ชิโครรี (ใบ) 42 Chicory (leaf) รูปภาพ สมุนไพรทมี ี ฟอสฟอรัส รปู ภาพ ตน้ หอม (ใบ) Onion (leaf) เมล็ดทานตะวัน Sunflower (seed) ดอกบัว Water Lotus สมุนไพรที ควรหลีกเลียง ใน ผูป้ ่วยโรคไต ปักคี้ สมุนไพรจนี โบราณ (Astragalus)
43 บาร์เบอร์ร่ี Barberry เหลอื งชชั วาล (เลบ็ วิฬาร์) Cat's Claw ขึ้นฉา่ ย Apium Graveolens ตน้ หญา้ หนวดแมว Java Tea Leaf หญ้าหางม้า Horsetail รากชะเอมเทศ Licorice Root
44 รากออรกี อนเกรฟ Oregon Grape Root เพนนรี อยลั Pennyroyal รากพาร์สลีย์ Parsley Root โยฮมิ บี Yohimbe 13.4 การคานวณพลงั งานจากนา้ ยาลา้ งไตผา่ นชอ่ งทอ้ ง CAPD ความเขม้ ขน้ ของน้ายาลา้ งไต Glucose/2 L absorption rate calories/2 L (%w/v) (g) (~60%) (Kcal) 1.5% 30 18 67 2.5% 50 30 110 4.25% 85 51 190 *Kcal คดิ จาก Glucose 1 g = 3.7 kcal
13.โรคเบาหวาน (DM) 13.1 คา่ ในการวนิ จิ ฉัยและเป้าหมายในการตดิ ต ระ ระดับพลาสมากลูโคสและ A1C ปกติ im g พลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร <100 มก./ดล. (FPG) 1 พลาสมากลูโคสท่ี 2 ชวั่ โมงหลัง <140 มก./ดล. ดื่มน้าตาลกลโู คส 75 กรัม 2 h- PG (OGTT) พลาสมากลูโคสท่ีเวลาใดๆ ในผู้ที่ - มีอาการชดั เจน ฮีโมโกลบินเอวนั ซี (A1C) < 5.7 % *IFG เป็นภาวะระดบั นา้ ตาลในเลอื ดขณะอดอาหารผิดปกติ
45 ตามโรคเบาหวาน โรคเบาหวาน ะดับน้าตาลในเลอื ดทเี พมิ ความเสียงการเป็น ≥126 มก./ เบาหวาน ดล. mpaired fasting impaired glucose glucose (IFG*) tolerance (IGT**) 100-125 มก./ดล. - - 140-199 มก./ดล. ≥200 มก./ ดล. -- ≥200 มก./ 5.7-6.4% ดล. ≥6.5%
**IGT เปน็ ภาวะระดบั น้าตาลในเลอื ดสูงหลงั ไดร้ ับกลโู คส
46
13.2 เปา้ หมายในการติดตามโรคเบาหวาน - เป้าหมายการควบคุมเบาหวานสาหรับผ้ใู หญ่ การควบคมุ เบาหวาน ควบคุมเข้ม ระดับน้าตาลในเลือดขณะอดอาหาร >70-110 ระดบั น้าตาลในเลือดหลงั อาหาร 2 ชั่วโมง <140 ม ระดบั นา้ ตาลในเลือดสูงสุดหลังอาหาร - A1C (% of total hemoglobin) <6.5 - เป้าหมายในการควบคุมระดับน้าตาลในเลือดสาห สภาวะผปู้ ่วยเบาหวานสูงอายุ ผู้มสี ขุ ภาพดี ไม่มีโรครว่ ม ผู้มโี รคร่วม ชว่ ยเหลือตัวเองได้ ผปู้ ว่ ยท่ตี อ้ งไดร้ ับการช่วยเหลอื มีภาวะเปราะบาง มีภาวะสมองเสื่อม
