48 กลุ่มไม้ตดั ดอก ครัวเรือนได้เป็นกรรมการของกลุ่มไม้ตัดดอก หมู่ท่ี 4 บ้านประชานิมิตร ตาบลกาหลง อันได้แก่ “ดาวเรือง” ซึ่งดอกไม้เป็นดอกไม้มงคลที่ชาวไทยนิยมนามาใช้ ในกิจกรรมในเกือบทุกเทศกาล ประกอบมี ความต้องการของตลาดตลอดทังปี ทาให้ขณะนีเริ่มมีกลุ่มเกษตรกรในหมู่บ้าน หันมาปลูกดาวเรือง ออก ดอกเหลืองบานสะพร่ัง ยิ่งใกล้วันพระ วันอาสาฬหบูชา และ วันเข้าพรรษา เท่าไร ก็ยิ่งทาให้เกษตรใน พืนที่ ต่างเรง่ ตัดดอกดาวเรืองนับพันดอก ส่งให้กับรา้ นค้าในอาเภอ ส่งให้หน่วยราชการต่าง ๆท่ีผูกขาดกับ กลุม่ และยงั มลี กู คา้ ทเี่ ดนิ ทางมารบั ซือถึงพนื ท่ี สร้างรายไดเ้ สริมให้กบั กลุ่มได้ตลอดทงั ปี ครัวเรอื นสมั มาชพี ชุมชน ประจาปี 2564
49 กลุม่ เคร่อื งแกงบ้ำนประชำนิมติ ร ภายใต้โครงการตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพ่ือการพัฒนาการเกษตรอยา่ งย่งั ยืน ก่อเกิด กลมุ่ การผลิตเครอื่ งแกงขนึ มาในหมู่บ้านประชานิมติ ร หมูท่ ่ี 4 ตาบลกาหลง จากการรวมตัวกันของแมบ่ ้าน เกษตรบ้านประชานิมิตร ใชห้ ลักการง่าย ๆ ด้วยการมีวัตถุดิบในชุมชน ข่า ขมนิ ตะไคร้ พริกชีฟ้า กอ่ เกิด ไอเดยี การผลิตเคร่ืองแกงเผด็ แกงส้ม แกงกะทิ เน้นการสร้างงาน สร้างรายได้ให้คนในชุมชน ขายได้ กินได้ คนในชุมชนมีงานทา เครื่องแกงมีคุณภาพ รสชาติอร่อย ถุงละ 10 บาท ราคาย่อมเยา แวะซือเป็นของ ฝากได้ ครวั เรอื นสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
50 กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือกำรผลติ บ้ำนประชำนิมติ ร กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต บ้านประชานิมิตร หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาครเป็นการ รวมตัวกันของชาวบ้าน เพื่อช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซ่ึงกันและกันโดยการประหยัดทรัพย์ ให้รู้จัก การออม แล้วนามาสะสมรวมกันทีละเล็กละน้อยเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ เพื่อใช้เป็นทุนให้สมาชิกที่มี ความจาเป็นเดอื ดรอ้ นกู้ยืมไปใช้ในการลงทุนประกอบอาชีพ หรือเพ่ือสวัสดิการของตนเองและครอบครวั หลักการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตจะดาเนินงานให้ ประสบผลสาเร็จ และมปี ระสทิ ธภิ าพจะตอ้ งบริหารจดั การอยู่ภายใต้คุณธรรม 5 ประการ ดงั นี 1.ความซอ่ื สัตย์ 2.ความเสยี สละ 3.ความรับผิดชอบ 4.ความเหน็ อกเห็นใจกนั 5.ความไวว้ างใจกัน ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
51 ผลที่ไดจ้ ำกกำรทำงำนของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อกำรผลติ 1. ช่วยให้การทางานเป็นระบบท่ีดี มีการแบ่งงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบทาให้ งานบรรลเุ ป้าหมายตามที่กลมุ่ และทีมงานรบั ผดิ ชอบ 2. ช่วยให้มีการนาหลักมนุษย์สัมพันธ์มาใช้ในกลุ่มและทีมงาน เช่น การรู้เรา รู้เขา เอา ใจเขามาใส่ใจเรา งานของกลมุ่ และทีมงานจะดาเนินไปด้วยดี 3. ช่วยให้เกิดรู้รักสามัคคีระหว่างสมาชิกของกลุ่มและทีมงาน ในการทางานให้ประสาน สมั พันธ์ท่ดี ีต่อกัน 4. ช่วยสรา้ งขวัญและกาลงั ใจในการทางานกล่มุ และทีมงาน 5. ช่วยให้เกิดความมั่นคงในอาชีพเน่ืองจากการทางานเป็นกลุ่มหรือทีมงาน จะก่อให้เกิด ความเป็นปึกแผ่นของมวลสมาชิกในกลุ่มหรือทีมงาน อันจะก่อให้เกิดความเกรงใจของคณะผู้บริหารท่ีมี ต่อกลมุ่ หรอื ทีมงาน 6. ช่วยให้เกิดความรู้สึกการยอมรับนับถือของสมาชิกในทีมงานที่เรียกว่า คารวธรรม มี การเคารพนับถอื เป็นพเี่ ปน็ น้อง กอ่ ใหเ้ กิดการถ้อยทีถ้อยอาศยั 3.4 สมำชกิ ในครวั เรอื นมีวิถีชวี ิตประชำธิปไตย ทำกจิ กรรมรว่ มกนั อย่ำงสมำ่ เสมอ สังคมไทยมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงซึ่งมีผลทาให้ วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยต่าง ๆ มีความ แตกต่างต่างกัน ค่านิยมท่ีส่งผลกระทบถึงความเจริญ ความเส่ือมของสังคม อุดมการณ์ที่ตังจุดหมายไว้ ความเคล่อื นไหวทางการเมือง เปา้ หมายที่สาคญั คอื ทาใหส้ มาชิกในสังคมไทยอยูร่ ่วมกนั อย่างสนั ตสิ ุข และ มคี วามสุข ซ่ึงการท่ีจะทาให้สงั คมเกิดสันติสุข สมาชิกมีความสุขได้นัน การดาเนินชีวิตของสมาชิกในสังคม จาเป็นจะต้องใช้หลักประชาธิปไตย บนแนวทางประชาธิปไตยแบบพอเพียง ซ่ึงก็จะเป็นวิถีชีวิตของ สังคมไทยที่ผสานกันอย่างเหมาะสมท่ีสุดในขณะนี โดยมีค่านิยมที่ยึดถือเป็นตัวกาหนดการปฏิบัติตน ถึงแม้ว่าบางครัง ค่านิยมจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมก็ตาม แต่หากสมาชิกในสังคมเข้าใจหลัก ประชาธิปไตยที่ถูกต้องแล้ว และช่วยกันปลูกฝังค่านิยมที่ดีงามให้เกิดขึน ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของ สมาชกิ ในสงั คมไทยดีขนึ ด้วยเชน่ กนั ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
52 สมาชกิ ในครอบครัวมีความประพฤติดีมีศีลธรรม มีคุณธรรม และจริยธรรมนาทางในการดารงชีวิต มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และเลื่อมใสการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทุกคนในครอบครัวร่วมกันปฏิบัติความดี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในวิถีชีวิต ร่วม กจิ กรรมเกี่ยวกบั ประเพณีและวันสาคญั ของไทย ได้แก่ มีความพอเพยี ง ปลูกผักสวนครวั ในหมู่บา้ น ควำมสำคัญของกำรปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดีตำมวถี ีประชำธิปไตย 1. ทาให้สังคมและประเทศชาตมิ ีการพฒั นาไปอย่างม่ันคง 2. เกิดความรักและความสามัคคใี นหม่คู ณะ 3. สงั คมมคี วามเปน็ ระเบยี บ สงบเรยี บรอ้ ย 4. สมาชกิ ทุกคนได้รับสิทธิ หน้าท่ี เสรภี าพ จากกฏหมายความเท่าเทียมกัน เกิดความเปน็ ธรรม ในสังคม 5. สมาชกิ ในสงั คมมคี วามเอือเฟอ้ื เผ่อื แผแ่ ละมนี าใจต่อกัน กำรยึดม่ันในหลักธรรมของศำสนำท่ีตนเองนับถือ ทุกศาสนามีหลักศีลธรรมท่ีช่วยสร้างจิตใจของคน ให้กระทาดี ไม่เบียดเบียนกัน มีใจเอือเฟื้อเผ่ือแผ่แก่กัน สมาชิกในสังคมสมควรศรัทธาในศาสนาท่ีตน นับถือ แลว้ ปฏบิ ตั ติ ามหลักศีลธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถืออยา่ งสม่าเสมอ ควำมซื่อสัตย์ หมายถึง การกระทาที่ถูกตอ้ ง ตรงไปตรงมา ไม่ยึดเอาสิ่งของผ้อู ่ืนมาเปน็ ของตน บุคคล ควรซอื่ สตั ย์ต่อตนเอง คือ กระทาตนใหเ้ ป็นคนดี และบุคคลควรซื่อสัตย์ต่อบคุ คลอ่นื ๆ หมายถงึ กระทา ดีและถูกต้องตามหน้าท่ีต่อผูอ้ ่ืน ควำมเสียสละ หมายถงึ การคานึงถึงประโยชน์ของสังคมส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และยอม เสยี สละประโยชนส์ ่วนตนเพอ่ื ประโยชนแ์ กผ่ ูอ้ นื่ และส่วนรวม ควำมรับผิดชอบ หมายถึง การยอมรับการกระทาของตนเองหรือการทางานตามหน้าท่ีท่ีได้รับ มอบหมายให้สาเรจ็ ลลุ ่วง กำรมรี ะเบียบวนิ ัย หมายถึง การกระทาทีถ่ ูกตอ้ งตามกฏเกณฑ์ที่สงั คมกาหนดไว้ ครัวเรอื นสัมมาชพี ชมุ ชน ประจาปี 2564
