แม่น้าแต่ละสายในช่วง ฤดูร้อนก็ไม่แห้งเหือด ซึ่งมีพอสาหรับใช้ในยามวิกฤต แต่ละหมู่บ้านจะมีภูเขาและเนินเขา ซึ่งมีความสูงไม่ เท่ากนั ปัจจบุ นั ตาบลเชงิ ครี ี ประกอบด้วย 4 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ 1. หมบู่ า้ นกะดี หมูท่ ่ี 1 2. หมู่บา้ นตามุง หมู่ท่ี 2 3. หมูบ่ ้านลาเวง หมู่ที่ 3 4. หมู่บ้านดาฮง หมทู่ ่ี 4 1.2) สภาพภูมศิ าสตร์ 1.2.๑ ทตี่ ้งั และอาณาเขต ลักษณะทต่ี ัง้ อาณาเขตและเขตการปกครองขององค์การบริหารส่วนตาบลเชิงคีรีได้จัดต้ัง เม่ือวันที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2540 ตั้งอยู่ในพน้ื ท่ี หม่ทู ี่ ๒ ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรีสาคร หา่ งจากท่ีว่าการอาเภอศรี สาครประมาณ 2.2 กิโลเมตร ห่างจากที่ตั้งศาลากลางจังหวัดนราธิวาส 58 กิโลเมตร ประกอบด้วยหมู่บ้าน จานวน ๔ หมูบ่ า้ น ตาบลเชงิ ครี ี เนอื้ ท่ที งั้ หมด มีเนอ้ื ที่ประมาณ 49.77 ตารางกิโลเมตร หรือ (33,637 ไร่) ตาบลเชงิ คีรีมพี ื้นท่สี ่วนใหญ่ท่ีราบลุ่ม เหมาะแก่การทาเกษตรกรรม เปน็ หน่งึ ใน 6 ตาบล ของอาเภอ ศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส จังหวัดนราธวิ าส โดยมอี าณาเขตติดต่อ ดังน้ี จงั หวดั นราธิวาส ทศิ เหนอื ตดิ กับ ตาบลลาโละ , ตาบลรือเสาะ อาเภอรอื เสาะ จงั หวดั นราธวิ าส ทศิ ใต้ ตดิ กบั ตาบลซากอ อาเภอศรีสาคร และตาบลเฉลมิ อาเภอระแงะ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กับ ตาบลลาโละ อาเภอรือเสาะ จังหวดั นราธวิ าส ทิศตะวนั ตก ติดกบั ตาบลตะมะยงู อาเภอศรสี าคร จังหวัดนราธิวาส สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 5
แผนทีต่ าบลเชิงคีรี อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธิวาส 1.2.๒ ภมู ปิ ระเทศ ลักษณะภูมิประเทศ ตาบลเชิงคีรี มีพ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ีราบเชิงเขาล้อมรอบและมี ความอุดมสมบูรณ์มาก เหมาะแก่การเพาะปลูก ทาสวน เช่น สวนยางพารา สวนผลไม้ มีอาณาเขตติดต่อ อาเภอรือเสาะ 1.2.๓ ภมู อิ ากาศ เป็นแบบรอ้ นชนื้ โดยแบ่งฤดูกาลออกเปน็ ๒ ฤดู ได้แก่ ๑. ฤดูฝน ระหวา่ งเดอื นมิถนุ ายน ถงึ เดือนมกราคม ของทกุ ปี ๒. ฤดูร้อน ระหวา่ งเดอื นกุมภาพนั ธ์ ถงึ เดือนพฤษภาคม ของทุกปี 1.3)จานวนหม่บู า้ น ตาบลเชงิ ครี ี อาเภอศรีสาคร มจี านวนหมูบ่ า้ น 4 หม่บู ้าน ลาดบั ท่ี ชอ่ื หมู่บ้าน เน้อื ทท่ี าการเกษตร หมทู่ ี่ 1 บ้านกะดี 7,175 ไร่ หมทู่ ี่ 2 บา้ นตามุง 5,536 ไร่ หม่ทู ี่ 3 บา้ นลาเวง 4,920 ไร่ หมู่ท่ี 4 บ้านดาฮง 8,924 ไร่ *** พ้ืนที่ทัง้ หมด 26,555 ไร่ จานวนหมบู่ ้านในเขต อบต.เชิงครี ที ัง้ หมด 4 หมบู่ ้าน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 6
1.4 จานวนครวั เรอื นประชากร ชื่อบ้าน หมทู่ ี่ ชาย จานวนประชากร รวม จานวนครวั เรอื น หญิง 890 208 บ้านกะดี 1 467 423 307 1,071 396 บ้านตามงุ 2 522 549 223 1,436 1,134 บ้านลาเวง 3 733 703 871 บา้ นดาฮง 4 462 409 4,268 รวม 2,184 2,084 *** ข้อมลู จปฐ. ปี 2562 > ชาวบ้านตาบลเชิงคีรี เป็นชาวไทยนับถือศาสนาอสิ ลาม คิดเปน็ รอ้ ยละ 100% ชาวบ้าน ในตาบลเชิงคีรี มคี วามสามัคคกี ันเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง มกี ารประกอบอาชพี ทีห่ ลากหลาย ไดแ้ ก่ อาชพี เกษตรกรในการทาสวนยางพารา ทาสวนผลไม้ เลย้ี งแพะ เล้ียงววั คา้ ขาย อาชพี รับจา้ งท่ัวไป และอน่ื ๆ > ภาษาท่ีใช้ ส่วนใหญ่จะนิยมใชภ้ าษาท้องถ่นิ “ภาษาถ่นิ ใต”้ และ “ภาษามลายทู ้องถ่ิน” 1.5 สถานที่ทอ่ งเทยี่ วในตาบลเชงิ ครี ี นาตกเชงิ ครี ี (บ้านตามุง) สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 7
ขอ้ มูล 2. สถานภาพทางเศรษฐกิจ ลกั ษณะเศรษฐกจิ - อาชพี หลกั ๑. สวนยางพารา ๒. ไม้ผล ไม้ยืนตน้ และพชื ผกั ๓. คา้ ขายและธุรกจิ ส่วนตัว 4. รบั จา้ งทวั่ ไป - พืชเศรษฐกิจ คือ ลองกอง , ทุเรียน , เงาะ , ยางพารา, และมังคดุ - สัตว์เศรษฐกจิ คอื โค , แพะ , ไก่ , เปด็ หมทู่ ี่ ชือ่ บ้าน รายไดเ้ ฉลี่ยต่อคน/ปี 1 บา้ นกะดี 52,360 บาท 2 บา้ นตามุง 56,337 บาท 51,981 บาท 3 บ้านลาเวง 47,900 บาท 4 บา้ นดาฮง *** ขอ้ มลู จปฐ. ปี 2562 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 8
ขอ้ มลู 3 สภาพทางสงั คม มีหน่วยงานราชการ และรฐั วิสาหกิจ ในพ้นื ที่องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลเชงิ ครี ี ดงั น้ี หน่วยงานราชการ 1. องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลเชงิ ครี ี ทีต่ ั้ง หมทู่ ่ี 2 บ้านตามงุ อาเภอศรีสาคร จงั หวดั นราธวิ าส 2. หนว่ ยเฉพาะกจิ กรมทหารพรานที่ 49 ท่ีตั้ง หมูท่ ี่ 4 บา้ นดาฮง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส การศกึ ษา 1. โรงเรยี นภาครัฐจานวน 4 แหง่ โรงเรียนสวา่ งวัฒนา หมู่ท่ี 1 บา้ นกะดี หนา้ 9 สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) มีจานวนเดก็ นกั เรียนทง้ั หมด 95 คน จานวนครูผู้สอน 13 คน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
โรงเรียนบา้ นตามงุ หมทู่ ี่ 2 บา้ นตามงุ สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (สพฐ.) มีจานวนเดก็ นักเรียนทั้งหมด 138 คน จานวนครผู สู้ อน 13 คน โรงเรียนบ้านลาเวง หมู่ท่ี 3 บา้ นลาเวง สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (สพฐ.) มจี านวนเด็กนกั เรียนทงั้ หมด 220 คน จานวนครูผสู้ อน 13 คน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 10
โรงเรยี นบ้านดาฮง หมู่ที่ 4 บ้านดาฮง สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) มีจานวนเดก็ นกั เรียนทงั้ หมด 196 คน จานวนครูผสู้ อน 15 คน 2. ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ ประจาตาบล จานวน 2 แหง่ ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ประจามัสยดิ นารอซยี ะห์ (บา้ นตามงุ ) หมทู่ ่ี 2 มีจานวนเด็กนักเรียนท้ังหมด 21 คน จานวนผูด้ ูแลเด็ก 3 คน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 11
