48 3. ยึดหลักการดารงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เป็นปราชญ์ชุมชนในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการทาปุ๋ยหมัก การปลูกกาแฟ การเลี้ยงผ้ึง ชันโรง สมาชิกในครัวเรือนมีความประพฤติดีมีศีลธรรม และจริยธรรม นาทางการดารงชีวิตมีความ ซือ่ สัตย์ ประกอบอาชพี ท่ีชอบด้วยกฎหมาย ยึดหลักการปฏบิ ัติตน เพ่ือความเจริญก้าวหนา้ ในอาชีพของตน และร่วมรับผดิ ชอบในสังคม ควรมี ดังนี้ 1. ความซ่ือสัตย์สจุ รติ และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม 2. สร้างความน่าเชือ่ ถอื และความปลอดภยั ในบรกิ าร 3. การมีจรรยาอาชีพและดาเนินกิจการอย่างมีคุณภาพ มีวินัยในการประกอบ อาชีพ 4. การสร้างสัมพันธภาพที่ดตี ่อประชาชน/ชุมชน 5. การเคารพสทิ ธแิ ละรกั ษาผลประโยชนข์ องผ้อู ื่น 6. การประกอบอาชีพด้วยความขยนั หมน่ั เพยี ร 4.3 ครวั เรอื นมกี ำรทำบัญชคี รัวเรอื น เคร่ืองมือหน่ึงที่จะช่วยให้มีวิถีชีวิตท่ีเป็นไปตามหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ การ จดั ทาบญั ชีครัวเรอื น ซึ่งจะชว่ ยจดั การทางการเงินของตนเองและครอบครัว ทาให้สามารถแก้ไขปัญหาการ ดาเนนิ ชวี ติ และสร้างความสขุ อย่างย่ังยนื ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
49 การทาบัญชีครัวเรือน เป็นการบันทึกรายรับรายจ่ายประจาวัน ประจาเดือน ว่าของตนเองและ ครอบครัว ว่ามีรายรับจากแหล่งใด รายจ่ายจาเป็นมาก รายจ่ายจาเป็นน้อยมีจานวนเท่าใด มีเงินคงเหลือ เท่าใด หรือเงินไม่พอใช้เท่าใด โดยนารายรับ รายจ่าย มาหักลบกันจะทราบว่าใช้จ่ายขาดดุลหรือเกินดุล สามารถใชว้ างแผนการรับการจา่ ยเงนิ ของตนเองและครอบครัวได้ ครัวเรือนมกี ารจดั ทาบัญชีครัวเรือนอยา่ งสม่าเสมอ มีการบนั ทกึ รายรับ – รายจา่ ยตอ่ วนั ลงในสมุด ทาให้รู้ว่าเราควรมีการจัดการกับการใช้จ่ายหรือการทารายรับรายจ่ายอย่างไร ควรที่จะใช้จ่าย อะไรไปบ้าง รู้จกั ตนเอง ฝึกความมีระเบียบในตนเอง ลดละสิ่งทฟ่ี ุ่มเฟือย ร้จู ักการอดออมและรูจ้ กั การ พึ่งพาตนเอง มีความระมัดระวังในเร่ืองการใช้จ่ายมากขึ้น รู้คุณค่าของเงินมีความรอบคอบ ฝึกจัด ระเบียบการจัดการเงินเพ่ือให้เป็นนิสัย ให้รู้จักการประหยัดและอดออม เพ่ืออนาคตของเราเองและ ครอบครัวของเราเอง 4.4 ครัวเรอื นไม่มหี นี้สนิ นอกระบบ สมาชกิ ในครวั เรอื นไม่มกี ารกูย้ ืมเงนิ นอกระบบ และไมม่ ีหนส้ี นิ ลน้ พ้นตวั - ไมม่ กี ารกยู้ ืมเงนิ นอกระบบกู้ เพราะดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผลจำกกำรทค่ี รวั เรือนไม่มีหนี้ ไม่สรำ้ งหนี้ - ไม่มหี นี้สนิ ไม่เดอื ดรอ้ นในการจ่ายหน้ีนอกระบบ - ทาให้ครอบครัวอบอุ่น มีครอบครัวท่ีอบอุ่นทาให้เราดาเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข คนที่มีครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทาหน้าท่ีได้เหมาะสม และทาให้สมาชิกใน ครอบครัวมสี ขุ ภาพจติ ดีไปดว้ ย ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