53 กำรตรงต่อเวลำ หมายถงึ การทางานหรือทาหน้าท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมายให้สาเร็จลุลว่ งทันตรงตามเวลาท่ี กาหนดโดยใช้เวลาอยา่ งคุ้มคา่ ควำมกล้ำหำญทำงจริยธรรม หมายถึง การกระทาท่ีแสดงออกในทางที่ถูกท่ีควรโดยไม่เกรงกลัว อิทธิพลใดๆ ความกลา้ นไี ม่ใชก่ ารอวดดี แตเ่ ปน็ การแสดงออกอยา่ งมเี หตุผล เพื่อความถกู ตอ้ ง 3.5 สมำชิกในครวั เรอื นไมม่ ีกำรใช้ควำมรุนแรง การเกิดวิกฤตโิ รคระบาด ‘โควิด-19’ ส่งผลใหเ้ กดิ มาตรการการกักตัวอยู่ท่ีบ้านเพ่อื ลดและป้องกัน การติดเชือไวรสั นัน แต่อกี ด้านหน่ึงคอื การเพิม่ ความรนุ แรงทีเ่ กดิ ขึนภายในครอบครัวอยา่ งน่ากังวล นยิ ามของ ควำมรุนแรงในครอบครัว คือการทาร้ายรา่ งกายหรือสุขภาพของคนในครอบครัว หรือ บังคับ ข่มเหงให้กระทาความผิด ส่งผลให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น สภาพแวดล้อมไม่ดี ติดการ พนัน ทะเลาะวิวาท ติดสุรา ยาเสพติด และมีความเครียดทางเศรษฐกิจ บุคคลท่ีพบเจอกับความรุนแรงใน ครอบครัว ได้แก่ คู่สมรส พ่อแม่ พี่น้อง ลูกหรือบุตรบุญธรรม ปู่ย่า ตายาย ญาติ และคนในครอบครัว เชน่ หลาน ลกู สะใภ้ ลูกเขย กำรแก้ไขปัญหำครอบครัว - เปิดใจและรับฟัง คอยหม่ันสังเกตว่าสมาชิกในครัวเรือนมีท่าทีท่ีแปลกไป มีการสอบถามถึงความ ผิดปกติและพูดคุยกันถึงปัญหาที่เกิดขึน ซึ่งการเปิดใจคุยกันกับสมาชิกในครอบครัวจะช่วยให้เข้าใจ ความรู้สึกของกันและกันได้ดียิ่งขึน ร่วมถึงการเป็นผู้รับฟังที่ดี การใช้วาจาสุภาพ นุ่มนวล ปฏิกิริยาที่ไม่ ก้าวร้าว และรวมถึงการไมว่ า่ กล่าวสและไม่ใช่วาจาตาหนอิ ีกฝา่ ยหนึง่ อย่างรนุ แรง - การรู้จักประนีประนอม เพราะการดารงชีวิตแต่ต้องอาศัยเข้ามาอยู่ร่วมกัน ทาให้เกิดความคิด และปฏิบัติท่ีแตกต่าง ดังนันบุคลภายในครอบครัวควรต้องหาจุดกึ่งกลางในการปฏิบัติ เพื่อการอยู่ร่วมกัน อย่างมคี วามสุข - การให้ความรักต่อกัน ปัญหาครอบครัวมักเกิดความไม่เข้าใจกันทังด้านความคิดและการปฏิบัติ ส่งิ เหล่านจี ะสรา้ งความแตกแยกให้กับครอบครวั ดังนันหากบุคลใชค้ วามรักท่ีตอ่ กนั กจ็ ะสามารถยุติปญั หา ต่างได้ - การทาหน้าท่ีของตนเองให้สมบูรณ์ การทาหน้าท่ีที่ได้รับหมอบหมาย หรือการทาหน้าท่ีตาม บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในรอบครัวได้ดี มีการแบ่งงานบ้านต่างๆ เช่นการกวาดบ้าน การถูบ้าน การเก็บ ขยะ การทิงขยะ ฯลฯ จะทาให้สมาชิกทุกคนในครอบครัวสามารถช่วยเหลือตนได้เมื่อเติบโตขึน และ สามารถสร้างความสขุ ใหก้ บั ตนเองและครอบครัวได้อย่างสมบรู ณ์ - การทากิจกรรมร่วมกัน การใช้เวลาร่วมกันแม้เพียงเล็กน้อยก็ช่วยสร้างความสัมพันธ์ท่ีดี ซึ่งเป็น พืนฐานสาคัญของการพัฒนาครอบครัวที่มีคุณภาพ โดยอาจทากิจกรรมออกกาลังกายด้วยกัน การไปจ่าย ตลาดดว้ ยกนั หรือการท่องเทยี่ วร่วมกนั ในวันหยุดสดุ สปั ดาห์ ครัวเรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
54 สมาชิกในครอบครวั มีความรักสามคั คีกลมเกลียวกนั เอืออาทรช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และกันในครอบครัว ไม่เคยมีข้อพิพาทหรือฟ้องคดีกันในระหว่างสมาชิกในครอบครัว และไม่เคยถูกศากพิพากษาว่ามีความผิด ทงั ทางแพง่ หรอื ทางอาญา สง่ เสริมใหล้ ูกๆ รู้จกั การออม - ไม่เคยมีขอ้ พิพาทหรือฟ้องร้องคดี และไม่เคยถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดทางแพ่งและ อาญาในคดที เี่ กี่ยวข้องกบั สมาชิกในครอบครัว ไม่มีพฤติกรรมในการใช้ความรุนแรงในครอบครัว และไม่เคยถูกดาเนินการอื่นใดอันเน่ืองมาจาก การกระทาความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี หรือบคุ คลในครอบครัว - ไม่เคยมีพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว และไม่เคย ได้รับโทษทางคดี และทางสังคมเกี่ยวกับความรุนแรง เพราะส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวมีการทากิจกรรมร่วมกัน เช่น ครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
55 1. การปลกู ผกั สวนครัว 2. การรดนาพชื ผกั ตน้ ไม้ 3. การร่วมกนั รับประทานอาหาร 4. การไปเที่ยวด้วยกนั ทังครอบครัว 5. การสอนการบ้านลกู ๆ 6. การสอนแนะฝึกให้ลูกๆ รว่ มกันเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร เช่น ไม้ตัดดอก (ดาวเรือง) ดอกกาแฟสาหรบั ทาชาดอกกาแฟ เมลด็ กาแฟ เปน็ ตน้ กจิ กรรมทีท่ าร่วมกันของคนในครอบครวั ครัวเรอื นสัมมาชีพ ครวั เรือนสมั มาชีพชุมชน ประจาปี 2564
56 เมื่อไม่มีความรุนแรง เพราะอยู่แบบพอเพียง มีความเมตตา เอือเฟื้อ เสียสละให้อภัยและเอือ อาทรต่อสมาชิกในครอบครัวทุกคน ไม่ลงโทษต่อสมาชิกในครอบครัวโดยวิธีที่รุนแรงไม่แสดงกิริยาข่มขู่ หรอื ทาให้บุคคลในครอบครวั อับอาย เมื่อรักแล้วควรแสดงออกทางกาย ทางวาจาด้วย เช่น บอกรักกันทุก วนั โอบกอด จูบแสดงความห่วงใย ฯลฯ ส่ิงเหล่านีล้วนเป็นการกระชับสายสัมพันธ์ระหว่าง พ่อ แม่ ลูก ให้แนน่ แฟ้นมากยิ่งขึน มกี ารพูดคุย ถามไถ่สารทกุ ขส์ ุกดิบกนั ทุกวัน ครอบครวั รู้จักยอมรับฟังความคดิ เห็นซงึ่ กนั และกนั สมาชกิ ในครอบครัวมคี วามรักใคร่สามัคคี ไม่ ทะเลาะเบาะแวง้ มคี วามเห็นอกเห็นใจกัน ให้การช่วยเหลือซงึ่ กนั และกนั ครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