47 เป้าหมาย มงวดมาก ควบคุมเข้มงวด ควบคุมไมเ่ ข้มงวด มก./ดล. 80-130 มก./ดล 140-170 มก./ดล มก./ดล - - <180 มก./ดล - 5% <7.0% 7.0-8.0% หรับผู้ปว่ ยเบาหวานสูงอายุ และผปู้ ่วยระยะสุดท้าย เป้าหมายระดับ A1C <7% 7.0-7.5% ไม่เกนิ 8.5% ไม่เกนิ 8.5%
ผ้ปู ่วยท่คี าดวา่ จะมชี วี ิตอยู่ได้ไมน่ าน หลกี เล่ยี
48 ยงภาวะนา้ ตาลในเลอื ดสูงจนทาให้เกิดอาการ
49 - เปา้ หมายการควบคุมปัจจยั เสี่ยงของภาวะแทรกซอ้ นทีห่ ลอดเลือด การควบคมุ /การปฏิบตั ิตัว เป้าหมาย ระดับไขมันในเลือด* ระดบั ไขมนั ในเลือด ระดบั แอล ดี แอลค <100 มก./ดล เลสเตอรอล* <150 มก./ดล. ระดับไตรกลเี ซอไรด์ ≥40 มก./ดล ระดบั เอช ดี แอล คอเลสเตอรอล: ผู้ชาย ≥ 50 มก./ดล ผหู้ ญิง ความดนั โลหิต** ความดนั โลหติ ซิสโตลิค (systolic BP) <140 มม.ปรอท ความดนั โลหิตไดแอสโตลคิ (diastolic BP) <90 มม.ปรอท นา้ หนกั ตัว ดชั นีมวลกาย 18.5-22.9 กก./ม.² หรือใกลเ้ คยี ง รอบเอวจาเพาะบุคคล (ทั้งสองเพศ)*** ไม่เกนิ สว่ นสงู หารดว้ ย 2 รอบเอว : ผ้ชู าย <90 ซม. ผ้หู ญงิ <80 ซม. การสบู บุหร่ี ไม่สูบบหุ รแ่ี ละหลีกเลย่ี งการรับ ควนั บหุ ร่ี การออกกาลงั กาย ตามคาแนะนาของแพทย์ * ถ้ามีโรคหลอดเลือดหัวใจหรอื มีปัจจยั เสย่ี งของโรคหลอดเลือดหัวใจหลายอยา่ ง ร่วมดว้ ยควรควบคมุ ให้ LDL-C ตา่ กว่า 70 มก./ดล. ** ผู้ป่วยท่ีมคี วามเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดนั โลหติ ซสิ โต ลิคไม่ควรตา่ กว่า 110 มม.ปรอท ผปู้ ่วย ทีอ่ ายุน้อยกว่า 40 ปหี รือมีภาวะแทรกซ้อน ทางไตรว่ มด้วยควรควบคุมความดันโลหิตใหน้ ้อยกว่า 130/80 มม.ปรอท ถ้าไมท่ า ใหเ้ กดิ ภาวะแทรกซ้อนของการรักษา
50 - เปา้ หมายของระดบั น้าตาลในเลือดของผูป้ ่วยเบาหวานขณะ ตัง้ ครรภ์ เวลา ระดับน้าตาลในเลือด (มก./ดล.) กอ่ นอาหารเชา้ อาหารมอ้ื อนื่ และก่อนนอน 60-95 หลงั อาหาร 1 ชั่วโมง <140 หลงั อาหาร 2 ชั่วโมง <120 เวลา 02.00 – 04.00 น. >60 ทม่ี า : แนวทางเวชปฏบิ ัตสิ าหรบั โรคเบาหวาน 2559 13.3 การตรวจวนิ จิ ฉัยโรคและตรวจคัดกรองเบาหวานขณะตั้งครรภ์ - เกณฑ์ของ Carpenter และ Coustan หญงิ ตง้ั ครรภด์ ่มื นา้ ทล่ี ะลายนา้ ตาลกลโู คส 100 กรัม (100 gm OGTT) เวลา ระดบั น้าตาลในเลอื ด (มก./ดล.) กอ่ นด่ืมน้าตาล 100 กรมั 95 หลังดื่มนา้ ตาล 1 ช่ัวโมง 180 หลงั ดมื่ น้าตาล 2 ชัว่ โมง 155 หลังด่มื นา้ ตาล 3 ช่วั โมง 140 *ตัง้ แต่ 2 ค่าขึน้ ไปจะถือวา่ เป็นโรคเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์ - เกณฑ์ของ International Diabetes Federation (IDF) หญงิ ต้ังครรภด์ มื่ นา้ ท่ีละลายนา้ ตาลกลูโคส 75 กรัม (75 gm OGTT) เวลา ระดบั นา้ ตาลในเลอื ด (มก./ดล.) กอ่ นดื่มนา้ ตาล 100 กรมั 92 หลังดม่ื นา้ ตาล 1 ชว่ั โมง 180 หลงั ดม่ื นา้ ตาล 2 ชัว่ โมง 153 *ตั้งแต่ 1 ค่าขน้ึ ไปจะถือว่าเป็นโรคเบาหวานขณะต้ังครรภ์
51 13.4 การตรวจระดับนา้ ตาลในเลอื ดดว้ ยตนเอง 14.4.1 ขอ้ บง่ ชก้ี ารทา SMBG 1. ผู้ปว่ ยเบาหวานทมี่ ีความจาเป็นในการทา SMBG 1.1 ผู้ที่ตอ้ งการคมุ เบาหวานอย่างเข้มงวด ได้แก่ ผู้ป่วยเบาหวานที่มคี รรภ์ (pre-gestational DM) และผู้ปว่ ยเบาหวานขณะต้ังครรภ์ (gestational DM) 1.2 ผู้ปว่ ยเบาหวานชนิดที่ 1 1.3 ผ้ปู ่วยเบาหวานทีม่ ีภาวะน้าตาลตา่ ในเลอื ดบ่อยๆ หรือ รุนแรง หรือมี ภาวะน้าตาลตา่ ในเลือด โดยไมม่ ีอาการเตือน 2. ผูป้ ว่ ยเบาหวานที่ควรทา SMBG 2.1 ผูป้ ่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 ซง่ึ ได้รับการรกั ษาดว้ ยการฉดี อนิ ซูลนิ 3. ผู้ปว่ ยเบาหวานที่อาจพจิ ารณาให้ทา SMBG 3.1 ผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 ซ่งึ ไม่ไดฉ้ ดี อนิ ซลู ินแต่เบาหวานควบคมุ ไม่ได้ พิจารณาให้ทา SMBG เมอื่ ผปู้ ว่ ย และ/หรือผูด้ ูแลพร้อมทีจ่ ะเรียนรู้ ฝกึ ทักษะ และ นาผลจาก SMBG มาใช้ปรับเปล่ยี น พฤตกิ รรมเพ่ือควบคุมระดับน้าตาลในเลือดให้ ไดต้ ามเป้าหมาย 3.2 ผู้ทีเ่ พง่ิ ไดร้ บั การวนิ ิจฉัยว่าเปน็ เบาหวาน เพ่อื เรียนรู้ในการดูแลตนเอง ทง้ั เร่ืองอาหาร การออกกาลังกาย หรือไดย้ าลดระดบั น้าตาลในเลือดใหเ้ หมาะสม กบั กิจวตั รประจาวัน 14.4.2 ความถีข่ องการทา SMBG ความถ่ขี องการทา SMBG 1. ผูป้ ่วยเบาหวานระหว่างการตง้ั ครรภค์ วรทา SMBG ก่อนอาหารและ หลังอาหาร 1 หรอื 2 ชว่ั โมง ทั้ง 3 มื้อ และก่อนนอน (วนั ละ 7 คร้งั ) อาจลด จานวนคร้ังลงเม่ือควบคมุ ระดับน้าตาลในเลอื ดไดด้ ี 2. ผู้ป่วยเบาหวานชนดิ ท่ี 1 ที่ได้รบั การรักษาด้วย insulin pump ควรทา SMBG วันละ 4-6 คร้งั