50 4.5 รำยไดข้ องครัวเรอื นสมั มำชีพชมุ ชน ครัวเรือนสัมมาชพี มีรายไดห้ ลกั จากการทาการเกษตร โดยแยกรายละเอยี ดไดด้ งั น้ี 1. ขายไมต้ ดั ดอก (ดาวเรือง) ตอ่ สปั ดาห์ 1,000 – 2,000 บาท รวมรายได้ตอ่ ปี 18,000 บาท 2. ขายพชื ผักสวนครวั รวมมากกว่า 10 ชนดิ ต่อสปั ดาห์ 500 บาท รวมรายได้ต่อปี 26,000บาท 3. ขายกาแฟคั่ว รายไดต้ อ่ ปี 40,000 – 50,000 บาท 4. ชาดอกกาแฟ รายได้ต่อปี 10,000 บาท 5. ทาสวนยาง / ขายน้ายางสด / น้ายางก้นถว้ ย รายไดต้ ่อปี 364,000 บาท 6. จาหนา่ ยทุเรยี น รายได้ต่อปี 360,000 บาท 7. รายไดอ้ นื่ ๆ(น้าผง้ึ ชนั โรง, ชาดอกเกก๊ ฮวย, ชาดอกมะลิ, หญา้ หวาน, ตน้ กลา้ กาแฟ ฯลฯ) รวมรายได้ตอ่ ปี 10,000 บาท รวมรายไดต้ ่อปีของครวั เรือนสัมมาชพี 838,000 บาท ครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
51 แผนในกำรพัฒนำครัวเรอื นสัมมำชพี ชุมชนในระยะตอ่ ไป 1. ปลูกพืชผักสวนครัวเพิ่มมากกว่า 20 ชนิด โดยศึกษาในส่ือออนไลน์ เพ่ือหาพืชท่ีเหมาะสมกับ สภาพแวดลอ้ มในหมู่บา้ น 2. ปลกู พชื เศรษฐกจิ อน่ื ๆเชน่ มะมว่ งเบา, สะตอ, มะมว่ งนา้ ดอกไม้ 3. ปลูกพืชผักพ้ืนบ้านท่ีเหมาะสม เช่น ผักเหลียง ผักหวานป่า, พริกกะเหรี่ยง, ผักเสม, มะระขี้นก มะรม , และกระชาย เป็นต้น 4. ปลกู พชื 3 ระยะ - พืชระยะส้ัน ได้แก่ ผักกินใบ คะน้า ผักบุ้งอ่อน ต้นอ่อนทานตะวัน พืชไร่ เช่น ข้าวโพด ขา้ วฟา่ ง และขา้ วไร่ - ปลูกพืชระยะกลำง ได้แก่ ไม้ผลอ่ืน ๆ มะนาว, มะม่วงเบา, กล้วย, ขนุน และมะพร้าว ปลกู จาหนา่ ยเพื่อเกบ็ เอาไว้เปน็ เงินออม - ปลูกพืชระยะยำว ได้แก่ ไม้เศรษฐกิจ ไมย้ ืนต้น ไม้สัก ยางนา ต้นยาง ทเุ รียน เป็นต้น ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
52 แบบบันทึกข้อมูลและองค์ความรู้ ครวั เรอื นสัมมาชีพชุมชนตวั อย่างระดบั ภาค ประจาปี 2564 ********************* 1.ชอื่ – สกลุ นางจฑุ ามาศ คงขวญั บำ้ นเลขท่ี 28/32 หมทู่ ่ี 4 ตำบลกาหลง อำเภอศรสี าคร จังหวัดนราธวิ าส รหสั ไปรษณีย์ 96210 หมำยเลขโทรศัพท์ 061 - 2023099 2.อำชพี 2.1 อำชีพหลกั การทาการเกษตร 2.2 อำชีพเสรมิ แปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร 3.ปีงบประมำณที่เข้ำรว่ มโครงกำรสรำ้ งและพัฒนำผู้นำสมั มำชีพชมุ ชน ปีงบประมำณ พ.ศ.2562 4.ภมู ปิ ญั ญำทม่ี แี ละใชถ้ ำ่ ยทอดสคู่ รัวเรือนสมั มำชพี ชุมชน ได้แก่ 4.1 การแปรรูปไข่เคม็ 4.2 การปลกู กาแฟอาราบกี ้า 4.3 การทาสะตอดอง 4.4 การทาชาดอกกาแฟ 4.5 การทาทุเรียนทอด 5.วธิ ีกำร / ขนั้ ตอน / กระบวนกำรในกำรประกอบสัมมำชีพชุมชนจนประสบควำมสำเร็จ (เลำ่ จำก จดุ เร่ิมตน้ จนประสบผลสำเรจ็ ทำอย่ำงไร) การประกอบสัมมาชพี ชุมชนเริ่มต้นด้วยการสร้างพ้นื ฐานการ ดารงชีวติ ดว้ ยความ พออยู่ พอกนิ พอใช้ พออยู่ คือ การที่เราปลูกป่าที่ใหไ้ ม้ พชื ท่จี าเปน็ ตอ่ การนามาใชท้ า ท่ีอย่อู าศัยต่างๆ เช่น ไม้ทาเสา ไม้ทาพ้ืน ไมท้ าฝา ไม้ทาโครงสร้างบา้ นต่างๆ เป็นตน้ ครนั้ เมอ่ื เหลอื ใช้ เรากแ็ บ่งจา่ ยแจก ขาย เปน็ รายได้ เสรมิ ให้ครอบครวั ได้ พอกิน คอื การทีเ่ ราปลูกพืช ปลูกผกั เพ่ือจะนามาใช้กินไดอ้ ย่างพอเพยี ง เชน่ ข้าว ผัก ปลูก กาแฟ ฯลฯ เมอื่ เหลือกนิ แลว้ เรากแ็ บง่ ออกขายหารายไดเ้ สรมิ ได้ พอใช้ คอื การปลกู พืช ปลูกผกั เพ่ือทเี่ ราจะตอ้ งใช้ในชีวติ ประจาวนั เช่น ยา ขนม ผลไม้ เครอื่ งปรงุ เปน็ ตน้ ครน้ั เม่ือเราใชไ้ ด้อย่างพอเพยี งแลว้ เรากแ็ บง่ ออกขายหารายได้แก่ครอบครัวได้ ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
53 ครัวเรือนประสบควำมสำเร็จในกำรประกอบสมั มำชีพสำมำรถเป็นแบบอย่ำงได้ เป็นที่รจู้ กั และยอมรบั ของคนในชุมชน ทั้งหม่บู ้านหรือตาบล วา่ เป็นครอบครวั ที่มคี ณุ งามความดี มี ความโอบอ้อมอารแี กค่ นท่ัวไป และเปน็ ผู้นาครอบครวั ตน้ แบบท่ดี ีในชุมชน ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดกิจกรรมในชุมชน โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคน ทุกช่วง วัยของครอบครวั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม เพ่อื สานสมั พันธร์ ะหว่างคนในครอบครวั กับชมุ ชน และตาบล ได้แก่ 1. กจิ กรรมกองทุนแม่ของแผ่นดิน 2. กิจกรรมสง่ เสริมสนบั สนุนการจดั ตัง้ กลมุ่ อาชีพ 3. ดาเนินโครงการพัฒนาและเสริมสร้างผู้นาการเปลี่ยนแปลงบ้านประชานิมิตร สร้าง ความมั่นคงทางอาหาร 4. การดาเนนิ งานหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. การประยกุ ตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาดาเนินจนเป็นวถิ ีชีวิต 6. การดาเนนิ ศนู ย์เรยี นร้ชู ุมชนทองผาภูมิ 7. การปลูกพืชผักสวนครัว ถนนกนิ ได้ เปน็ ครอบครวั ท่ยี ดึ ถือและปฏิบตั ิตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียงจนเป็นท่ีประจักษ์และเปน็ แบบอยา่ งที่ ดขี องคนในชมุ ชนทง้ั หมู่บา้ น ตาบล อาเภอ หรือจังหวดั เป็นแบบอย่างที่ดีในการดารงชีวิตครอบครัว และในอาชีพการงาน โดยเห็นได้จากครอบครัวที่ มคี วามสขุ และมีงานท่ีคนนับหน้าถือตา จนสามารถเป็นแบบอย่างใหค้ นในครอบครัวและชุมชนได้ ได้แก่ 1. การปฏิบัติหนา้ ทด่ี ว้ ยความสจุ ริต 2. มีความรบั ผดิ ชอบ ยึดมน่ั ในคณุ ธรรม 3. ยึดหลักการดารงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เป็นปราชญ์ชุมชนในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการทาปุ๋ยหมัก การปลูกกาแฟ การ เลยี้ งผ้งึ ชันโรง สมาชิกในครัวเรือนมีความประพฤติดีมีศีลธรรม และจริยธรรม นาทางการดารงชีวิตมีความ ซอ่ื สตั ย์ ประกอบอาชีพทีช่ อบด้วยกฎหมาย ส่งเสริมการสรา้ งความเขม้ แขง็ ของครวั เรือนตามแนวทางสัมมาชีพดงั นี้ ครัวเรือนสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