57 4. สร้ำงควำมมน่ั คงทำงอำชีพ/รำยได้ 4.1 ครัวเรอื นมีกำรออม การจัดการบริหารเงินเป็นสิ่งสาคัญสาหรับเราทุกครวั เรือน เหมือนจะเป็นส่ิงท่ีทาให้เห็นผลลัพธ์ได้ ยากเย็น พอจะเก็บเงิน ก็มีเร่ืองต้องใช้จ่าย พอเก็บเงินได้ก้อนหน่ึง ก็เหมือนจะมีเหตุฉุกเฉินรุมเร้าทาให้ ตอ้ งนาเงินท่ีเกบ็ แทบตายออกมาใช้ เท่ากบั เร่มิ ใหมห่ มด คนสว่ นใหญ่ มักจะออมเงนิ ด้วยวธิ ีการง่าย ๆ เชน่ การฝากเงินกับธนาคาร โดยเปดิ บญั ชอี อมทรัพย์ ธรรมดาเพราะผู้ใหญ่สอนมา แตใ่ นปัจจุบันนีมีวธิ ีการออมเงินที่ไม่เพียงเก็บเงนิ ต้นของเราไว้ครบถว้ น แถม ยังสามารถทาให้เงนิ ต้นที่เราฝาก สามารถงอกเงยด้วยตัวเองได้อีกด้วย ดังนันการวางแผนการเงินให้ดีเป็น ส่งิ สาคญั การบรหิ ารจดั การเงนิ เป็นส่งิ ทท่ี าได้ โดยเคลด็ วธิ ีการออมเงนิ งา่ ย ๆ ดงั ตอ่ ไปนี 1. ออมก่อนใช้ เงินออมมาจากเงินที่เหลือจากการใช้จ่ายทังเดือน แต่วิธีที่ถูกต้องหากเราต้องการสร้างเงินออม จัดการเงินออมให้เหมาะสม คือ เมื่อเราได้เงินเดือน ให้แบ่งเงินส่วนท่ีจะออมเอาไว้ก่อนแล้วฝากธนาคาร ทนั ที ส่วนเงินท่ีเหลือค่อยนามาใช้จา่ ยใหพ้ อเพียงในเดอื นนนั วธิ ีการง่าย ๆ เราสามารถเปิดบญั ชีฝากประจากับธนาคารท่ีเราใช้บริการอยู่ แล้วแจง้ ความ จานงวา่ เราตอ้ งการให้มกี ารตดั ยอดจากบัญชีเงนิ เดอื นของเรา เป็นจานวนตามที่เรากาหนด (อาจจะ 1,000-2,000 บาทกแ็ ลว้ แต่) นาเข้าฝากบญั ชีฝากประจาท่ีเปิดไวโ้ ดยอัตโนมัติ ทีนีพอเงินเดือนเข้าเมื่อไหร่ เงินส่วนนีก็จะได้รับการเก็บออมในทันที ให้ทังความสะดวก และทาให้เราไมต่ ้องเสียเวลา และคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทาง เพ่อื โอนเงนิ ด้วยตัวเองอีกดว้ ย 2. จดั สรรเงนิ ออม การจัดสรรเงินออมให้มีประสิทธิภาพ โดยเราสามารถแบ่งเงินออมออกเป็น 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ เงนิ เพื่อใชจ้ ่าย เงนิ เผ่อื ฉุกเฉนิ และเงนิ เพื่อลงทนุ โดยเงินออมแต่ละกองกจ็ ะมีหนา้ ท่ขี องตวั มันเอง เงินออมรวม = เงินเพือ่ ใชจ้ ่ำย + เงนิ ออมเผื่อฉกุ เฉิน + เงนิ ออมเพอื่ กำรลงทนุ เงินเพอ่ื ใช้จ่ำย จะเปน็ เงนิ กองที่มีไว้เพ่ือชว่ ยสร้างสภาพคล่องทางการเงินให้กับชีวติ ประจาวันของ เรา เงินส่วนนีเราจะสามารถนามาใช้สาหรับการผ่อนจ่ายหนีบัตรเครดิต ชาระค่าใชจ้ ่ายประจาเดือนตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นค่าเช่า ค่าผ่อนบ้าน ค่าผ่อนรถยนต์ ค่าผ่อนบัตรเครดิต ค่าผ่อนสินเช่ือต่าง ๆ เป็นต้น โดยเรา จะต้องสามารถเข้าถงึ เงินกองนไี ดท้ ันที ควรมีจานวนพอกบั คา่ ใช้จา่ ยอย่างน้อย 3 เดอื น เงินออมเผื่อฉุกเฉิน จะต้องเป็นเงินที่เราเข้าถึงได้ เพื่อท่ีจะสามารถนาออกมาใช้ได้ ไม่ว่าจะเป็น กรณีมีปัญหาดา้ นการงาน เกิดอุบัตเิ หตทุ าให้ไปทางานไม่ได้ เกดิ เหตกุ ารณ์ไม่สงบทางการเมอื ง ฯลฯ ทาให้ เราไม่สามารถไปทางานได้และเสียรายได้ประจา โดยเงินกองนีควรจะมีจานวนเท่ากับเงินค่าใช้จ่ายราย เดือนที่เราใช้เป็นประจารวมกัน 6 เดือน หากมีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึน เราจะสามารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่าง ไม่ต้องลาบากอยา่ งนอ้ ยเปน็ ระยะเวลาประมาณ 6 เดอื นนน่ั เอง ครวั เรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
58 เงินออมเพื่อกำรลงทุน เป็นเงินกองท่ีเราจะสามารถนามาต่อยอดความมั่งคั่งให้กับตัวเอง กองนี จะต้องเป็นเงินเย็น ซ่ึงเป็นเงินที่เราสามารถนาไปใช้สาหรับการลงทุนระยะยาวได้ โดยเราจะต้องไม่ไปยุ่ง กับเงนิ สว่ นนีจนกว่าจะถึงกาหนดปันผล หรอื ถึงกาหนดขายคนื กองทนุ 3. กำรทำบัญชีรำยรับ-รำยจำ่ ย สิ่งสาคัญในการออมเงิน จัดการเงินอีกอย่าง คือ การที่เราสามารถรู้ได้ว่าเงินเข้า-เงินออกมีอะไร ยงั ไง ค่าอะไร และเท่าไหร่บ้าง การทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย คือ บันทึกรายการวา่ ได้ซืออะไรไป ก็ให้ จดเอาไว้ให้หมด เพ่ือท่ีเราจะได้นามาคานวณไดว้ ่าเราใช้จ่ายอะไรไปบ้าง จาเป็น-ไม่จาเป็นแค่ไหน อย่างไร น่นั เอง ข้อดีของกำรทำบญั ชีรำยรับ-รำยจ่ำย การควบคมุ คา่ ใช้จ่าย เนื่องจากเราจะสามารถเหน็ ไดเ้ ปน็ รายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือนวา่ เรา ใช้เงนิ ฟุม่ เฟอื ยไปกบั อะไรบา้ ง เทา่ ไหร่ และหากเราฝืนใจไม่ซอื ของฟุ่มเฟอื ยเหลา่ นี เราจะสามารถนาเงนิ สว่ นนีไปออมแทนไดเ้ ท่าไหร่บา้ งนันเอง 4. กำรวำงแผนกำรใช้เงนิ รำยวัน หากเราต้องการจัดการเงิน และออมเงินอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด อีกวิธีที่เราสามารถนามาใช้ได้ คือ การวางแผนการใช้จ่ายรายวันในแต่ละเดือน เม่ือเราได้เงินเดือนมา ให้เราหักเงินออม และค่าใช้จ่าย ประจาเดือนออก ส่วนเงินท่ีเหลือก็คือ เงินส่วนท่ีเราเก็บเอาไว้ใช้รายวันนั่นเอง หากเราใช้เงินรายวันเหลือ เราก็สามารถนาเงินท่ีเหลือหยอดกระปุกได้อีก ถึงเวลาพอหยอดกระปุกได้เยอะแล้วก็สามารถนาไปฝาก ธนาคาร เปน็ การออมงินไดอ้ กี ทางหน่งึ ด้วย การออมเงิน จัดการเงิน ใคร ๆ ก็สามารถทาได้ เพียงแค่เราสร้างวินัยในการออมเงินที่ดี ทา ตามแผนทีเ่ ราวางเอาไว้ ไม่ก่ีปีเรากจ็ ะสามารถมเี งินออม เงนิ เก็บ และมนี ิสัยการบรหิ ารเงินท่ีดีได้อยา่ ง แนน่ อน กำรออมจงึ เปน็ จดุ ตง้ั ตน้ ของปัญหำหนค้ี รวั เรือนและยงั เป็นทำงออกสำคัญท่ีชว่ ยไม่ให้ครัวเรอื น เป็นหน้ีสูง ติดอยู่ในกับดกั หนี้นำน และยังชว่ ยลดรำยจ่ำยดอกเบี้ยจำกกำรก่อหนี้ลงอีกด้วย นอกจากนี การออมยังทาหน้าที่เปน็ ภูมิค้มุ กันไม่ให้การก่อหนีของครัวเรือนก่อให้เกิดปัญหาทางการเงิน ตลอดจนช่วย ลดความเสีย่ งของการผิดนัดชาระหนที งั ในวนั นีและอนาคต ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