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ (บา้ นดาฮง) หมู่ท่ี 4 มจี านวนเด็กนกั เรยี นทั้งหมด 34 คน จานวนผู้ดูแลเด็ก 3 คน 3. การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ตาบลเชงิ ครี ี จานวน 1 แหง่ จุดใหบ้ รกิ ารอินเตอรเ์ นต็ และสญั ญาณ WIFI ของตาบล กศน.ตาบลเชงิ ครี ี ตงั้ อย่ทู ี่ หมู่ที่ 3 ศาสนา มัสยดิ ประจาหมูบ่ ้าน 5 แห่ง มสั ยิดดารลุ อามานี บา้ นกะดี หมทู่ ี่ 1 มัสยิดนารอซียะห์ บา้ นตามุง หมทู่ ่ี 2 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 12
มัสยิดฮีดายาตุสวอลีฮนี (บาโงบราแง)บา้ นตามงุ หมู่ท่ี 2 มัสยดิ ซีรอยยัลฮูดา บา้ นลาเวง หมูท่ ี่ 3 มสั ยดิ ดารลุ เตาอยี ะห์ บา้ นดาฮง หมู่ท่ี 4 การสาธารณสขุ 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลเชิงคีรี จานวน 2 แห่ง รพ.สต.บ้านตามงุ หมูท่ ่ี 2 หนา้ 13 มีจานวน อสม. 27 คน มีจานวนเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ 5 คน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
รพ.สต.บา้ นลาเวง หมูท่ ี่ 3 มีจานวน อสม. 40 คน มจี านวนเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข 5 คน 4. การบริการพนื ฐาน 4.1 เสน้ ทางการคมนาคม เส้นทางคมนาคมในตาบลเชิงคีรี มีถนนเชื่อมต่อเดินทางระหว่างหมู่บ้านได้ทุกหมู่บ้าน การ เดินทางสะดวกเป็นถนนลาดยาง และสามารถเชื่อมต่อในการเดินทางกับตาบลอื่นๆ ได้ทุกตาบล และสามารถ เดินทางไปยังอาเภอใกล้เคียง ได้แก่ อาเภอรือเสาะ อาเภอระแงะ อาเภอเมืองนราธิวาส ได้สะดวก แบ่งเป็น ทางเหลวงทอ้ งถ่ิน และทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4006 ถนนภายในตาบล - ถนน คสล. จานวน 4 สาย สภาพการใชง้ านดี - ถนนลูกรังในหม่บู ้าน จานวน 14 สาย สภาพใชง้ านไดด้ ี แตจ่ ะลาบากในฤดูฝน - ถนนดนิ เช่อื มระหวา่ งหมู่บ้านและตาบลใกลเ้ คียง จานวน 3 สาย สภาพใชง้ านได้ดี - ถนนแอสฟลั ทต์ กิ คอนกรีต จานวน 3 สาย สภาพใช้งานไดด้ ี 4.2 การส่อื สาร / โทรคมนาคม / การขนส่ง มีโทรศัพท์/เสาสัญญาณโทรศพั ทข์ องเอกชน ที่ประชาชนเข้าถงึ ได้ จานวน 3 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ ทั้ง 4 หมู่บ้าน และมีการใช้โทรศัพท์เคล่ือนที่(มือถือ) อย่างแพร่หลาย โดยเฉล่ียจานวน 2 เครือ่ ง/ครัวเรือน เนือ่ งจากมคี วามสะดวกในการตดิ ตอ่ สอื่ สารและราคาโทรศัพท์มือถือไมส่ ูงมากนัก - มบี รกิ ารให้ใช้อนิ เตอรเ์ นต็ ฟรี ทสี่ านกั งานองค์การบรหิ ารส่วนตาบลเชิงครี - การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) บริการระบบอินเตอร์เน็ตฟรี ชาวบ้านในตาบลเชิงครี สี ามารถใช้บริการไดต้ ลอด 24 ชม. องค์การบริหารส่วนตาบลเชิงคีรี ไม่มีไปรษณีย์ แต่มีบริการไปรษณีย์จากไปรษณีย์ประจาอาเภอ ซึ่งมีจานวน 1 แห่ง ให้บริการ เวลา 08.00 – 16.00 น. ในวันจันทร์ – วันเสาร์ (คร่ึงวัน) และหยุด วันอาทติ ย์ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 14
- ในพืน้ ที่ตาบลเชงิ ครี ี มไี ปรษณยี ์ของภาคเอกชนบริการ ในหมู่ท่ี 1 บ้านกะดี จานวน 1 แห่ง แลในพ้นื ทหี่ มู่ที่ 2 บ้านตามงุ จาวน 1 แหง่ 4.3 การไฟฟา้ ในพ้ืนท่ีตาบลเชิงคีรี มไี ฟฟ้าใช้ จานวน 4 หมูบ่ ้าน ครบทกุ ครัวเรอื น 4.4 การประปา ในพื้นที่ตาบลเชิงคีรีมีน้าประปาหมู่บ้าน ซึ่งเป็นน้าประปาของ อบต. และน้าประปาภูเขาใช้ จานวน 1,134 ครัวเรือน 4.5 แหล่งนาธรรมชาติ ลาห้วย 5 แห่ง บึง 3 แห่ง หนองน้า 1 แหง่ ลาคลอง 4 แหง่ - คลองตะโละ๊ บอม หมู่ท่ี 1 บา้ นกะดี - คลองบา้ นไอร์วิ หมู่ที่ 2 บา้ นตามงุ - คลองไอร์ปากอ หมทู่ ี่ 3 บ้านลาเวง - คลองไอร์ดาฮง หมู่ที่ 4 บ้านดาฮง 5.6 แหล่งนาสรา้ งขนึ บอ่ น้าตนื้ 300 แหง่ บ่อบาดาล 1 แหง่ ฝาย 2 แหง่ 5. ข้อมูลอนื่ ๆ 5.1 ทรพั ยากรธรรมชาติในพื้นท่ี - ปา่ ไม้ เป็นพน้ื ที่ป่าสงวน 3,320 ไร่ - ภเู ขา มแี นวภูเขาทเ่ี ชือ่ มกบั เทือกเขาเมาะแต หมทู่ ี่ 2 บา้ นตามุง 5.2 ความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ ิน 1 แห่ง - มหี นว่ ยเฉพาะกจิ กรมทหารพรานท่ี 4912 4 แหง่ - มชี ุดรกั ษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 15
ผู้นาชุมชน กลุ่มองคก์ ร อัตลักษณ์ ผนู้ าชุมชนแตล่ ะหมู่บา้ นของตาบลเชงิ คีรี อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธิวาส การปกครอง ที่ ช่ือ - สกลุ ตาแหนง่ 1 นายอับดุลหะแว เระ นายก อบต. 2 นายรอสาลาลี สาและ กานนั ตาบลเชิงครี ี 3 นายสกรี เวาะและ ผ้ใู หญบ่ า้ น ม.1 4 นายอับดุลรอแม สะ ผ้ใู หญ่บ้าน ม.3 5 นายซอเร มะเซ็ง ผใู้ หญบ่ ้าน ม.4 กล่มุ อาชพี / กลุ่มองค์กรในหม่บู า้ น จานวน 40 คน จานวน ๒๐ คน จานวนกลุ่มกิจกรรม / อาชีพ มีจานวน 8 กล่มุ ดังน้ี จานวน ๘๐ คน จานวน ๓๐ คน 1. ชอื่ กลุม่ ปักผา้ ลาวา ลาเวง (Lawa Laweng) จานวน ๒๐ คน 2. ชื่อกลมุ่ ตดั เยบ็ เส้อื ผ้า บา้ นลาเวง จานวน 47 คน 3. กลมุ่ สมั มาชพี บ้านลาเวง จานวน 50 คน 4. กลมุ่ ทาเครื่องแกง บา้ นดาฮง จานวน 25 คน 5. กลมุ่ ไมก้ วาดก้านมะพร้าว บ้านดาฮง 6. กลุ่มเฟอร์นเิ จอรไ์ ม้เทียม (ปนู ปัน้ ) บา้ นดาฮง 7. กลุม่ เลยี้ งปลาทบั ทมิ บา้ นลาเวง 8. กลุ่มจักรสานย่านลเิ ภา บ้านดาฮง ผลติ ภณั ฑ์สินค้า OTOP ท่ีนา่ สนใจ งานปกั ผ้า แบรนด์ ลาวา ลาเวง (Lawa Laweng) เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP งานปักบนผ้าคลุมผมสตรี ไดร้ บั รางวัลระดับ 4 ดาว ระดับของกรมการพฒั นาชมุ ชน ผลิตโดย กลมุ่ สตรบี ้านลาเวง หม่ทู ่ี 3 บา้ นลาเวง ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรีสาคร สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 16