54 1. สรำ้ งควำมมนั่ คงทำงอำหำร 1.1 มีการปลูกพืชผักสวนครัวบริเวณบ้านพัก/พน้ื ท่อี ื่น ๆ อย่างน้อย 10 ชนดิ ไดแ้ ก่ ผกั เหลียง , มัลเบอรร์ ี่ , กะเพรา, ตะไคร้, พริก , มะเขือ, มะเขอื เทศ, มะละกอ, มะนาว, ผักหวาน, เปน็ ต้น 1.2 การเก็บเมลด็ พันธุ์เพื่อขยายผลและแบง่ ปันเพ่อื นบา้ น ไดแ้ ก่ ต้นกลา้ กาแฟสายพันธ์อุ า ราบีกา้ , ตน้ กลา้ ผักเหลียง, ต้นกลา้ มะละกอ เป็นต้น 1.3 มกี ารแปรรปู อาหารไดแ้ ก่ สะตอดอง , ไข่เค็ม, ทเุ รยี นกวน, ทเุ รยี นทอด , ส้มแขก, ชาดอกกาแฟ, หนอ่ ไมด้ อง , กลว้ ยฉาบ, กล้วยกวน เป็นตน้ 2. สร้ำงสิ่งแวดล้อมให้ยัง่ ยืน 2.1 มกี ารคัดแยกขยะ โดยคดั แยกขยะเปยี กและขยะแหง้ ขยะเปียก ได้แก่ เศษอาหาร นาไปทาปยุ๋ หมัก ขยะแห้ง ไดแ้ ก่ กลอ่ งกระดาษ , ขวดพลาสติก นาไปขายใหก้ ลุม่ เยาวชนที่ รบั ซ้อื ในหม่บู า้ น 2.2 ทาปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยหมกั ปุ๋ยนา้ ฯลฯ ๒.๓ มีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบ สะอาด ถูกสุขลักษณะ กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย หรอื สัตวม์ พี ิษ เช่นแมลงปอ่ ง ตะขาบ 2.4 มีส่วนร่วมในกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรือสาธารณะ ประโยชน์ โดยร่วมกับ ชรบ. ทาความสะอาดเส้นทางหลักในหมู่บ้าน ตัดหญ้า ปรับภูมิทศั น์บริเวณสองข้าง ทาง และร่วมกันปลกู พืชผกั สวนครัวรมิ ข้างทาง “กจิ กรรมถนนกินได้” 2.5 มีการปลูกป่าร่วมกับหน่วยงานพัฒนาชุมชนอาเภอศรีสาครปลูกป่า3อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง 2.6 ร่วมกิจกรรมป้องกันการเกดิ ภยั พิบัตกิ ับหน่วยงานในพน้ื ทท่ี าแนวกันไฟป่าเพ่ือปอ้ งการ ไฟป่า 3. สรำ้ งภมู ิคมุ้ กันทำงสังคม 3.1 ร่วมกจิ กรรมจติ อาสา 3.2 สมาชิกในครัวเรือนไม่ยุ่งเก่ียวกับสิ่งเสพติดและอบายมุขต่างๆ ให้ความรู้กับลูกๆใน เรื่องพษิ ภัยของยาเสพติด 3.3 สมาชกิ ในครัวเรอื นเปน็ สมาชิกกลุ ่มองคก์ รในชมุ ชน ได้แก่ 1. จิตอาสาพระราชทาน 2. กรรมการกล่มุ กาแฟอาราบกี ้า ครัวเรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
55 3. กรรมการศูนยเ์ รยี นรู้ไรท่ องผาภูมิ 4. กรรมการกลุ่มไม้ตดั ดอก (ดาวเรอื ง,มะล)ิ 5. สมาชิกครวั เรอื นสัมมาชีพชุมชน 6. สมาชิกกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี 7. สมาชิกกล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตบ้านประชานิมิตร 8. สมาชิกกล่มุ เครอ่ื งแกง หมูบ่ า้ นประชานมิ ติ ร 9. สมาชิกศนู ยจ์ ัดการกองทุนชมุ ชนบา้ นประชานมิ ิตร 3.4 สมาชิกในครัวเรือนมีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ทากิจกรรมร่วมกันอย่างสม่าเสมอ รบั ประทานอาหารร่วมกนั ทุกมื้อ มีการแลกเปลีย่ น พูดคุย แสดงความคดิ เห็น ในครอบครวั 3.5 สมาชิกในครัวเรือนไม่มีการใช้ความรุนแรง มีการพูดคุยโดยใช้เหตุผลกับสมาชิกใน ครวั เรือน 4. สร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำชีพ/รำยได้ 4.1 ครัวเรือนมีการออม เป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต โดยฝากเงินเดือนละ 1,500 บาทและสง่ เสริมใหล้ กู ๆทุกคน หยอดกระปกุ ทกุ วัน 4.2 ครวั เรอื นประสบความสาเรจ็ ในการประกอบสัมมาชีพสามารถเปน็ แบบอย่างได้ 4.3 ครวั เรอื นมกี ารทาบัญชีครวั เรอื น 4.4 ครัวเรอื นไมม่ ีหนสี้ นิ นอกระบบ 6.ปัจจยั ทท่ี ำใหก้ ำรประกอบสมั มำชพี ประสบผลสำเรจ็ ไดแ้ ก่ 6.1 ความซ่ือสัตย์สุจริต และมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยยึดหลักธรรมคาสอน อิทธิ บาท 4 และถอื ศีลห้า 6.2 สร้างความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยในบริการ อาชีพ มีน้าใจต่อเพื่อนบ้าน แบ่งปนั พันธพุ์ ชื พันธ์ุผกั ใหก้ ับคนในชมุ ชน 6.3 การมีจรรยาอาชพี และดาเนินกิจการอย่างมคี ณุ ภาพมีวนิ ยั ในการประกอบ 6.4 การสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อประชาชน/ชุมชน มีกิจกรรมกับชาวบ้าน เช่น การออก กาลงั กาย , ทาบุญ กจิ กรรมจิตอาสาตา่ งๆ 6.5 การเคารพสิทธิและรักษาผลประโยชน์ของผู้อื่น ช่วยเป็นธุระให้กับผู้สูงอายุเมื่อขอ ความชว่ ยเหลอื , มอบถงุ ยงั ชีพชว่ ยผูป้ ่วยตดิ เตียง คนพิการ และเดก็ ด้อยโอกาส 6.6 การประกอบอาชีพดว้ ยความขยนั หม่นั เพยี ร ตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทาการเกษตรปลอดภัยและพฒั นาทักษะตนเองอยู่เสมอ ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
56 7.ขอ้ เสนอแนะสำหรับผ้ทู ส่ี นใจประกอบสมั มำชีพชมุ ชน (ตอ้ งปฏบิ ตั ติ นอยำ่ งไร) 1.ทำในส่งิ ท่รี ักและจงรกั ในส่งิ ทที่ ำ มุมมองท่ีจะชว่ ยให้แต่ละวนั ของเรามคี วามสขุ ไปกบั การทางานไดม้ ากขึน้ เปน็ เรือ่ งที่ไม่ยาก เลิกสรา้ งความรู้สึกในแงล่ บตอ่ งานหรืออาชพี ท่ีเลอื กทา คดิ เสียว่า วนั นีไ้ ด้มีอาชีพสรา้ งรายได้ให้กบั ครอบครวั คือ ความโชคดี 2.เลอื กอำชพี ทเี่ หมำะสม ตอ้ งเลือกอาชีพทคี่ รวั เรอื นสามารถนาไปประกอบอาชพี ได้ และ สามารถต่อยอดได้ในอนาคต 3.ถำ่ ยทอดประสบกำรณ์ และถ่ำยทอดอำชีพด้วยควำมสมคั รใจ เพ่ือใหค้ รวั เรอื นที่สนใจ ไดม้ ีอาชพี สรา้ งรายได้ และสรา้ งเครอื ขา่ ยอาชพี มีการแบ่งปัน เกิดเปน็ เครือข่ายสมั มาชพี แห่งการเกือ้ กูล 4.ไม่หยดุ นิง่ ในกำรพัฒนำตนเอง แสวงหาความรใู้ หมๆ่ พัฒนาความรู้ ความสามารถของ ตนเอง อย่างสมา่ เสมอ รเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยี ทนั ยคุ สมยั ทันเหตกุ ารณ์ 8.กำรลงทะเบยี นกลุ่มอำชีพ ลงทะเบียน ปี พ.