59 ครัวเรือนมีการออม ครัวเรือนนางจุฑามาศ คงขวัญ มีการออมเงิน โดยแบ่งส่วนหน่ึงที่ เกิดจากรายได้เข้าฝากออมเงินกับ ธกส. สาขาศรีสาครเป็นประจาทุกสัปดาห์ และฝากเงินกับกลุ่มออม ทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านประชานิมิตร ทุกเดือน ๆละ 1,500 บาท แบ่งเป็นของทุกคนในครัวเรือน คนละ 300 บาท และเงินสัจจะกองทนุ หม่บู า้ นอีกดว้ ย 1. ครัวเรอื นมีเงินออม มภี ูมิคุม้ กนั เรอ่ื งรายได้ 2. ครัวเรือนไมต่ กเกณฑ์ดา้ นรายได้ และการออม (จปฐ. ปี 62) 3. ครวั เรอื นมีความม่นั คงดา้ นสถานะการเงนิ 4.2 ครัวเรือนประสบควำมสำเร็จในกำรประกอบสมั มำชีพสำมำรถเปน็ แบบอย่ำงได้ เป็นท่ีรจู้ ักและยอมรบั ของคนในชุมชน ทงั หมู่บ้านหรือตาบล วา่ เป็นครอบครัวที่มีคุณงามความดี มี ความโอบอ้อมอารแี ก่คนท่ัวไป และเปน็ ผนู้ าครอบครัวต้นแบบที่ดใี นชมุ ชน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมในชุมชน โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคน ทุกช่วงวัยของครอบครัวในการเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อสานสัมพันธ์ระหว่างคนในครอบครัว กับชุมชน และ ตาบล ไดแ้ ก่ ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
60 1. กจิ กรรมกองทนุ แมข่ องแผ่นดนิ 2. กิจกรรมส่งเสริมสนบั สนุนการจัดตังกลุ่มอาชพี 3. ดาเนินโครงการพัฒนาและเสริมสร้างผู้นาการเปลี่ยนแปลงบ้านประชานิมิตร สร้างความม่ันคง ทางอาหาร 4. การดาเนนิ งานหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง 5. การประยกุ ตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาดาเนนิ จนเปน็ วถิ ชี ีวิต 6. การดาเนินศนู ย์เรียนรชู้ ุมชนทองผาภูมิ 7. การปลกู พืชผกั สวนครัว ถนนกินได้ เปน็ ครอบครวั ท่ยี ดึ ถือและปฏิบตั ิตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งจนเป็นท่ีประจกั ษ์และเปน็ แบบอยา่ งที่ ดขี องคนในชุมชนทงั หมบู่ า้ น ตาบล อาเภอ หรือจังหวัด เป็นแบบอย่างท่ีดีในการดารงชีวิตครอบครัว และในอาชีพการงาน โดยเห็นได้จาก ครอบครัวที่มีความสุขและมีงานท่ีคนนับหน้าถือตา จนสามารถเป็นแบบอย่างให้คนในครอบครัวและชุมชนได้ ไดแ้ ก่ 1. การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีดว้ ยความสุจรติ 2. มคี วามรับผิดชอบ ยึดมั่นในคณุ ธรรม 3. ยึดหลกั การดารงชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เป็นปราชญ์ชุมชนในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการทาปุ๋ยหมัก การปลูกกาแฟ การเลียงผึง ชันโรง สมาชิกในครัวเรือนมีความประพฤติดีมีศีลธรรม และจริยธรรม นาทางการดารงชีวิตมีความ ซ่ือสัตย์ ประกอบอาชพี ทีช่ อบด้วยกฎหมาย ครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
61 ยึดหลักการปฏบิ ัติตน เพื่อความเจรญิ ก้าวหน้าในอาชีพของตน และรว่ มรับผิดชอบในสังคม ควรมี ดงั นี 1. ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม 2. สรา้ งความนา่ เชอ่ื ถือและความปลอดภัยในบรกิ าร 3. การมีจรรยาอาชีพและดาเนินกิจการอย่างมีคุณภาพ มีวินัยในการประกอบ อาชีพ 4. การสรา้ งสัมพนั ธภาพที่ดีต่อประชาชน/ชุมชน 5. การเคารพสทิ ธแิ ละรกั ษาผลประโยชน์ของผอู้ ่ืน 6. การประกอบอาชพี ด้วยความขยันหม่ันเพยี ร 4.3 ครัวเรือนมกี ำรทำบญั ชีครัวเรอื น เคร่ืองมือหน่ึงที่จะช่วยให้มีวิถีชีวิตท่ีเป็นไปตามหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ การ จัดทาบญั ชคี รัวเรือน ซ่ึงจะชว่ ยจัดการทางการเงินของตนเองและครอบครัว ทาให้สามารถแก้ไขปัญหาการ ดาเนนิ ชวี ติ และสรา้ งความสขุ อยา่ งยงั่ ยนื การทาบัญชีครัวเรือน เป็นการบันทึกรายรับรายจ่ายประจาวัน ประจาเดือน ว่าของตนเองและ ครอบครัว ว่ามีรายรับจากแหล่งใด รายจ่ายจาเป็นมาก รายจ่ายจาเป็นน้อยมีจานวนเท่าใด มีเงินคงเหลือ เท่าใด หรือเงินไม่พอใช้เท่าใด โดยนารายรับ รายจ่าย มาหักลบกันจะทราบว่าใช้จ่ายขาดดุลหรือเกินดุล สามารถใชว้ างแผนการรบั การจ่ายเงินของตนเองและครอบครัวได้ ครวั เรอื นมกี ารจัดทาบัญชคี รัวเรือนอย่างสมา่ เสมอ มกี ารบันทึกรายรบั – รายจา่ ยตอ่ วนั ลงในสมุด ครัวเรอื นสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
62 ทาให้รู้ว่าเราควรมีการจัดการกับการใช้จ่ายหรือการทารายรับรายจ่ายอย่างไร ควรที่จะใช้จ่าย อะไรไปบา้ ง รู้จกั ตนเอง ฝกึ ความมีระเบียบในตนเอง ลดละสิ่งท่ฟี ุ่มเฟือย ร้จู ักการอดออมและรู้จักการ พึ่งพาตนเอง มีความระมัดระวังในเร่ืองการใช้จ่ายมากขึน รู้คุณค่าของเงินมีความรอบคอบ ฝึกจัด ระเบียบการจัดการเงินเพื่อให้เป็นนิสัย ให้รู้จักการประหยัดและอดออม เพื่ออนาคตของเราเองและ ครอบครัวของเราเอง การทาบัญชีครัวเรือนนั้นไม่ยากขอให้เราเร่ิมต้นตั้งแต่วันน้ีและทาอย่างต่อเนื่อง คุณจะมี เคร่ืองมือในการวิเคราะห์ฐานะการเงินในครัวเรือนและวางแผนการใช้ชีวิตใหม่ เพ่ือให้มีเงินเหลือเก็บ ไมเ่ ปน็ หนสี้ นิ ทาให้ครอบครัวมีความสุขตลอดไป “ 4.4 ครวั เรือนไม่มีหนี้สินนอกระบบ ปัญหาหนีนอกระบบมีแนวโน้มรุนแรงขึน และมีพัฒนาการให้กู้ยืมเงินในรูปแบบใหม่ๆ โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือ ทังรูปแบบการปล่อยเงินกู้ท่ีมีดอกเบียในอัตราที่สูงกว่ากฎหมายกาหนด คือ เกิน กว่าร้อยละ 15 ต่อปี เช่น รูปแบบการใช้แอพพลิเคชั่นให้ก้ยู ืมเงิน การใช้เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในการ ให้กู้ยืมเงิน ติดตามทวงถามหนี พฤติการณ์การทวงถามหนีโดยวิธีการข่มขู่ ทาร้ายร่างกาย ทาให้บางราย ถูกกดดนั จนฆา่ ตัวตาย สมาชิกในครัวเรอื นไม่มีการกู้ยมื เงินนอกระบบ และไม่มีหนีสินลน้ พ้นตัว - ไม่มกี ารกยู้ ืมเงนิ นอกระบบกู้ เพราะดารงชวี ิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลจำกกำรทค่ี รวั เรอื นไม่มีหน้ี ไมส่ รำ้ งหนี้ - ไมม่ ีหนีสินไม่เดอื ดรอ้ นในการจ่ายหนนี อกระบบ - ทาให้ครอบครัวอบอุ่น มีครอบครัวท่ีอบอุ่นทาให้เราดาเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข คนที่มีครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทาหน้าท่ีได้เหมาะสม และทาให้สมาชิกใน ครอบครัวมสี ุขภาพจติ ดีไปดว้ ย ครอบครัวอบอนุ่ ไรห้ นี ชวี ิตมแี ตค่ วามสุข ครวั เรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