\\\\\\ เครื่องแกง บ้านดาฮง ผลิตโดย กลมุ่ เคร่ืองแกงบา้ นดาฮง หมทู่ ่ี 4 ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรสี าคร ขนมปุยฝ้าย ผลติ โดย กล่มุ สมั มาชีพบา้ นลาเวง หม่ทู ี่ 3 บา้ นลาเวง ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรีสาคร ผลิตภัณฑช์ มุ ชน กลุม่ เฟอรน์ ิเจอรไ์ มเ้ ทียม (ปูนป้ัน) ผลิตโดย กลมุ่ ปูนปั้นบ้านดาฮง หนา้ 17 หมู่ที่ 4 บ้านดาฮง ตาบลเชิงครี ี อาเภอศรีสาคร สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
กลุ่มไม้กวาดกา้ นมะพร้าว ผลติ โดย กลุ่มสตรบี า้ นดาฮง หมู่ท่ี 4 บา้ นดาฮง ตาบลเชิงครี ี อาเภอศรสี าคร ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี / เทศกาลประจาปี / ศาสนา 1. เอกลักษณ์ด้านภาษาที่พูด ส่วนใหญ่จะนิยมใช้ภาษาท้องถ่ิน “ภาษาถิ่นใต้” และ “ภาษามลายู ทอ้ งถ่นิ ”ในชวี ิตประจาวัน 2. มาแกปูโละ “มาแกปูโละ” เป็นภาษาท้องถิ่น แปลว่า “กินเหนียว” ประเพณีการกินเหนียวของ ชาวไทยทนี่ บั ถอื ศาสนาอิสลาม จะใช้ในหลายโอกาส เชน่ แตง่ งาน และเข้าสุหนัต คาว่า “กินเหนียว” มิใช่ว่า เจา้ ของจะบรกิ ารอาหารเฉพาะขา้ วเหนยี วเท่าน้ัน แต่เปน็ การเล้ยี งอาหารธรรมดาทวั่ ไปนน่ั เอง 3. เข้าสุหนัต เป็นหลักการของศาสนาอิสลาม อันเกี่ยวเนื่องกับเร่ืองความสะอาด คือการขลิบ ผิวหนังหุ้มส่วนปลายอวัยวะเพศชายหรือเรียกตามภาษาท้องถ่ินว่า “มาโซะยาวี” ซึ่งจะทาแก่เด็กชายท่ีมีอายุ ระหวา่ ง ๒-๑๐ ปสี ่วนการจดั เลยี้ งอาหารในวนั เขา้ สุหนัตถือว่าเป็นประเพณีอยา่ งหน่งึ การเขา้ สหุ นัต คือการขลบิ ผวิ หนังหุ้มอวัยวะเพศของชาย ซึ่งจะทาแกเ่ ด็กผู้ชายทอ่ี ายุ 2 - 12 ปี 4. ฮารรี ายอ วนั ฮารรี ายอ มีอยู่ ๒ วนั คือ 4.1 วนั อิฏิลฟิตรี หรือทเ่ี รยี กวา่ วันฮารีรายอปอซอ เป็นวันเฉลิมฉลองเนื่องจากการส้ินสุดการถือ ศีลอดในเดอื นรอมฎอน เป็นการกลับเข้าสู่สภาพเดิมคือ สภาพที่ไม่ต้องอดอาหาร ไม่ต้องอดน้า ฯลฯ อีกต่อไป ซ่ึงตรงกับวันที่หนึ่งของเดือนเซาวาล เป็นเดือนท่ี ๑๐ ทางจันทรคติ และทางราชการกาหนดให้เป็น วนั หยดุ ราชการใน ๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้(ยกเวน้ สงขลา) ๑ วนั สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 18
4.2 วันอิฎิลอัตฮา หรือที่เรียกว่า วันฮารีรายอหัจญี หมายถึงวันเฉลิม ฉลองเนื่องในวันเชือดสัตว์ พลีเป็นทานบริจาคอาหารแก่คนยากจนและประชาชนท่ัวไป ตรงกับวันที่ ๑๐ ของเดือนซุลอิจญะ เป็นเวลา เดียวกับการประกอบพิธีหัจญ์ ณ นครเมกกะของมุสลิมท่ัวโลก ดังนั้นชาวไทยมุสลิมจึงนิยมเรียกวันตรุษน้ีว่า วันอีดใหญ่หรือวันรายอหัจญี และทางราชการกาหนดให้เป็นวันหยุดราชการใน ๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ยกเว้นสงขลา) ๑ วนั 5. วันอาซูรอ อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ หมายถึง วันท่ี ๑๐ ของเดือนมุฮัรรอน ซ่ึงเป็นเดือนทาง ศักราชอิสลาม ในสมัย ท่าน นบีนุฮ์ ได้เกิดน้าท่วมใหญ่ยังความเสียหายแก่ทรัพย์สินไร่นาของประชาชนทั่วไป ทาให้เกิดการขาดอาหารบริโภค จึงประกาศให้ผู้ท่ีมีสิ่งของท่ีเหลือพอจะรับประทานได้ ให้เอามากองรวมกัน เน่ืองจากต่างคนต่างมีของคนละอย่างไม่เหมือนกัน ท่านนบีนุฮ ์ ให้เอาของเหล่าน้ันมากวนเข้าด้วยกัน สาวก ของท่านก็ได้รับประทานอาหารโดยท่ัวกันและเหมือนกัน ในสมัย ท่านนบีมูฮัมหมัด (ศ็อล) ได้เกิดเหตุการณ์ ทานองเดียวกันขณะท่ีกองทหารของท่านกลับจากการรบที่บาดัร ปรากฏว่าทหารมีอาหารไม่พอกิน ท่านนบีมู ฮมั หมัด (ศ็อล) จึงใช้วิธกี ารของทา่ น นบนี ุฮห์ โดยให้ทกุ คนเอาข้าวของท่ีรับประทานได้มากวนเข้าด้วยกัน แล้ว แบง่ กนั รบั ประทานในหมูท่ หาร 6.การถือศีลอดเดือนรอมฎอน ในทกุ ๆ ปี ศาสนิกชนมสุ ลิมในศาสนาอิสลามจะปฏิบัติภารกิจถือศีลอด เดือนรอมฎอน เป็นการทดสอบความศรัทธาอันแรงกล้าต่อองค์พระผู้เป็นเจ้าที่ประทานพระบัญญัติแก่มวล มนุษย์ เพื่อฝกึ ฝนใหม้ วลมนุษยร์ จู้ กั ความอดกลัน้ อดทน มีจิตใจหนักแน่น และไม่ท้อถอยอย่างง่ายดายต่อความ ยากลาบากท่ีเผชิญอยู่ ณ เบ้ืองหน้า เม่ือย่างเข้า เดือนรอมฎอน ( )رمضانหลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ชาวมสุ ลิมจะเริม่ ถือศลี อดตลอดช่วงเดือนน้ีเป็นเวลา 29 – 30 วัน เป็นการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติข้อท่ีส่ีใน หลกั ปฏบิ ัตศิ าสนบัญญัติ 5 ประการ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 19
สว่ นท่ี 2 แนวทางการพัฒนาตาบลสารสนเทศตน้ แบบ ตาบลสารสนเทศตน้ แบบเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ตาบลเชิงครี ี อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส 2.1 การบรหิ ารจัดการ - สถานทส่ี าหรบั ดาเนนิ การ คือ ห้องประชุมองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเชงิ คีรี - ตวั แทนหม่บู า้ น เข้ารว่ มกิจกรรม สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 20