ศ.2563 กลุ่มกาแฟอาราบกี ้า ยงั ไม่ไดล้ งทะเบยี น เน่ืองจำก........................ 9.รำงวัลที่เคยได้รับ ไดแ้ ก่ ปีที่ได้รับ พ.ศ.2563 รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 การแข่งขันกรีดยาง หลักสูตร การกรีดยาง อยา่ งถกู วิธี ประจาปี 2563 กิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลติ ยาง ประจาปี 2563 ยงั ไมเ่ คยได้รบั รำงวัล ครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
57 ภาคผนวก ครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
58 1.ใบสมคั ร ครวั เรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
59 ๒. เอกสำรประกอบกำรรับสมคั ร ประเภทครัวเรอื นสมั มำชพี ชมุ ชน ได้แก่ - สาเนาบัตรประชาชน ๑ ฉบบั - สาเนาทะเบียนบา้ น ๑ ฉบับ - สาเนาการศกึ ษา ๑ ฉบบั - สาเนาประกาศนยี บัตร ๑ ฉบบั ครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
60 สาเนาบตั รประชาชน ๑ ฉบบั ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
61 - สาเนาทะเบยี นบา้ น ๑ ฉบบั ครวั เรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
สาเนาการศกึ ษา 62 ๑ ฉบบั ครวั เรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
63 - สาเนาประกาศนยี บัตร ๑ ฉบับ ครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
64 ครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
คณะผจู้ ดั ทำ ท่ีปรึกษำ นายกรชิ นอ้ ยผา นายอาเภอศรีสาคร นายกิตติพงษ์ อาพนั ธ์ ปลดั อาเภอ (เจ้าพนักงานปกครองชานาญการพเิ ศษ) นางสาวนาฏยา ศรีสายันต์ พัฒนาการอาเภอศรสี าคร คณะทำงำน นางซากีย๊ะ เหงบารู นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ นางปารวี แซเ่ ง้า นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ นางสาวนซั รี ปะเต๊ะ นักวชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ นางสาวปลื้มจติ เหมอื นใจ เจ้าพนกั งานพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ตั ิงาน นางสาวรอหานา เย็นนยิ ม เจ้าพนกั งานพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ตั งิ าน นางสาวคอลีเย๊าะ แวโดยี อาสาพฒั นา (อสพ.) ผใู้ ห้ขอ้ มลู ครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน นางจฑุ ามาศ คงขวญั ผรู้ วบรวมขอ้ มลู และจดั ทำรูปเล่ม นางสาวปลื้มจิต เหมอื นใจ เจา้ พนกั งานพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ัติงาน พิสูจน์อักษร นกั พัฒนารฐั บาลดิจทิ ลั นายอีลาฮมั มะแซ นกั พฒั นารัฐบาลดจิ ทิ ัล นางสาวสุฮัยลา มาเระ นักพัฒนารฐั บาลดิจทิ ลั นางสาวสฮุ ัยณี มาเระ
สำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอศรีสำคร ถนน กรป.รงั สรรค์ หม่ทู ่ี ๑ ตำบลซำกอ อำเภอศรสี ำคร จังหวัดนรำธิวำส ๙๖๒๑๐ โทร. ๐๘๑-๘๒๑-๑๓๗๖
Search