63 4.5 รำยไดข้ องครัวเรือนสมั มำชพี ชมุ ชน ครัวเรอื นสัมมาชพี มีรายได้หลักจากการทาการเกษตร โดยแยกรายละเอียดได้ดังนี 1. ขายไม้ตัดดอก (ดาวเรือง) ตอ่ สัปดาห์ 1,000 – 2,000 บาท รวมรายได้ต่อปี 18,000 บาท 2. ขายพชื ผักสวนครัว รวมมากกว่า 10 ชนิด ตอ่ สัปดาห์ 500 บาท รวมรายได้ต่อปี 26,000บาท 3. ขายกาแฟคั่ว รายได้ต่อปี 40,000 – 50,000 บาท 4. ชาดอกกาแฟ รายได้ตอ่ ปี 10,000 บาท 5. ทาสวนยาง / ขายนายางสด / นายางก้นถ้วย รายไดต้ ่อปี 364,000 บาท 6. จาหนา่ ยทเุ รียน รายไดต้ ่อปี 360,000 บาท 7. รายได้อ่นื ๆ(นาผึงชันโรง, ชาดอกเกก๊ ฮวย, ชาดอกมะลิ, หญา้ หวาน, ต้นกลา้ กาแฟ ฯลฯ) รวมรายไดต้ อ่ ปี 10,000 บาท รวมรายไดต้ ่อปีของครัวเรอื นสัมมาชพี 838,000 บาท แผนในกำรพฒั นำครัวเรอื นสมั มำชีพชุมชนในระยะตอ่ ไป 1. ปลูกพืชผักสวนครัวเพิ่มมากกว่า 20 ชนิด โดยศึกษาในส่ือออนไลน์ เพื่อหาพืชที่เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมในหมูบ่ ้าน 2. ปลกู พืชเศรษฐกจิ อืน่ ๆเช่น มะม่วงเบา สะตอ 3. ปลกู พืชผักพนื บ้านท่เี หมาะสม เชน่ ผกั เหลียง ผกั หวานปา่ 4. ปลกู พชื 3 ระยะ - พืชระยะส้ัน ได้แก่ ผักกินใบ คะน้า ผักบุ้งอ่อน ต้นอ่อนทานตะวัน พืชไร่ เช่น ข้าวโพด ขา้ วฟา่ ง และขา้ วไร่ - ปลูกพืชระยะกลำง ได้แก่ ไม้ผลอื่น ๆ มะนาว, มะม่วงเบา, กล้วย, ขนุน และมะพร้าว ปลกู จาหนา่ ยเพอื่ เกบ็ เอาไวเ้ ป็นเงนิ ออม - ปลกู พชื ระยะยำว ได้แก่ ไมเ้ ศรษฐกิจ ไม้ยนื ต้น ไม้สกั ยางนา ต้นยาง ทเุ รียน เปน็ ต้น ครัวเรือนสมั มาชีพชมุ ชน ประจาปี 2564
64 ภาคผนวก ครวั เรอื นสัมมาชีพชุมชน ประจาปี 2564
เอกสารรายงานผลการพฒั นาตนเอง ตามระบบมาตรฐานการพฒั นาชมุ ชนประจาปี 2564 ประเภท ครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชน โดย นางจฑุ ามาศ คงขวญั บา้ นเลขท่ี 28/32 หมู่ท่ี 4 ตาบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จังหวดั นราธวิ าส ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน โดยสำนกั งำนพฒั นำชมุ ชนอำเภอศรีสำคร โทร 081 – 8211376 หนา้ 0
คานา ด้วยกรมกำรพัฒนำชุมชน ได้สร้ำงและใช้เคร่ืองมือมำตรฐำนกำรพัฒนำชุมชน (มชช.) ในกำรพัฒนำศักยภำพ เพื่อเพ่ิมขีดควำมสำมำรถให้กับกลไก 6 ประเภท ได้แก่ผู้นำชุมชน ผนู้ ำสัมมำชพี ชุมชนครวั เรอื นสัมมำชีพชมุ ชน กล่มุ องค์กรชมุ ชน เครอื ข่ำยองค์กำรชุมชนและชุมชน ภำยใต้หลักคิดท่ีเป็นหัวใจสำคัญ คือ 1)กำรมีส่วนร่วม ของชุมชน ชุมชนเป็นเจ้ำของ ประชำชน เป็นผู้รับประโยชน์ 2) ชุมชนมีควำมสมัครใจในกำรพัฒนำตนเอง 3)กระบวนกำรเรียนรู้ และกำร พัฒนำตนเอง 4)ควำมยึดหยุ่น สอดคล้องเหมำะสมกับแต่ละพื้นท่ีชุมชน 5)ควำมร่วมมือและ ยอมรับเป็นเคร่ืองมือเช่ือมประสำนบูรณำกำรงำนของภำคีกำรพัฒนำ จนสมำรถทำให้กลไก กำร พัฒนำท้ัง 5 ประเภท เป็นที่ยอมรับในสังคม และเป็นมำตรฐำนเดียวกันท่ัวประเทศ และได้ ดำเนนิ กำร มำตั้งแต่ ปี 2547 ต่อเนอ่ื งจนถงึ ปจั จุบนั เพื่อให้กำรพัฒนำศักยภำพของกลไกกำรพัฒนำท้ัง 5 ประเภท ให้เป็นไปตำม แนวทำงมำตรฐำนกำรพัฒนำชุมชน (มชช.) ประจำปี 2564 ตำมที่กรมกำรพัฒนำชุมชนกำหนด ให้มกี ระบวนกำรและขั้นตอนในกำรดำเนินงำนพัฒนำกลไกท้ัง 5 ประเภท โดยให้สอดคล้องกบั ตัว บ่งช้ีทเี่ ป็นเกณฑ์ในกำรประเมนิ รับรองมำตรฐำนกำรพัฒนำชมุ ชน เมอื่ ผู้สมัครเข้ำสู่ระบบมำตรฐำน กำรพัฒนำชุมชน จะต้องดำเนินกำรประเมนิ สถำนภำพตนเองเบ้ืองตน้ , ลงมอื พัฒนำตนเอง ,เขียน เอกสำรรำยงำน และจัดเก็บหลักฐำนภำพถ่ำยกิจกรรมต่ำงๆ เป็นเอกสำรรูปเล่มเพ่ือใช้ ประกอบกำรพจิ ำรณำตรวจสอบและประเมนิ รบั รองกำรพัฒนำตนเองของกลไกกำรพัฒนำประเภท ผู้นำชุมชน เพ่ือเสนอต่อคณะกรรมกำรระบบมำตรฐำนกำรพัฒนำชุมชนจังหวัด เสนอต่อ คณะกรรมกำรระบบมำตรฐำนกำรพัฒนำชุมชนจังหวัด เพื่อตรวจสอบประเมิน และรับรอง มำตรฐำน เพ่ือประกำศรับรองมำตรฐำนกำรพัฒนำชมุ ชนของผูท้ ผ่ี ่ำนเกณฑป์ ระเมนิ มำตรฐำนกำรพฒั นำชุมชน ประจำปี 2564 ท้ำยน้ีผู้จัดทำเอกสำรรูปเล่ม ขอขอบคุณหน่วยงำนรำชกำรและภำคีร่วมพัฒนำ ต่ำงๆ ในพื้นที่ที่ให้กำรสนับสนุนกำรดำเนินกำรพัฒนำตนเองของครัวเรือนสัมมำชีพชุมชน บ้ำน ประชำนิมิตร หมู่ที่ 4 ตำบลกำหลง อำเภอศรีสำคร จังหวัดนรำธิวำส ซึ่งประสงค์จะเข้ำรับกำร ประเมินและรับรองมำตรฐำนกำรพัฒนำชุมชนประจำปี 2564 และหวังว่ำเอกสำรฉบับน้ี สำมำรถใช้เป็นข้อมูลเพ่ือประกอบกำรพิจำณำกำรตรวจประเมินและรับรองมำตรฐำนกำรพัฒนำ ชมุ ชน ตำมแนวทำงท่กี รมพัฒนำชมุ ชนกำหนดอย่ำงครบถ้วนสมบรณู ์ ผู้จดั ทำ นำงจุฑำมำศ คงขวัญ ครวั เรือนสัมมำชีพชมุ ชน บำ้ นประชำนิมติ ร หมูท่ ี่ 4 ตำบลกำหลง อำเภอศรีสำคร จังหวัดนรำธิวำส ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน หนา้ 1
สารบญั หนา้ เรอ่ื ง 3 4 1. ใบสมัคร 5 2. หลกั ฐำนกำรรับสมัคร 8 3. แบบประเมินสถำนภำพตนเอง 12 4. แผนพฒั นำตนเอง 16 5. รำยงำนผลกำรพัฒนำตนเอง 6. แบบสรุปประเมนิ ผลสำหรบั คณะกรรมกำรตรวจประเมนิ 19 ระดับอำเภอ/จงั หวดั 7. ภำคผนวก 7.2 ภำพกิจกรรมประกอบกำรพัฒนำตนเองตำมตวั ชว้ี ัด แต่ละองคป์ ระกอบ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน หนา้ 2
1.ใบสมัคร ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน หนา้ 3
๒. เอกสารประกอบการรับสมคั ร ประเภทครวั เรอื นสัมมำชีพชมุ ชน ไดแ้ ก่ - สำเนำบตั รประชำชน ๑ ฉบับ - สำเนำทะเบียนบำ้ น ๑ ฉบบั - สำเนำกำรศึกษำ ๑ ฉบบั - สำเนำประกำศนยี บัตร ๑ ฉบับ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน หนา้ 4
สำเนำบตั รประชำชน 1 ฉบับ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน หนา้ 5
สำเนำทะเบยี นบำ้ น 1 ฉบับ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน หนา้ 6
สำเนำกำรศึกษำ 1 ฉบับ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน หนา้ 7
สำเนำประกำศนยี บัตร ๑ ฉบบั ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
หนา้ 0