คณะทางานบริหารสารสนเทศตาบลต้นแบบเพอื่ การพฒั นาคุณภาพชีวติ ระดบั ตาบล ท่ีประกอบดว้ ย ตวั แทนหมบู่ ้าน เข้าร่วมดาเนินการ ปี 2564 อาเภอศรสี าครไดแ้ ตง่ ตัง้ คณะทางานบรหิ ารตาบลสารสนเทศตน้ แบบเพื่อการพัฒนา คุณภาพชวี ิตระดับตาบล เพื่อเปน็ กลไกในการขับเคลื่อนและพัฒนาสารสนเทศตาบลตน้ แบบฯ ระดบั จงั หวดั ตาบลเชงิ ครี ี อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธวิ าส ใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย มปี ระสิทธิภาพตามคาส่ังอาเภอศรสี าคร ท่ี 482/2564 ลงวนั ที่ 16 พฤศจกิ ายน 2563 (ฉบับแก้ไข) ประกอบด้วย นายอับดลุ หะแว เระ นายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบล หวั หนา้ คณะทางาน นายสภุ ัทร มลู ศรี ปลัดอาเภอประสานงานประจาตาบล คณะทางาน นางเหมอื นฝัน ขาวผอง นกั บรหิ ารงานท้องถ่นิ ระดับต้น คณะทางาน ร.ต.สภุ าพ มณีฉาย ผบ.กองร้อยที่ 4912 คณะทางาน ร.ต.ท.บดินทร์ ยมี ะลี รองสารวตั รปอ้ งกันปราบปราม คณะทางาน นายรอสาลาลี สาและ กานนั ตาบลเชิงครี ี คณะทางาน นายสกรี เวาะและ ผู้ใหญบ่ ้าน หม่ทู ี่ 1 คณะทางาน นายอบั ดุลรอแม สะ ผู้ใหญบ่ ้าน หมทู่ ่ี 3 คณะทางาน นายซอเร มะเซง็ ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ท่ี 4 คณะทางาน นายสรู ียา ยูโซ๊ะ นักวิชาการสง่ เสริมการเกษตร คณะทางาน นางสาวอารยา กูมอ ผอ.รพสต.บ้านตามุง คณะทางาน นางสาวนูรฮายาตี มะรอนิง ผอ.รพสต.บ้านลาเวง คณะทางาน นางสาวดาวาตี กาเดร์ หวั หน้า กศน.ตาบลเชงิ คีรี คณะทางาน นางสาวเจะ๊ ฮาสือนะฮาเฮาะ เจ้าหนา้ ท่ปี กครอง คณะทางาน นางปารวี แซเ่ ง้า นักวชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ คณะทางานและเลขานุการ นางสาวปลื้มจติ เหมอื นใจพัฒนากรประจาตาบลเชงิ ครี ี คณะทางานและชว่ ยเลขานุการ ให้คณะทางานขับเคลื่อนสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ประจาปี 2564 อาเภอศรีสาครมหี น้าทดี่ ังน้ี 1. สนับสนนุ การจัดเกบ็ ขอ้ มลู ตาบลต้นแบบการจัดการสารสนเทศเพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต 2. ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานขับเคลื่อนตาบลต้นแบบการจดั การสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. ประชาสมั พนั ธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดทาข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ของอาเภอศรสี าคร ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนและใช้ข้อมูลในการวางแผนพัฒนาและแก้ไข ปญั หาของหมู่บา้ น ตาบล อาเภอ ให้เกิดผลเปน็ รปู ธรรมมีประสิทธิภาพ 4. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ ข้อมูล เพ่ือการพัฒนาชุมชน โดยการบูรณาการแผนพัฒนา ร่วมกับภาคกี ารพฒั นา สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 21
คณะทางานขับเคลอ่ื นสารสนเทศตาบลต้นแบบ ตาบลเชงิ คีรี สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 22
แผนปฏิบตั ิการการขับเคลอ่ื นสารส อาเภอศรสี าคร จ ที่ แผนงาน / กจิ กรรม วัน 1 นาเร่ืองการขบั เคลื่อนสารสนเทศตาบลเข้าท่ปี ระชุมสภาสันติสขุ และทีป่ ระชุม อบต. เพ่ือขยายความคิดในการขับเคลอ่ื นกิจกรรม 9 พ ตามแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชน 2 จดั ทาคาส่งั แต่งตั้งคณะทางานขบั เคลอ่ื นสารสนเทศตน้ แบบตาบล 16 3 ประชุมคณะทางานขับเคลอ่ื นสารสนเทศตาบล เพ่ือสร้างความ 20 เขา้ ใจรว่ มกนั 4 จัดทาแผนปฏิบัตกิ ารการขับเคล่อื นสารสนเทศตาบลตน้ แบบ ตาม 24 กระบวนงานของกรมการพฒั นาชมุ ชน 5 ดาเนนิ การตามขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน - จัดทาสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ปักหมุด GIS 16 - 2 - วิเคราะหข์ ้อมูล จาก CIA ปญั หา 5 ดา้ น - สรปุ ประเด็นปญั หา พร้อมจัดลาดับความรุนแรงของปัญหา ท่ีได้ จากการวิเคราะห์ เพ่ือทาการแกไ้ ขและพฒั นาตาบลต่อไป 6 เสนอข้อมูลท่วี เิ คราะห์ตอ่ เวทีคณะทางานฯ/ผ้นู าชมุ ชน 25 7 สรุปข้อมลู เสนอตอ่ ที่ประชุม อบต./ที่ประชุมหวั หน้าส่วนราชการ 12 8 จัดทาเอกสารถอดบทเรยี น / จดั ทาองคค์ วามรู้ 10 (Best Practice) จดั ทาคลปิ /วีดที ัศน์ นาเสนอสารสนเทศตาบล ตน้ แบบ เพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
สนเทศตาบลตน้ แบบตาบลเชงิ คีรี จังหวัดนราธิวาส น เดอื น ปี สถานทีด่ าเนินการ หมายเหตุ พ.ย. 2563 ทีท่ าการกานัน ตาบลเชิงคีรี แผนงาน / กิจกรรม สามารถ ปรบั เปลย่ี นไดต้ ามความ พ.ย. 2563 ที่ทาการกานัน ตาบลเชิงครี ี เหมาะสม ทั้งนใี้ ห้อยู่ใน พ.ย. 2563 หอ้ งประชุม องค์การบริหาร ความเหน็ ชอบของ ส่วนตาบลเชิงคีรี (อบต.) คณะทางานฯระดับตาบล พ.ย. 2563 หอ้ งประชุม องค์การบริหาร ส่วนตาบลเชงิ คีรี (อบต.) 21 ธ.ค. 2563 ลงพ้ืนท่ี ตาบลเชงิ คีรี และ ทีท่ าการกานนั ตาบลเชิงคีรี ธ.ค. 2563 ทท่ี าการกานนั ตาบลเชงิ คีรี ม.ค. 2564 ห้องประชุม ม.ิ ย. 2564 ทว่ี า่ การอาเภอศรสี าคร ห้องประชมุ องค์การบรหิ าร สว่ นตาบลเชิงคีรี (อบต.) หน้า 23
การดาเนินงานตาบลสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตตาบลเชิงคีรี อาเภอเชิงคีรี จังหวัดนราธิวาส เป็นความพยายามที่จัดระบบข้อมูลท่ีมีอยู่ในชุมชนให้เป็นระบบ เพราะมีข้อมูลจานวนมาก เช่นข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (ข้อมูล จปฐ. , ข้อมูล กชช 2ค , ข้อมูลทุนชุมชน , ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ, ด้าน สังคม ด้านสุขภาพ ฯลฯ ข้อมูลเหล่าน้ีมีความจาเป็นมาก ในการวางแผนพัฒนาแก้ปัญหาให้กับชุมชน ให้ ถกู ตอ้ ง ทันสมยั เป็นระบบหมวดหมู่ เม่ือต้องการค้นหา การดาเนินงานหมู่บ้านต้นแบบการจัดการสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต มีกระบวนการทางาน 5 คอื 1. ร่วมสร้าง 2. ร่วมแลกเปลีย่ น 3. รว่ มกาหนด ความเข้าใจร่วมกัน เรียนรู้รว่ มกัน ความตอ้ งการรว่ มกัน 5. รว่ มเผยแพร่ 4. รว่ มกัน และบารุงรักษา ทาสารสนเทศ ดังนั้น ชุมชน โดยผู้นาชุมชนและอาสาสมัครต้องมีส่วนร่วมในการดาเนินงานในกระบวนงาน 5 ร่วม ดังกล่าว เจ้าหนา้ ทพี่ ัฒนาชมุ ชนและภาคีพัฒนาอื่นๆ มีบทบาทในการให้การสนับสนุน เท่าน้ัน และการจัดการ สารสนเทศอยา่ งเป็นระบบ เม่ือมีข้อมูลดี มีระบบสารสนเทศ ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตรวจสอบจากเวที ประชาคมแล้ว ชุมชนต้องนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ นาไปแก้ปัญหาต่างๆ ให้ลุล่วง โดยผ่านกระบวนการแผน ชุมชนตามแนวทางการพ่ึงตนเอง พ่ึงพา และพึ่งพิง นาไปสู่แผนพัฒนาท้องถ่ิน เรียนรู้สารวจค้นหาข้อมูล วเิ คราะห์ แยกแยะ ปัญหาสาเหตุ จดั ระบบสารสนเทศ การวางแผน และนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์เพ่ือชุมชนเอง ผ่านการจัดการสารสนเทศ โดยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ คือระบบคอมพิวเตอร์ มาบันทึกและประมวลผล แสดงผลการนาเข้าส่งต่อข้อมูล อย่างเป็นระบบ เพ่ือให้ง่ายต่อการนาสารสนเทศไปใช้งานจึงจัดหมวดหมู่ สารสนเทศไว้เปน็ ดา้ นๆ เช่น สารสนเทศเพ่ือการพัฒนาอาชพี เปน็ ตน้ - ขบั เคลอื่ นกิจกรรมโดยคณะทางานขบั เคลื่อนสารสนเทศต้นแบบตาบลต้นแบบ 5 กระบวนการ คอื 1. สร้างความเขา้ ใจรว่ มกนั ในเวที ประกอบด้วย ผู้นาชุมชน / ประชาชน / พฒั นาชมุ ชน อบต. และหน่วยงานภาคี 2. แลกเปล่ียนเรยี นร้รู ว่ มกัน 3. กาหนดความตอ้ งการร่วมกัน 4. รว่ มกนั จดั ทาสารสนเทศ 5. เผยแพร่และบารุงรักษา สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 24
ขับเคล่อื นกจิ กรรมโดยคณะทางานขับเคล่ือนสารสนเทศตาบลต้นแบบเพื่อการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ความเส่ียง 5 ดา้ นในการวเิ คราะหข์ ้อมูลสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตาบลเชิงคีรี ได้มีการสร้างความเข้าใจและแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน นาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนา มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม CIA ระหว่างผู้นาชุมชน คนในชุมชน นักพัฒนาชุมชน และเจ้าหน้าท่ี อบต. โดยไดม้ ีการประยกุ ตท์ างานร่วมกนั การดาเนนิ งานเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน การส่งเสริม การใช้ประโยชน์และการให้บริการข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ จาเป็นท่ีบุคลากรต้องมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการวัดและการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานที่ สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันท่ัวท้ังองค์กร เพื่อใช้เป็นข้อมูลการปฏิบัติงาน และการสนับสนุนการ ตัดสนิ ใจของผบู้ ริหาร เพื่อให้ตาบลได้ใช้สารสนเทศในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและบริหารจัดการชุมชนได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีรูปแบบการพัฒนาสารสนเทศและกาหนดกรอบแนวคิดการพัฒนาสารสนเทศของแต่ละ หมบู่ า้ น และพัฒนาฐานขอ้ มูลพน้ื ฐานของแตล่ ะหมบู่ า้ น ด้านเศรษฐกิจ สังคม คมนาคม และฐานข้อมูลอ่ืน ๆท่ี แต่ละหมู่บ้านเห็นชอบร่วมกันว่ามีความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและบริหารจัดการชุมชนของแต่ละ หมบู่ า้ นใหส้ มบูรณ์ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 25
2.2 การจดั ทาสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต จดั ทาสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) เพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ระดบั ตาบล https://www.google.com/map/d/ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 26
การแสดงสัญลกั ษณ์ (ICON) วางแสดงบนแผนท่ี เพือ่ ใหเ้ ห็นปญั หาอนั ดบั หนึง่ ของแตล่ ะหมบู่ า้ นและสภาพปัญหาของตาบล ทงั 5 ดา้ น สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 27
2.3 การวเิ คราะหข์ ้อมูลและการจัดทาแผนพัฒนาตาบล วิเคราะห์ขอ้ มูล CIA (Community Information’s Radar Analysis การนาข้อมลู จปฐ ข้อมลู กชช.2ค และขอ้ มูลอื่น ๆ ของแต่ละหมู่บา้ น มาวเิ คราะหใ์ น โปรแกรม Radar Diagram ผลการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน บ่งชี้ปัญหาและประเด็นของการพัฒนาสารสนเทศ ชุมชนทตี่ รงกับปัญหาของชุมชน เพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย 1. การพัฒนาดา้ นอาชีพ 2. การจัดการทนุ ของชุมชน 3. จดั การความเสย่ี งของชมุ ชน(ภูมคิ มุ้ กนั ) 4. การแก้ปัญหาความยากจน 5. การบริหารจัดการชุมชน 1.ข้อมลู จปฐ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 28
2. ขอ้ มูล กชช. 2ค สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 29
3.ข้อมูลอ่นื ๆ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 30
ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพชมุ ชน : ตาบลเชงิ คีรี จากการนาเข้าข้อมูลประเภทต่าง ๆ มาวิเคราะห์ข้อมูล มีค่าคะแนนตามระดับปัญหาจากน้อยไปมาก โดยคา่ คะแนนแตล่ ะลาดับนั้น แสดงถงึ ระดับปัญหาแต่ละด้าน บ่งชี้ให้เห็นถึงปัญหา เพื่อให้หมู่บ้านตระหนักว่า ควรแก้ไขหรือพัฒนาด้านใดก่อน ตาบลเชิงคีรี เลือกใช้ผลการวิเคราะห์น้ี เพ่ือสรุปปัญหาให้เห็นภาพรวมของ ตาบล และยงั สามารถเพม่ิ ศักยภาพของหมู่บา้ น ตอ่ ยอดให้เห็นถงึ จุดแข็งและดงึ จุดด้อยไปพฒั นาได้ ตาบลเชิงครี ีมีระดับปญั หาความรุนแรงดังนี ประเดน็ ปญั หา ระดบั ปัญหา อันดับความรุนแรงของปัญหา 1.การพฒั นาดา้ นอาชีพ 2.38 ปัญหารุนแรงอันดับ 1 2.การจัดการทนุ ชมุ ชน 2.01 ปญั หารนุ แรงอันดับ 5 3.การจดั การความเสย่ี งชุมชน 2.04 ปัญหารุนแรงอันดับ 4 4.การแก้ปญั หาความยากจน 2.26 ปญั หารนุ แรงอนั ดับ 2 5.การบริหารจัดการชุมชน 2.26 ปญั หารนุ แรงอนั ดับ 3 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 31
ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพชุมชน แยกเปน็ รายหมู่บา้ น บา้ นกะดี หมู่ที่ 1 การวเิ คราะห์ปัญหาของพนื ที่หมู่ท่ี 1 หมบู่ า้ นกะดี ประเด็นปญั หา ระดับปญั หา อันดบั ความรุนแรงของปัญหา 1.การพฒั นาด้านอาชีพ 2.25 ปัญหารนุ แรงอันดับ 1 2.การจัดการทนุ ชุมชน 2.04 ปญั หารนุ แรงอันดับ 3 3.การจัดการความเสี่ยงชุมชน 2.04 ปัญหารุนแรงอันดับ 4 4.การแกป้ ญั หาความยากจน 1.89 ปญั หารุนแรงอนั ดับ 5 5.การบริหารจดั การชุมชน 2.21 ปัญหารนุ แรงอนั ดับ 2 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 32
ผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพชมุ ชน แยกเป็นรายหมู่บา้ น บ้านตามุง หมู่ที่ 2 การวเิ คราะหป์ ัญหาของพืนที่หมู่ท่ี 2 หม่บู ้านตามุง ประเดน็ ปัญหา ระดบั ปญั หา อนั ดบั ความรนุ แรงของปัญหา 1.การพฒั นาด้านอาชพี 2.29 ปัญหารุนแรงอันดับ 2 2.การจดั การทนุ ชุมชน 2.01 ปญั หารนุ แรงอันดับ 5 3.การจดั การความเสี่ยงชุมชน 2.04 ปัญหารุนแรงอันดับ 4 4.การแกป้ ญั หาความยากจน 2.19 ปัญหารุนแรงอนั ดับ 3 5.การบรหิ ารจดั การชมุ ชน 2.31 ปญั หารุนแรงอนั ดับ 1 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 33
ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพชมุ ชน แยกเป็นรายหมูบ่ า้ น บ้านลาเวง หมู่ท่ี 3 การวเิ คราะห์ปัญหาของพนื ทีห่ มู่ท่ี 3 หมบู่ ้านลาเวง ประเดน็ ปัญหา ระดบั ปญั หา อนั ดบั ความรนุ แรงของปัญหา 1.การพฒั นาด้านอาชพี 2.33 ปัญหารุนแรงอันดับ 2 2.การจดั การทนุ ชุมชน 1.99 ปัญหารนุ แรงอันดับ 5 3.การจดั การความเสยี่ งชมุ ชน 2.38 ปัญหารุนแรงอนั ดับ 1 4.การแกป้ ญั หาความยากจน 2.19 ปญั หารุนแรงอนั ดับ 4 5.การบรหิ ารจดั การชมุ ชน 2.26 ปญั หารุนแรงอันดับ 3 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 34
ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพชมุ ชน แยกเปน็ รายหมู่บา้ น บา้ นดาฮง หม่ทู ี่ 4 การวเิ คราะหป์ ญั หาของพนื ท่หี มู่ท่ี 4 หมู่บา้ นดาฮง ประเด็นปญั หา ระดับปัญหา อันดบั ความรุนแรงของปัญหา 1.การพฒั นาดา้ นอาชพี 2.42 ปัญหารนุ แรงอันดับ 1 2.การจัดการทนุ ชมุ ชน 2.01 ปญั หารนุ แรงอันดับ 5 3.การจัดการความเสย่ี งชมุ ชน 2.33 ปัญหารุนแรงอันดับ 3 4.การแกป้ ัญหาความยากจน 2.26 ปญั หารุนแรงอนั ดับ 4 5.การบริหารจัดการชมุ ชน 2.36 ปัญหารนุ แรงอนั ดับ 2 สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 35
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใช้ Radar Diagram สามารถอ่านคา่ Radar Diagram ไดด้ งั นี 1. การวเิ คราะหข์ ้อมูลทแี่ สดง เส้นสีนา้ เงิน = ขอ้ มลู จปฐ. เรียงตามลาดบั ของปัญหาจากมากไปหาน้อย 2. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทแี่ สดง เส้นสแี ดง = ข้อมลู กชช. 2ค เรยี งตามลาดับของปัญหาจากมากไปหาน้อย 3. วเิ คราะห์ข้อมูลทแ่ี สดง เส้นสีเขียว = ขอ้ มลู อน่ื ๆ เรียงตามลาดับของปญั หาจากมากไปหานอ้ ย สรุปแนวทางการแกไ้ ขปัญหา : ตาบลเชิงคีรี อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธวิ าส 1 ดา้ นการพฒั นาดา้ นอาชพี ค่าคะแนน 2.38 ผลการดาเนนิ กจิ กรรมดา้ นการพฒั นาอาชีพ กจิ กรรมสรา้ งและพฒั นาสมั มาชีพชุมชน บา้ นลาเวง หมูท่ ี่ 3 ตาบลเชิงครี ี เพ่ือใหส้ มาชิกในครัวเรือนมีอาชพี เสริม เพ่ิมรายได้ให้กบั ครัวเรือน กจิ กรรมมอบปัจจัยการผลติ และวัสดอุ ปุ กรณ์ ตามโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสนับสนุนการพัฒนากิจกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน ระดับครัวเรือน และเพ่ือการขยายผลการดาเนินกิจกรรมสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร สร้างสิ่งแวดล้อมให้ ยนั่ ยืนและสร้างภมู ิคุ้มกนั ทางสงั คมโดยขยายผลจากครอบครัวพัฒนาสู่ครัวเรือนอื่นๆในชุมชน มีกลุ่มเป้าหมาย จานวน 60 ครวั เรอื น ณ บ้านตามุง หมู่ที่ 2 และ บา้ นดาฮง หมทู่ ่ี 4 ตาบลเชิงครี ี สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 36
สง่ เสรมิ ประชาชนท่ีสนใจและเยาวชนในการประกอบอาชพี เชน่ กลุ่มปูนปั้น บ้านดาฮง หมทู่ ่ี 4 ตาบลเชิงครี ี 2 การแกไ้ ขปญั หาความยากจน คา่ คะแนน 2.26 ผลการดาเนนิ กิจกรรมในเรือ่ งของการแก้ไขปัญหาความยากจน สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรสี าคร ไดส้ นบั สนุนถงุ ยังชีพและมอบพนั ธผุ์ กั เพ่ือลดรายจ่าย เพิม่ รายไดใ้ ห้กับครัวเรือนท่ีได้รับผลกระทบจากภยั พิบตั ิและครัวเรอื นท่ีดอ้ ยโอกาส สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 37
3 การบรหิ ารจัดการชุมชน ค่าคะแนน 2.26 ผลการดาเนินกจิ กรรมในด้านการบริหารจัดการชุมชน เจา้ หน้าที่และจติ อาสาดแู ลระบบท่อน้า คูคลอง ในพ้นื ท่ีตาบลเชงิ ครี ี ใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจแก่คนในพืน้ ที่ ในโครงการส่งเสริมสขุ ภาพทันต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดาฮง สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 38
กจิ กรรมจดั ระเบียบตลาดนดั พร้อมแจกแมส เพ่ือเปน็ การควบคมุ การแพร่ระบาดของเช้อื โควิค19 ในตาบลเชงิ คีรี 4 การจดั การความเสยี่ งชุมชน ค่าคะแนน 2.04 ผลการดาเนินกิจกรรมในเรอื่ งของการจัดการความเส่ียงของชมุ ชน ลงปฏิบัติภาคสนาม เพอื่ ให้ประชาชนจิตสาธารณะได้มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับการชว่ ยเหลือเบื้องตน้ หากมีภัยพิบัติ กิจกรรมกฬี าต้านยาเสพตดิ เพอ่ื ให้เยาวชนใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ พรอ้ มทงั้ ให้ความรคู้ วามเขา้ ใจเรอื่ งยาเสพตดิ ใหก้ บั เยาวชนในตาบลเชิงคีรอี กี ด้วย สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 39
กจิ กรรมจิตอาสา ใหเ้ ยาวชนในตาบลร้จู กั การนาขยะมาสร้างเป็นมลู คา่ มากกว่าเปน็ ขยะทไ่ี ร้ค่าตามถนนหนทาง . มกี ารติดตง้ั จุดตรวจในแตล่ ะหมู่บา้ น เพื่อปอ้ งกันความสงบในชมุ ชน 5 การจดั การทุนชมุ ชน คา่ คะแนน 2.01 ผลการดาเนนิ กิจกรรมในเร่ืองของการจดั การทุนของชมุ ชน สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอศรสี าคร สนบั สนุนและติดตามครวั เรอื นทย่ี ืมเงนิ กบั ทางโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจน เพื่อนาไปประกอบอาชีพ ในพน้ื ที่ตาบลเชงิ ครี ี สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 40
สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอศรสี าคร ติดตามผลการดาเนินงานของสมาชกิ เงินกู้กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี โครงการประเภทเงินทุนหมุนเวยี น(เงินก)ู้ ในพนื้ ทีต่ าบลเชิงครี ี การวเิ คราะห์ข้อมูล SWOT ของตาบลเชิงครี ี การวิเคราะหป์ ัจจัยภายในหรือสภาพแวดล้อมภายใน จะทาใหต้ าบลทราบถึงความสามารถหรือความ เปน็ ตวั ตนของตาบล (1) จุดอ่อน คือ ลกั ษณะหรือขอ้ ดอ้ ยของตาบลเมื่อเทยี บกบั ตาบลอ่นื (1.๑) ขาดความรใู้ นการจัดการ การผลติ และแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร (1.2) ขาดระบบฐานข้อมูลขา่ วสารดา้ นการตลาดในการพฒั นาผลผลติ ทางการเกษตร (1.3) ประชาชนขาดความรูแ้ ละการศึกษาในการประกอบอาชีพเสรมิ และความตระหนักในการ พัฒนาตนเอง (1.4) ผลผลิตไมผ้ ลไม่ค่อยมคี ุณภาพดีเทา่ ทีค่ วร ทาให้ไมส่ ามารถนาออกขายในตลาดการเกษตร ทีม่ ีมาตรฐานได้ (1.5) เทคโนโลยีสมัยใหมแ่ ละวัฒนธรรมจากภายนอกทาใหว้ ัยรนุ่ นาไปประพฤติ ปฏิบตั ติ นไมเ่ หมาะสม ปัญหายาเสพติด (1.6) ปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในพืน้ ท่ี ทาใหป้ ระชาชนอยู่ดว้ ยความหวาดระแวง และไม่ คอ่ ยไว้วางใจกันเหมือนเม่ือก่อน (๑.๗) ประชาชนในหมู่บา้ นเกิดความหวาดกลัวตอ่ เจ้าหนา้ ที่ของรัฐ เน่ืองจากเขา้ ใจว่าเจา้ หน้าท่ี เข้ามาสบื เรื่องบ้าง เปน็ แนวร่วมบ้าง (๑.๘) ภาพลักษณ์ของเยาวชนดูไมค่ ่อยดีในสายตาคนภายนอก เช่น ไม่เข้ารบั การศกึ ษาต่อใน ระดับสูงขน้ึ ,ขบั ขรี่ ถจกั รยานยนต์ทดี่ ดั แปลงท่อ เกิดมลภาวะทางเสียงและมลพิษทางอากาศ (2) จุดแข็ง คือ ศักยภาพความสามารถหรือข้อเด่นของตาบลเมื่อเทียบกับตาบลอ่ืน (2.1) มสี ถาบนั และองค์กรทางศาสนา เชน่ โรงเรียน โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลมัสยดิ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 41
บาราเซาะ (2.2) มีองค์กรในชมุ ชน เชน่ กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน กลมุ่ เกษตรกร กลุ่มสตรี กลุม่ สมั มาชีพ ฯลฯ (๒.๓) มคี วามรว่ มมือในการจัดกิจกรรมต่างๆ ทกุ กิจกรรม (๒.๔) มีความรรู้ กั สามัคคีกนั ในชุมชน (๒.๕) มีระบบการรกั ษาความปลอดภยั (ชุด ชรบ.) (๒.๖) มกี ารบารงุ รกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรมอันดีงามของ ชมุ ชน (๒.๗) มวี ิถชี ีวติ แบบเรียบง่าย เป็นชมุ ชนดง้ั เดิม (๒.๘) ทรพั ยากรท่ีสาคัญ คือ แหลง่ น้าธรรมชาติ เป็นแหล่งอาหารที่และทรัพยากรดนิ ท่ีอดุ ม สมบูรณ์ (๒.๙) มีสถาบนั การศกึ ษา คือโรงเรียนระดับประถมและรบั ดบั สงู มีศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ (๒.๑0) มอี งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลเชิงคีรตี าบลท่ีมีศักยภาพเพียงพอทีร่ องรับการ บรกิ าร สาธารณะและแกป้ ญั หา (2.๑๑) พืน้ ที่เหมาะแก่การประกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม ซึง่ เปน็ อาชีพหลกั ของ ประชากร (๒.๑๒) มคี วามสามคั คกี ัน และสามารถแก้ไขปัญหารว่ มกนั ได้ (๒.๑๓) เสน้ ทางคมนาคมสะดวก (๒.๑๔) ประชาชนมคี วามเคารพกันและกนั และใหค้ วามนบั ถือผู้สูงอายุ หรอื ผู้อาวุโส (๒.๑๕) มหี อกระจายขา่ วประจาหมู่บ้าน (๒.๑๖) สภาพชุมชนนา่ อยู่ น่าอาศยั (๒.๑7) มีทรัพยากรทางธรรมชาตมิ ากมาย และสิ่งแวดลอ้ มดี (๒.๑๘) มพี ชื เศรษฐกิจ เช่น เงาะ ลองกอง ทเุ รียน มังคุด มะพร้าว และสวนยางพารา (๒.๑๙) ประชาชนมคี ุณภาพและสว่ นรว่ มในกระบวนการพฒั นาท้องถ่นิ ท้ังในด้าน โครงสร้างพื้นฐาน และคุณภาพชวี ิต การวเิ คราะหป์ ัจจยั ภายนอก หรอื สภาพแวดล้อมภายนอก จะทาให้ตาบลทราบถงึ โอกาสและ อุปสรรคการทางานของตาบล (3) โอกาส (3.1) มีเสน้ ทางคมนาคมหลายสายเช่อื มไปส่ตู วั เมืองและจงั หวัดไดส้ ะดวกรวดเรว็ สามารถรองรับ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจ (3.๒) มเี ส้นทางคมนาคมทสี่ ญั จร ไปมาสะดวก (3.๓) มีที่ดินอดุ มสมบูรณ์ เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู (3.๔) มแี หล่งน้าท่อี ดุ มสมบูรณ์ (3.๕) มแี หลง่ เงินทุนในหมู่บ้าน เช่น กองทุนหมู่บา้ น โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (3.๖) ได้รบั การสนับสนนุ อุปกรณ์ทางการเกษตรจากหน่วยงานภาครัฐ (3.๗) นักเรยี นได้เรยี นการศึกษาภาคบงั คบั ฟรี (3.๘) มีศนู ยก์ ารเรียนรู้ในแขนงวชิ าการต่าง ๆ จากภาครัฐบรกิ ารประชาชนชมุ ชน (3.9) มีหนว่ ยงานภาครฐั ให้ความรแู้ ก่วยั รนุ่ ในชมุ ชน ด้านการประกอบอาชีพเสรมิ (3.10) ไดร้ บั งบประมาณสนับสนนุ กจิ กรรมในชมุ ชนจากหน่วยงานภาครฐั สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หน้า 42
(3.11) ไดร้ ับโอกาสจากพระบาทสมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชินนี าถ ในการจัดตง้ั ศนู ย์ศลิ ปาชพี (3.12) ภาครัฐและเอกชนใหก้ ารสนับสนนุ งบประมาณอย่างเตม็ ที่ (4) อุปสรรค (4.1) เยาวชน สตรี มปี ัญหาว่างงาน และขาดความร้คู วามสามารถในการประกอบอาชีพ (4.2) ขาดเงนิ ทนุ ในการประกอบอาชีพ ไปกยู้ ืมเงนิ นอกระบบ เพราะง่ายกวา่ กยู้ ืมในระบบท่ีมี ความยงุ่ ยาก (4.3) ประชาชนมรี ายไดน้ ้อย (4.4) คนชรา คนพกิ าร ผู้ด้อยโอกาส ไมไ่ ด้รับการดูแลอยา่ งท่วั ถึง (4.5) ปัญหายาเสพติดภายในพนื้ ที่ (4.6) สถานการณ์ความไมส่ งบในพ้ืนที่ 3 จังหวดั ชายแดนใต้ 2.4 การดาเนินงานโครงการเชงิ บรู ณาการและการแสวงหางบประมาณ มีคณะทางานขบั เคล่ือนการดาเนินงานโครงการเชงิ บรู ณาการจัดทาแผนบูรณาการ/โครงการ ระดบั ตาบลท่ีสอดคล้องกบั ปัญหาทีไ่ ด้จากการ วเิ คราะห์ มเี อกสารดงั น้ี แผนพฒั นาตาบล แผนพัฒนาหมู่บ้าน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 43