52 3. ผ้ปู ว่ ยเบาหวานทฉี่ ีดอินซูลนิ ตั้งแต่ 3 คร้งั ขึ้นไป ควรทา SMBG ก่อน อาหาร 3 มอ้ื ทกุ วนั ควรทา SMBG กอ่ นนอน และหลงั อาหาร 2 ชม.เป็นคร้งั คราว หากสงสยั ว่ามภี าวะน้าตาลตา่ ในเลือดกลางดกึ หรือมี ความเสยี่ งที่จะเกิด ควรตรวจ ระดับน้าตาลในเลือดช่วงเวลา 02.00-04.00 น. 4. ผปู้ ่วยเบาหวานท่ีฉดี อินซูลินวนั ละ 2 ครงั้ ควรทา SMBG อย่างนอ้ ยวนั ละ 2 คร้ัง โดยตรวจกอ่ น อาหารเชา้ และเย็น อาจมีการตรวจก่อนอาหารและหลัง อาหารมื้ออื่นๆ เพ่ือดูแนวโน้มการเปลยี่ นแปลงของ ระดับน้าตาลในเลือด และใช้ เป็นขอ้ มลู ในการปรบั ยา 5. ควรทา SMBG เม่ือสงสยั วา่ มภี าวะนา้ ตาลต่าในเลือดและหลังจากให้ การรกั ษาจนกว่าระดบั น้าตาล ในเลอื ดจะกลบั มาปกติหรอื ใกลเ้ คยี งปกติ 6. ควรทา SMBG กอ่ นและหลังการออกกาลังกาย หรือกจิ กรรมทีม่ ีความ เสีย่ ง เชน่ การขับรถ ในผปู้ ่วย เบาหวานทไ่ี ด้รับยาซ่งึ มคี วามเสี่ยงทจ่ี ะเกิดภาวะ น้าตาลต่าในเลอื ด 7. ในภาวะเจบ็ ปว่ ยควรทา SMBG อยา่ งนอ้ ยวันละ 4 ครั้ง ทุก 4 ถงึ 6 ช่ัวโมง หรือกอ่ นม้ืออาหาร เพื่อคน้ หาแนวโน้มท่ีจะเกิดภาวะนา้ ตาลตา่ ในเลือดหรอื ระดับน้าตาลในเลือดสูงเกินควร 8. ในผปู้ ่วยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ซง่ึ ฉดี อนิ ซลู นิ กอ่ นนอน ควรทา SMBG กอ่ น อาหารเชา้ ทกุ วนั หรืออยา่ ง น้อย 3 ครัง้ /สัปดาห์ในชว่ งท่ีมกี ารปรบั ขนาดอินซลู นิ อาจมกี ารทา SMBG กอ่ นและหลังอาหารม้ืออื่นๆ สลบั กัน เพ่อื ดูแนวโน้มการ เปล่ียนแปลงของระดับน้าตาลในเลือด ถา้ ยงั ไม่ได้ค่า A1C ตามเปา้ หมาย ท่มี า: แนวทางเวชปฏบิ ตั ิสาหรับโรคเบาหวาน 2559
53 13.5 ชนิดของ Insulin แบ่งเป็น 4 ชนิดตามระยะเวลาออกฤทธ์ิ ไดแ้ ก่ 1. ฮิวแมนอินซูลินออกฤทธส์ิ น้ั (short acting หรือ regular human insulin, RI) 2. ฮิวแมนอินซูลินออกฤทธิ์นานปานกลาง (intermediate acting human insulin, NPH) 3. อินซลู นิ อะนาล็อกออกฤทธิ์เร็ว (rapid acting insulin analog, RAA) เป็น อินซูลินที่เกดิ จากการ ดัดแปลงกรดอะมิโนทสี่ ายของฮิวแมนอนิ ซูลนิ 4. อินซูลนิ อะนาล็อกออกฤทธ์ิยาว (long acting insulin analog, LAA) เป็น อินซูลินรุ่นใหม่ท่ีเกิดจาก การดัดแปลงกรดอะมิโนท่ีสายของฮิวแมน อินซูลิน และเพ่ิมเติมกรดอะมิโน หรือเสริมแต่งสายของอินซูลินด้วย