แบบประเมนิ สถานภาพตนเ ชื่อ-สกลุ นางจฑุ ามาศ คงขวัญ บ้านเลขท.ี่ ...28/32......หม ที่ ดา้ น/องค์ประกอบ ตัวบ่งช้ี อธบิ ายขอบเขตตวั บง่ ช รปู ธรรมและจะตอ้ งผ ๑ ๑.มสี ัมมำชพี 1.1 ครวั เรอื นประสบผลสำเร็จใน - มอี ำชพี สำมำรถเลี้ยงครอบครวั - มอี ำชพี หลกั ของครอบครัว กำรประกอบสมั มำชีพสำมำรถเปน็ ได้ แบบอยำ่ งได้ 1.2 มีกำรทำบัญชคี รวั เรือน -มบี ัญชีครัวเรอื นทีท่ ำอย่ำง -มีกำรจัดทำบญั ชีครัวเรอื น สมำ่ เสมอ 1.3 มกี ำรออม -ครวั เรือนสะสมเงินสจั จะกบั กลมุ่ -มีสมุดสจั จะของกล่มุ องค์ก องคก์ รในชมุ ชน อย่ำงน้อย ๑ กล่มุ ๑ กล่มุ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
เอง สาหรับครัวเรอื นสัมมาชีพชมุ ชน มู่ท่ี......4.....ตาบล....กาหลง......อาเภอ........ศรสี าคร............. ชี้ทีเ่ ป็น วิเคราะหส์ ถานภาพตวั เอง แนวทางการพัฒนาตนเอง เอกสาร/หลกั ฐาน/ ผา่ น พยาน(ทต่ี อ้ งจัดเกบ็ ) ว ผำ่ น ไมผ่ ่ำน มีกำรประกอบอำชพี และมี -มีภำพกำรประกอบ รำยไดท้ เ่ี พยี งพอ อำชพี หลัก ผำ่ น ไม่ผ่ำน จัดทำบญั ชรี ำยรับ-รำยจ่ำย -แนบสำเนำบญั ชี ทุกวัน ครัวเรือน กร จำนวน ผำ่ น ไม่ผำ่ น มีกำรออมเงนิ กับกลมุ่ องคก์ ร -แนบสมุดสจั จะสะสม ในชมุ ชน ของตนเองหรอื มีรำยชือ่ เปน็ สมำชิกของกลุม่ องคก์ ร หนา้ 1
ที่ ดา้ น/องคป์ ระกอบ ตวั บง่ ช้ี อธบิ ายขอบเขตตัวบง่ ชีท้ ี่เปน็ จะต้องผา่ น ๒ มีควำมสมั พันธ์ทด่ี ี -ปฏิบตั ติ ำมคำสอนของศำสนำ ปฏิบตั ิตำมกฎหมำย -มีกจิ กรรมกำรลดรำยจ่ำยในครวั -มีอำชพี มีรำยไดเ้ พียงพอในกำร และค่ำนยิ มไทย มีควำมซ่อื สัตย์ -มีกำรจัดทำบญั ชคี รวั เรอื น ให้เกยี รตผิ ู้อนื่ -มกี จิ กรรมในกำรประกอบอำชีพ 2.1 สมำชิกในครวั เรอื นมีวิถี -ครวั เรือนมีควำมสำมคั คี มีกำร -สมำชกิ มีควำมสภุ ำพอ่อนโยน เ ชีวิตประชำธิปไตยและทำ แบ่งงำนและหน้ำทก่ี ันใน เกยี รตซิ ง่ึ กนั และกัน กิจกรรมรว่ มกนั อยำ่ งสม่ำเสมอ ครอบครัว 2.๒ สมำชกิ ในครวั เรอื นไมม่ ีกำร -สมำชิกในครอบครวั ไมเ่ คยใช้ ใชค้ วำมรุนแรง ควำมรุนแรงในกำรตัดสินปัญหำ 2.๓ สมำชกิ ในครวั เรอื นเป็น -มีรำยชอ่ื เปน็ สมำชิกกลมุ่ องค์กร -เปน็ สมำชกิ กลมุ่ องค์กรชุมชนใน สมำชิกกลุม่ องค์กรในชมุ ชน ชุมชนในพืน้ ที่ อย่ำงนอ้ ย 1 กล่มุ /องค์กร ๓ มสี ภำพแวดล้อมเหมำะสม -มีปำ้ ยครวั เรอื นชดั เจน -มปี ้ำยครวั เรือนและบำ้ นถูกสขุ ล -บำ้ นสะอำดถูกสุขลกั ษณะ 3.1 มปี ้ำยครัวเรือนและจดั ระเบยี บบำ้ นให้สะอำดถูก สขุ ลกั ษณะ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
นรปู ธรรมและ วิเคราะห์สถานภาพตวั เอง แนวทางการพฒั นา เอกสาร/หลกั ฐาน/พยาน ตนเอง (ทตี่ อ้ งจัดเก็บ) วเรือน ผ่ำน ไม่ผ่ำน รดำรงชีวิต ปฏบิ ัติตำมหลักศำสนำ คดิ ดี ทำดีต่อตนเองและคน ในชุมชน พรว่ มกนั ผำ่ น ไม่ผำ่ น สมำชกิ ในครัวเรือนร่วมกัน -มภี ำพกำรแบง่ หน้ำที่กนั ปฏบิ ัติหน้ำทข่ี องตนเอง ภำยในครวั เรือน เรยี บร้อยให้ ผ่ำน ไม่ผำ่ น สมำชกิ ในครัวเรือนมคี วำม -ภำพครอบครัวมีควำมสุข นพนื้ ที่ ผ่ำน ไม่ผ่ำน เคำรพกันและมีควำม ผกู พนั ธ์กนั ประสำนกลมุ่ องคก์ รเพอื่ -มีรำยชอ่ื เป็นสมำชิกกลุ่ม เขำ้ ถึงแหลง่ ทนุ องค์กร ลกั ษณะ ผำ่ น ไม่ผ่ำน ทำควำมสะอำดบ้ำนเรอื น -ภำพป้ำยครวั เรอื นและ ให้ถกู สขุ ลกั ษณะ ภำพภำยในบ้ำนทสี่ ะอำด ถูกสขุ ลกั ษณะ หนา้ 2
ที่ ดา้ น/องค์ประกอบ ตวั บง่ ชี้ อธบิ ายขอบเขตตัวบ รูปธรรมและจะตอ้ 3.2 มกี ำรบรหิ ำรจดั กำรขยะอยำ่ ง -มีกำรคดั แยกขยะ และนำขยะมำใช้ เหมำะสมไมเ่ ป็นมลพษิ ตอ่ ใหมห่ รือลดขยะด้วยวิธลี ดกำรใช้ -มกี ำรจัดกจิ กรรมลด สงิ่ แวดล้อม ถุงพลำสตกิ ถงุ พลำสตกิ หรอื มีกำร ขยะ 3.3 เป็นทพ่ี ึง่ ของคนในชมุ ชน -สำมำรถถ่ำยทอดองคค์ วำมรใู้ หก้ บั คน -เป็นต้นแบบของกำร ในชมุ ชน ดำ้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ๒ -ไม่ติดยำเสพติด -สมำชกิ ในครัวเรอื นไม่เกยี่ วขอ้ งกับ -ครัวเรอื นมีกติกำรว่ ม ไม่ ยำเสพตดิ กำรป้องกนั หรือตอ่ ต้ำ ตดิ -ไมม่ ีหนนี้ อกระบบ -สมำชกิ ในครวั เรอื นไมม่ ีกำรกู้ยมื เงนิ -ครัวเรือนไมม่ หี นี้นอ นอกระบบและไมม่ หี นส้ี นิ ล้นพน้ หรือไมม่ ีหน้ีสนิ ลน้ พน้ ครัวเรอื นสัมมำชีพชมุ ชน จะได้รับกำรรับรองมำตรฐำนกำรพัฒนำชมุ ชนนั้น จะต้องพฒั สรปุ ผลกำรประเมินตนเอง ( ) ผำ่ นกำรประเมินผลกำรพฒั นำตนเอง จำนวน……3…….. องค์ประกอบ ( ) ไมผ่ ่ำนกำรประเมนิ ผลกำรพฒั นำตนเอง จำนวน………….. องค์ประกอบ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
บ่งชี้ที่เป็น วิเคราะห์สถานภาพตัวเอง แนวทางการพัฒนาตนเอง เอกสาร/หลกั ฐาน/พยาน(ที่ องผ่าน ต้องจัดเก็บ) ดใช้ ผำ่ น ไม่ผำ่ น ฝกึ วนิ ัยให้กับสมำชกิ ใน -มีภำพกำรคดั แยกขยะขวด รคดั แยก ครวั เรอื นในกำรคัดแยก พลำสตกิ หรือถงุ พลำสติกฯลฯ ขยะกอ่ นท้งิ รดำรงชีวติ ผำ่ น ไม่ผ่ำน ใหค้ วำมร้กู บั ครวั เรอื น -มีภำพบรรยำยใหค้ วำมรู้แก่ ยง ผ่ำน ไม่ผ่ำน ต่ำงๆในชุมชน คนในชมุ ชน มกนั ใน สมำชกิ ในครวั เรือนใช้เวลำ -มีภำพสมำชกิ เล่นกฬี ำหรอื ำนยำเสพ ว่ำงให้เปน็ ประโยชน์ ใช้เวลำวำ่ งให้เป็นประโยชน์ อกระบบ ผำ่ น ไม่ผ่ำน สมำชิกในครัวเรอื นรว่ มกนั -มภี ำพกำรออมเงินและมี นตวั ออมเงินทกุ วนั สมุดบญั ชที ี่เปน็ ปัจจุบนั มำ ยนื ยนั ฒนำตนเองผ่ำนทุกตัวบง่ ช้ีมำตรฐำนในทกุ ด้ำน ทุกองคป์ ระกอบ หนา้ 3
แบบเอกสารแผนการพัฒนาตนเอง ช่อื ครัวเรอื นสัมมาชีพชุมช ทีอ่ ยู่ 28/32 หมูท่ ่ี 4 บา้ นประชานมิ ิตร ตา ท่ี ด้านองค์ประกอบ แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนาตนเอง 1 มสี ัมมาชพี 1.1 ครัวเรือนประสบผลสำเรจ็ พฒั นำและใหค้ วำมร้ดู ้ำนกำรประกอบอำชีพในดำ้ น ในกำรประกอบสัมมำชีพ ครวั เรือนมคี วำมสนใจและมคี วำมถนดั สำมำรถเป็นแบบอยำ่ งได้ 1.2 ครวั เรอื นมีกำรจดั ทำบญั ชี ให้เจำ้ หน้ำทพี่ ัฒนำชุมชนสอนแนะให้ควำมร้ใู นกำร ครัวเรือน จดั ทำบญั ชคี รัวเรือนแกค่ รัวเรือนสมั มำชีพชมุ ชน 1.3 ครวั เรือนมีกำรออม ครัวเรือนสะสมเงินสัจจะกบั กล่มุ องคก์ รในชมุ ชน อย่ำงนอ้ ย 1 กล่มุ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