คณะทางานขับเคลื่อนฯ จัดทาแผนบูรณาการ /โครงการตามแผนบูรณาการที่ได้จัดทาข้ึนจากการ วิเคราะห์ข้อมูลชมุ ชน เพอ่ื ใหเ้ กิดการพัฒนาคุณภาพชีวติ ระดบั ตาบล ตามแผนพฒั นาหมูบ่ ้าน (One Plan) 1. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชน ร่วมกับผู้นาท้องท่ี ผู้นาท้องถ่ิน หน่วยงานภาคี ในการสนับสนุนสร้างความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนงบประมาณในการจดั กิจกรรมสาธติ อาชีพ 2. แกนนาหมู่บ้านสามารถเป็นผู้นาแห่งการเปลี่ยนแปลง รักการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง และชุมชนของ ตนเอง มีความเสียสละ ในการทางานเพ่ือส่วนรวม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทุ่มเท รักคนในชุมชน มีความ เอ้อื เฟ้อื เผ่ือแผแ่ กล่ ูกบา้ นแบบเสมอตน้ เสมอปลาย เป็นท่ยี อมรบั และยกย่องของคนในชมุ ชน 3. ผู้นาชุมชน แกนนาหมู่บ้านและครัวเรือนต้นแบบช่วยกันขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดผลเป็น รปู ธรรม 4. ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการจัดทาแผนชุมชน การทากิจกรรมต่างๆของคนใน ชุมชนและการดาเนนิ งานขับเคลอ่ื นปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือนาไปสคู่ วามเข้มแขง็ ของชมุ ชน 5. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนมกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผล กจิ กรรมอย่างตอ่ เนื่อง 6. ผู้บริหารหน่วยงาน นายอาเภอ มีความสาคัญและร่วมให้ข้อเสนอแนะในการดาเนินกิจกรรมอย่าง ตอ่ เน่อื ง สม่าเสมอ สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564 หนา้ 44
การจัดทาแผนงานบ ตามท่ีได้ดาเนนิ การวิเคราะห์ปญั หาและความต้องการของทกุ หมบู่ า้ นในตาบล แผนโดยคัดเลอื กโครงการท่เี หมาะสม แบ่งออกเปน็ 5 ด้าน คือ 1.การพัฒนาดา้ นอาชีพ ที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ เป้าหมาย 1. โครงการสง่ เสรมิ อาชีพการเลี้ยงโค 300,000 (ผลผลติ โครงการ) บา้ นกะด/ี บ้านตามุง 2. โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่ม 200,000 กลุม่ อาชีพในตาบลเชงิ อาชีพในเขตตาบลเชิงคีรี คีรี 3. โครงการฝึกอบรมอาชพี ให้แก่กลมุ่ 100,000 กลุม่ เยาวชนและ สตรตี าบลเชิงครี ี ประชาชนในพน้ื ท่ี ตาบลเชิงครี ี 4. เปดิ ตลาดรองรับผลผลิตของ 1,000,000 หมบู่ ้านในตาบลเชิงครี ี เกษตรกรภายในตาบล 5. จัดฝกึ อบรม ปลูกผักป่า ผักตัดยอด 3,000 เกษตรกรในหมบู่ ้าน ผักปลอดภัย เสริมรายไดต้ ามแนว เชิงคีรี เศรษฐกิจพอเพยี ง 6. อดุ หนนุ โครงการส่งเสริมการผลติ 18,000 หมู่บ้านในตาบลเชงิ ครี ี ปุ๋ยหมัก สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
บูรณาการ/โครงการ ลเชงิ คีรี อาเภอศรสี าคร จังหวัดนราธวิ าส ดว้ ยโปรแกรม CIA จึงได้วิเคราะห์การจัดทา วธิ กี ารดาเนนิ การ ผูร้ บั ผิดชอบ ประเภท ปกครอง จัดซื้อโคมาเพ่ือสง่ เสรมิ อาชีพเพ่อื ทาให้ เพ่มิ รายได้ ลดรายจ่าย สานักงานปลัด (ภาครฐั ) เพิ่มมูลค่าสนิ คา้ และผลติ ภัณฑ์ ทาให้ (ภาครัฐ) เพือ่ ส่งเสริมการประกอบอาชีพเสริม สานกั งานปลดั ทาให้ ให้แก่กลุ่มสตรี (ภาครฐั ) ต้องการแหล่งตลาดสาหรับชมุ ชน ปกครอง ทาร่วม เพื่อจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ของชุมชน (ภาครัฐ+ และสนิ คา้ การเกษตรให้แก่คนใน สนง.กษอ.ศรีสาคร ประชาชน) ชุมชนในราคาถกู กวา่ ท้องตลาดทัว่ ไป ศบกต.เชงิ ครี ี อบต.เชงิ ครี ี ทาให้ คัดเลอื กเกษตรกร 30 คน สานกั งานปลดั (ภาครัฐ) จัดฝึกอบรม จดั ทาแปลงตวั อยา่ ง ทาให้ ตดิ ตามผลตอ่ เน่ือง (ภาครัฐ) เพอ่ื สง่ เสริมใหเ้ กษตรกรลดการใช้ สารเคมี และสรา้ งรายไดใ้ ห้กับกลุ่ม หนา้ 45
ที่ ช่ือโครงการ งบประมาณ เปา้ หมาย 7. 1 อาเภอ 1 อาชพี 43,200 (ผลผลิตโครงการ) ประชาชนทั่วไป 48 คน 8. สมั มนาการเรยี นรู้วิถชี ีวติ เศรษฐกิจ 6,300 ชาวบ้านหมูบ่ ้านดาฮง พอเพียง 6,300 ชาวบ้านหมบู่ ้านตามุง 2,200,000 9. สัมมนาการเรียนรวู้ ิถชี ีวิตเศรษฐกจิ พน้ื ทตี่ าบลเชิงคีรี พอเพยี ง 10. โครงการพลิกนาร้าง สรา้ งรายได้ ด้วยกระจูด สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
วธิ กี ารดาเนินการ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ประเภท กศน. ทาให้ - เพือ่ ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมคี วามรู้ (ภาครัฐ) ทกั ษะ และประสบการณก์ าร พัฒนาชนุ ชน ประกอบอาชีพ พัฒนาชุนชน ทาให้ - เพอ่ื ส่งเสริมใหเ้ กิดกระบวนการ สานักงานปลดั (ภาครฐั ) เรยี นรูแ้ ละนาไปประยุกต์ใชใ้ นการ ทาให้ ประกอบอาชีพ (ภาครฐั ) - เพือ่ มุ่งเนน้ ให้กลุม่ เป้าหมาย มงี าน ทาให้ ทาในกลุ่มอาชพี เกษตรกรรม (ภาครฐั ) พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชพี เฉพาะทางหรือบรกิ าร ทสี่ อดคลอ้ ง กับศักยภาพความตอ้ งการตลอดจน สรา้ งความเข้มแขง็ ให้กับชมุ ชน ฝึกอบรมสมั มนาและสนบั สนุน อุปกรณ์ ฝกึ อบรมสมั มนาและสนับสนุน อุปกรณ์ เพอื่ เพมิ่ ทักษะอาชพี และเพิ่มรายได้ ใหป้ ระชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตที่ดี หนา้ 46
2.การพัฒนาด้านการจัดการทนุ ชมุ ชน ท่ี ช่อื โครงการ งบประมาณ เปา้ หมาย 1. โครงการขยายเขตไฟฟา้ ทงั้ ตาบล 500,000 (ผลผลติ โครงการ) หมูบ่ า้ นในตาบลเชิงคีรี 2. โครงการปรบั ปรุงสวนสาธารณะ 200,000 หมู่ 2 บ้านตามงุ รอบสระนา้ ม.2 บ้านตามุง 100,000 ประชาชนในพ้ืนที่ 3. โครงการบริหารจดั การขยะให้ถูก 5,000 ตาบลเชิงครี ี วิธี กลุม่ ผู้สงู อายแุ ละกลมุ่ ผู้ 4. โครงการพัฒนาประสิทธภิ าพการ พิการและผดู้ ูแลคน จ่ายเบ้ียยังชีพใหก้ บั ผู้สูงอายแุ ละผู้ พกิ าร พกิ าร 5. โครงการขดุ ลอกคลองไอรว์ ิ ม.1 3,404,500 ม.1 – ม.2 และ ม.2 ตาบลเชงิ คีรี 2,500,000 หมู่บ้านท่ี 1 6. โครงการปรบั ปรุงสนามกฬี า ม.1 บา้ นกะดี 60,000 ประชาชนในเขตพนื้ ท่ี ตาบลเชงิ คีรี 7. โครงการฝกึ อบรมการใช้พลงั งาน ทดแทน สารสนเทศตาบลตน้ แบบ ประจาปี 2564
Search