ง สาหรับครวั เรอื นสัมมาชีพชมุ ชน ชน นางจฑุ ามาศ คงขวัญ าบลกาหลง อาเภอศรสี าคร จงั หวัดนราธวิ าส ความสามารถในการพัฒนาตนเอง พฒั นาด้วยตนเอง (ระบุ ขอความร่วมมือ/ ผูร้ ับผิดชอบ ระยะเวลาดาเนนิ การ วิธกี าร/กิจกรรมในการ สนับสนนุ จาก บคุ คล/หน่วยงาน) พัฒนาดว้ ยตนเอง (ระบุ พัฒนา และเรือ่ งทจี่ ะขอ วิธกี าร/กิจกรรมในการ ความรว่ มมอื และ พฒั นา สนบั สนุน นที่ มกี ำรประกอบอำชีพ ตนเอง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 และมรี ำยไดท้ เี่ พยี งพอ ม.ค. – พ.ค. 64 ร จดั ทำบัญชรี ำยรบั - ตนเอง/ พช. ตนเอง รำยจำ่ ยทุกวัน ครัวเรอื นมกี ำรออมเงนิ ตนเอง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 กับกลมุ่ องคก์ รในชมุ ชน หนา้ 4
ท่ี ดา้ นองคป์ ระกอบ แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนาตนเอง 2 มีความสัมพันธท์ ่ดี ี 2.1 สมำชิกในครวั เรือนมวี ถิ ี สนับสนนุ ใหส้ มำชิกครัวเรือนแสดงควำมคดิ เห็นและ ชีวติ ประชำธปิ ไตยและทำ ส่วนร่วมในกำรตัดสินใจในทุกเรื่อง กจิ กรรมร่วมกันอยำ่ งสม่ำเสมอ 2.2 สมำชิกในครัวเรอื นไมม่ กี ำร ฝกึ ใหส้ มำชิกเป็นคนใจเยน็ มเี หตุผลและใหอ้ ภัยซึง่ ใช้ควำมรนุ แรง และกัน 2.3 สมำชิกในครัวเรอื นเปน็ ไปประสำนกลุ่มองค์กรในชุมชน เพ่ือขอสมัครเป็น สมำชกิ กลมุ่ องคก์ รในชมุ ชน สมำชกิ กลุ่มองค์กรชมุ ชน เชน่ กลมุ่ สตรี กองทนุ หมูบ่ ้ำ อยำ่ งน้อย 1 กลุ่ม/องค์กร เพือ่ กำรผลติ และกองทุนพฒั นำบทบำทสตรี เพอ่ื เขำ้ ถ แหลง่ ทนุ และพัฒนำด้ำนอำชีพอน่ื ๆ ๓ มสี ภาพแวดล้อมเหมาะสม 3.1 มปี ้ำยครวั เรอื นและจัด จดั ทำปำ้ ยครวั เรือนจำกไม้ท่ีมใี นชุมชนและช่วยกันม ระเบียบบำ้ นให้สะอำดถูก ตัดแตง่ ใหเ้ ป็นปำ้ ยครวั เรอื นที่สวยงำม สุขลกั ษณะ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
ความสามารถในการพฒั นาตนเอง พฒั นาด้วยตนเอง (ระบุ ขอความรว่ มมือ/ ผูร้ บั ผิดชอบ ระยะเวลาดาเนินการ วธิ ีการ/กจิ กรรมในการ สนบั สนนุ จาก บคุ คล/หนว่ ยงาน) พฒั นาด้วยตนเอง (ระบุ พัฒนา และเรือ่ งท่จี ะขอ วธิ ีการ/กจิ กรรมในการ ความร่วมมอื และ พฒั นา สนับสนนุ ะมี สมำชิกในครวั เรอื น ตนเอง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 รว่ มกันปฏิบัติหนำ้ ทข่ี อง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 ตนเอง งกัน สมำชกิ ในครวั เรือนมี ตนเอง ตนเอง/ พช. ควำมเคำรพกนั และมี ควำมผกู พนั ธ์กนั ประสำนกลุ่มองค์กรเพ่ือ ำน เข้ำถึงแหล่งทนุ ถึง มำ ทำควำมสะอำด ตนเอง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 บำ้ นเรือนให้ถูก สขุ ลักษณะ หนา้ 5
ท่ี ด้านองคป์ ระกอบ แนวทาง/กจิ กรรมการพัฒนาตนเอง 3.2 มีกำรบรหิ ำรจดั กำรขยะ กำรฝกึ คดั แยกขยะเพอ่ื ขำย หรอื นำขยะมำใช้ประโย อยำ่ งเหมำะสมไม่เป็นมลพษิ ต่อ สูงสุด อำทิ เอำขยะเปียกมำทำปยุ๋ หมักหรอนำขวดน้ำม สิ่งแวดล้อม ทำดอกไมป้ ระดิษฐ์ ฯลฯ 3.3 เป็นที่พึง่ ของคนในชมุ ชน ฝกึ พูดในทชี่ มุ ชน และถำ่ ยทอดองคค์ วำมรดู้ ำ้ นอำช ใหค้ นในชุมชน อำทิ กำรสำธิตอำชพี ของตนเองให้คนใน ชุมชน นำไปทำทบ่ี ้ำนของตน 2 ๑.ไม่ติดยำเสพติด ใหส้ มำชกิ ใช้เวลำว่ำงให้เป็นประโยชน์ อำทิ เลน่ กีฬ ไม่ ทำอำชพี เสริม ปลกู ผักสวนครัวรวั้ กนิ ไดเ้ พื่อสร้ำงรำยได ๒.ไมม่ ีหนนี้ อกระบบ ตรวจสอบหนีส้ นิ ของตนเอง หำกไม่พอชำระได้ใหห้ แนวทำงกำรลดคำ่ ใช้จ่ำย และเพมิ่ รำยได้ใหก้ บั ครอบค เพอื่ ปลดหน้ี รวม 3 ดำ้ น ๙ องค์ประกอบ ๑๑ ตวั บง่ ชี้ ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
ความสามารถในการพฒั นาตนเอง ระยะเวลาดาเนินการ พฒั นาด้วยตนเอง (ระบุ ดาเนนิ ผรู้ ับผิดชอบ พฒั นาด้วยตนเอง วิธกี าร/กิจกรรมในการ การแล้ว (ระบุวิธีการ/กจิ กรรม พฒั นา ตนเอง ในการพฒั นา) ยชน์ ฝึกวนิ ยั ให้กับสมำชกิ ใน ตนเอง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 มำ ครวั เรือนในกำรคดั แยก ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 ขยะก่อนท้งิ ชีพ ใหค้ วำมรกู้ ับครัวเรือน น ตำ่ งๆในชมุ ชน ฬำ สมำชกิ ในครัวเรอื นใช้ ตนเอง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 ด้ เวลำว่ำงให้เป็น ประโยชน์ หำ สมำชกิ ในครวั เรือน ตนเอง ตนเอง ม.ค. – พ.ค. 64 ครวั ร่วมกนั ออมเงนิ ทุกวัน หนา้ 6
ท่ี ด้านองคป์ ระกอบ แบบเอกสารรายงานผลการพฒั นาตน ชอ่ื – สกลุ นางจ แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนาตนเอง 1 มีสมั มาชพี ใหท้ กุ หนว่ ยงำนและทุกภำคสว่ นเขำ้ มำสอนแนะอำชพี ใหต้ ำมควำมเหมำะสมและควำมถนดั ของสมำชกิ ใน 1.1 ครวั เรอื นประสบ ครวั เรอื นจนสำมำรถนำมำเปน็ รำยได้หลกั ของครอบครัว ผลสำเรจ็ ในกำรประกอบ ให้ จนท.พัฒนำชมุ ชน สอนแนะวิธกี ำรบนั ทกึ บัญชี สมั มำชพี สำมำรถเปน็ ครัวเรือนจนสำมำรถทำไดด้ ้วยตนเอง แบบอย่ำงได้ 1.2 ครวั เรอื นมกี ำรจดั ทำ บญั ชี ครวั เรอื น 1.3 ครัวเรือนมกี ำรออม ให้สมำชกิ สมคั รเขำ้ เป็นสมำชิกกลุ่มออมทรัพยเ์ พ่ือกำร ผลติ หรอื กลมุ่ องคก์ รอน่ื ๆในชมุ ชน เพอ่ื สง่ เงนิ สัจจะสะสม เป็นประจำทุกเดือน หรอื มีกำรนำเงินที่เหลอื จำกหกั ค่ำใช้จ่ำยในบำ้ นแลว้ มำเป็นเงินฝำกธนำคำร ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
นเอง สาหรบั ครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน จฑุ ามาศ คงขวัญ ผลการดาเนินงาน พฒั นาตนเอง แนบหลกั ฐานประกอบ ครบ ไมค่ รบ ยังไม่ ดาเนนิ ดาเนนิ การ การแลว้ / แนบภำพประกอบอำชีพของ / ครวั เรอื น / แนบสำเนำภำพถำ่ ยสมุดบัญชี / ครวั เรือน / ภำพสำเสมุดสจั จะสะสมของ / สมำชิกครวั เรือน หรอื สมุดเงินฝำก ธนำคำรยอดปจั จุบนั หนา้ 7
ที่ ดา้ นองค์ประกอบ แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนาตนเอง 2 มีความสัมพนั ธ์ทด่ี ี 2.1 สมำชิกในครวั เรือนมีวิถี หัวหน้ำครัวเรอื นเปดิ โอกำสให้สมำชกิ ในครัวเรือนได้ ชีวิตประชำธปิ ไตยและทำ แสดงควำมคดิ เหน็ และมสี ่วนรว่ มในกำรตัดสนิ ใจในทกุ ๆ กจิ กรรมรว่ มกนั อย่ำงสมำ่ เสมอ กจิ กรรม 2.2 สมำชิกในครวั เรอื นไมม่ ี หวั หน้ำครัวเรอื นต้องมเี หตผุ ล ใจเยน็ และให้อภยั กำรใชค้ วำมรนุ แรง และให้เกยี รติแกส่ มำชกิ ในครวั เรอื นทุกคร้งั ทม่ี ปี ญั หำและ หำแนวทำงแกไ้ ขปัญหำรว่ มกนั 2.3 สมำชิกในครวั เรอื นเปน็ ให้หัวหน้ำครัวเรอื น ประสำนกลุ่มองคก์ รตำ่ งๆท่ีมอี ยู่ใน สมำชิกกลมุ่ องค์กรในชมุ ชน ชมุ ชน เพอื่ เขำ้ เปน็ สมำชกิ ในรูปแบบกำรประกอบอำชพี อยำ่ งน้อย 1 กลุ่ม/องคก์ ร หรอื กำรรว่ มกจิ กรรมสวสั ดิกำรของชุมชน เพ่อื ทำ ประโยชน์ใหช้ มุ ชน ๓ มีสภาพแวดลอ้ มเหมาะสม 3.1 มปี ำ้ ยครัวเรือนและจัด ใหส้ มำชิกในครัวเรอื นรว่ มกันทำควำมสะอำดบ้ำนและ ระเบยี บบำ้ นให้สะอำดถกู จัดทำปำ้ ยครวั เรือนจำกวสั ดเุ หลือใช้ หรือตน้ ไม้ที่มอี ยใู่ น ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
ผลการดาเนนิ งาน แนบหลักฐานประกอบ พฒั นาตนเอง ยังไม่ ดาเนนิ ครบ ไมค่ รบ ดาเนินการ การแลว้ / ภำพถ่ำยกำรทำกจิ กรรมร่วมกัน / ของสมำชิกในชุมชน เชน่ กำรปลูกผกั สวนครัว กำรทำบุญ ฯลฯ / มภี ำพกิจกรรมทสี่ มำชกิ เขำ้ รว่ ม / กิจกรรมทำงศำสนำ / ภำพกิจกรรมหรือมรี ำยช่ือเป็น / สมำชกิ กลุม่ องค์กรในชมุ ชน / มปี ้ำยครัวเรอื นและภำพถำ่ ยในและ / บรเิ วณบำ้ นของครวั เรือน หนา้ 8
สขุ ลกั ษณะ ชุมชน ท่ี ด้านองคป์ ระกอบ แนวทาง/กิจกรรมการพัฒนาตนเอง 3.2 มกี ำรบรหิ ำรจดั กำรขยะ ให้ จนท.พฒั นำชุมชนมำให้ควำมรู้เรื่องกำรคัดแยกขยะ อย่ำงเหมำะสมไมเ่ ป็นมลพิษตอ่ แก่ครวั เรอื นสัมมำชพี ชุมชน ส่ิงแวดล้อม 3.3 เปน็ ท่ีพง่ึ ของคนใน ครัวเรอื น ใหค้ ำปรกึ ษำ แกค่ รัวเรอื นข้ำงเคยี ง ชุมชน เพ่ือขยำยผลในกำรประกอบอำชพี ให้คนในชุมชน ตอ่ ไป 2 ๑.ไม่ตดิ ยำเสพตดิ สมำชกิ ในครวั เรือนปฏญิ ำณตนวำ่ ไมเ่ กย่ี วข้อง ไม่ กบั ยำเสพติดทกุ รูปแบบ และใชเ้ วลำวำ่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ๒.ไม่มหี นนี้ อกระบบ หำ้ มไมใ่ หส้ มำชกิ ในครัวเรือนไปกยู้ ืมเงินนอก รวม ๓ ด้าน ๙ องค์ประกอบ ระบบ เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ให้มหี นส้ี นิ เพ่มิ มำกข้นึ ๑๑ ตัวบง่ ช้ี ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
ผลการดาเนินงาน แนบหลักฐานประกอบ พฒั นาตนเอง มภี ำพกิจกรรมกำรนำขยะมำ ยงั ไม่ ดาเนิน ใชป้ ระโยชนห์ รอื กำรคดั แยกขยะใน ครบ ไม่ครบ ดาเนนิ การ การแล้ว ครวั เรือน / / / / / ภำพกจิ กรรม กำรชว่ ยเหลือ / และให้คำแนะนำครัวเรือนข้ำงเคียงที่ ประสบปัญหำดำ้ นกำรประกอบ อำชพี / มภี ำพกจิ กรรมกำรเล่นกีฬำ กำรใชเ้ วลำให้เปน็ ประโยชนข์ อง สมำชิกในครัวเรือน / มหี ลกั ฐำนจำกข้อมลู จปฐ ของครวั เรือนวำ่ ไม่มีหนนี้ อกระบบ หนา้ 9
แบบสรปุ ประเมินผลสาหรบั คณะอนกุ รรมการตรวจประเม และคณะกรรมการรับรองมาตรฐา ช่ือผู้รบั การประเมนิ นางจฑุ ามาศ คงขวญั ท่ีอยู่ ๒๘/๓ ท่ี ดา้ น/องคป์ ระกอบ ตัวบง่ ช้กี ารประเมิน 1 มีสมั มาชีพ ครัวเรอื นมีอำชีพสำมำรถเลย้ี งดคู รอบครัวได้ 1.1 ครวั เรอื นประสบผลสำเร็จ ในกำรประกอบสมั มำชพี มบี ญั ชคี รัวเรอื นทท่ี ำอยำ่ งสมำ่ เสมอ สำมำรถเปน็ แบบอยำ่ งได้ ครวั เรือนสะสมเงินสัจจะกบั กลุ่มองคก์ รในชุมชน อย่ำง 1.2 ครัวเรอื นมีกำรจดั ทำบญั ชี ครัวเรือนมคี วำมสำมคั คี แบง่ งำนแบ่งหนำ้ ท่ีในกำรทำงำ ครวั เรือน 1.3 ครัวเรือนมกี ำรออม ไม่ใชค้ วำมรนุ แรงในครอบครัว มีความสัมพนั ธท์ ีด่ ี เปน็ สมำชิกกลมุ่ องคก์ รชมุ ชน 2 2.1 สมำชิกในครัวเรือนมวี ิถี ชวี ิตประชำธิปไตยและทำ กิจกรรมรว่ มกันอยำ่ งสมำ่ เสมอ 2.2 สมำชกิ ในครัวเรอื นไมม่ ี กำรใช้ควำมรนุ แรง 2.3 สมำชิกในครวั เรือนเปน็ สมำชกิ กลุม่ องคก์ รในชมุ ชน อยำ่ งน้อย 1 กลุ่ม/องค์กร ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
มินเพอื่ การรับรองมาตรฐานการพัฒนาชมุ ชนระดับอาเภอ ข้อคดิ เห็น/ านการพฒั นาชุมชนระดับจงั หวดั ขอ้ เสนอแนะ ๓๒ หมู่ที่ ๔ ตาบลกาหลง อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เพิ่มเตมิ สรุปรายงานผล/ เอกสารเชิง สรุปผลการประเมนิ ประจกั ษ์ ครบ ไมค่ รบ ผ่าน ไมผ่ า่ น // // งน้อย 1 กลมุ่ / / ำน / / // // หนา้ 10
ท่ี ดา้ น/องค์ประกอบ ตัวบง่ ช้กี ารประเมิน มปี ำ้ ยครวั เรอื น บำ้ นถูกสขุ ลกั ษณะ 3 มสี ภาพแวดลอ้ มเหมาะสม มีกำรคดั แยกขยะ/นำขยะมำรไี ซเคลิ 3.1 มปี ำ้ ยครัวเรือนและจดั เปน็ ที่ปรึกษำใหแ้ ก่ครัวเรอื นอน่ื ๆ ระเบียบบำ้ นให้สะอำดถกู สขุ ลักษณะ 3.2 มีกำรบรหิ ำรจดั กำร ขยะอยำ่ งเหมำะสม ไมเ่ ป็นมลพิษต่อสิง่ แวดล้อม 3.3 เป็นทพ่ี งึ่ ของคนในชุมชน 2ไม่ 1. ไมต่ ิดยำเสพตดิ สมำชิกในครัวเรอื นไมเ่ กยี่ วข้องกับยำเสพตดิ 2. ไมม่ หี นี้นอกระบบ สมำชิกในครวั เรือนไมม่ กี ำรกู้ยมื เงนิ นอกระบบและไม่ม รวม 3 ดา้ น 11 องคป์ ระกอบ 1๐ ตัวบ่งช้ี ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
รายงานผล/ สรปุ ผลการประเมิน ขอ้ คดิ เห็น/ เอกสารเชงิ ขอ้ เสนอแนะ ประจักษ์ ผา่ น ไมผ่ ่าน เพมิ่ เตมิ ครบ ไม่ครบ / / // // มีหนส้ี นิ ลน้ พ้นตวั // // หนา้ 11
สรปุ ผลกำรตรวจประเมนิ ในภำพรวม ( ) ผ่ำนกำรประเมินผลกำรพัฒนำตนเอง จำนว ( ) ไม่ผ่ำนกำรประเมนิ ผลกำรพฒั นำตนเอง จำนว ควำมเหน็ ของคณะอนกุ รรมกำรตรวจประเมินฯ ( ) ควรรับรอง ( ) ไม่ควรรับรองเพรำะ............................................................................ (ลงช่อื ).................................................................................... ( วันที.่ ..................เดือน............................... ควำมเห็นของคะกรรมกำรรับรองมำตรฐำนฯ ( ) รบั รอง ( ) ไม่รับรองเพรำะ................................................................................... (ลงชอ่ื ).................................................................................... วันท.่ี ..................เดือน............................... ระบบมาตรฐานงานพฒั นาชุมชนประเภทครัวเรือนสมั มาชีพชุมชน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110