กรด ไขมนั (Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017) ศพั ท์ทางเภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic) 1. Onset คอื ระยะเวลาตั้งแตใ่ ห้ยาไปจนกระทง่ั ถึงยาเร่ิมออกฤทธ์ิ 2. Peak คือ ระยะเวลาตง้ั แต่ให้ยาไปจนถงึ ระดบั สงู สดุ ของยา ชว่ ง peak เป็นชว่ งท่ตี ้องกังวลกับการเกิด hypoglycemia ให้มาก 3. Duration คอื ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิท์ ้ังหมด
54
55 (ภวนิ ทพ์ ล, 2559)
56 13.6 ภาวะน้าตาลในเลอื ดสงู ชนดิ Diabetic ketoacidosis คือเป็นภาวะฉุกเฉินท่ีมีระดับน้าตาลในเลือดสูงและเกิดภาวะกรดเมตะบอลิค จากการที่มีกรดคีโตนค่ังในร่างกาย ภาวะน้ีพบได้ทั้งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี1และ ชนดิ ท่ี2 (รพีพร โรจน์แสงเรอื ง) 13.6.1 อาการและอาการแสดง อาการทีเกดิ จากระดบั นา้ ตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) เช่น ดื่มน้า บ่อย (polydipsia), ปัสสาวะบ่อย (polyuria), ปัสสาวะรดท่ีนอน (nocturnal enuresis) กินบอ่ ยและหิวบอ่ ย, น้าหนักลด (weight loss), อ่อนเพลีย (weakness) อาการแสดงของDKA เม่ือถึงจุดท่ีร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลได้หรือมี ภาวะเครียด(stress) บางอย่างมาเป็นปัจจัยเส่ียงทาให้เกิดอาการได้แก่ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน หายใจหอบลึก (Kussmaul breathing) เนื่องจากภาวะ metabolic acidosis หมดสติ (coma) อาการของภาวะ dehydration เช่น ความดันโลหิตต่า ชพี จรเตน้ เร็ว ช็อค ลมหายใจมีกล่ิน acetone (พัฒน์ มหาโชค เลิศวัฒนา.2544) 13.6.2 ปจั จยั ชกั นาได้แก่ 1. การขาดยาลดระดบั นา้ ตาล 2. มีโรคที่ก่อภาวะเครียดต่อร่างกาย เช่น ภาวะติดเชื้อ การได้รับอุบัติเหตุ หวั ใจวาย โรคหลอด เลือดสมอง ภาวะกลา้ มเนอ้ื หวั ใจขาดเลือด 3. ได้รับยาบางชนดิ เชน่ thiazide, steroid 13.6.3 สาเหตุ เกิดข้ึนได้ทั้งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่1และชนิดท่ี2 แต่มักเกิดขึ้นในผู้ป่วย เบาหวานชนิดที่ 1ได้ง่ายและบ่อยกว่าเนื่องจากมีภาวะขาดอินซูลินท่ีรุนแรงกว่า (รพพี ร โรจนแ์ สงเรือง, มปป)
57 13.6.4 เกณฑ์การวนิ ิจฉยั ภาวะน้าตาลในเลือดสงู ชนดิ diabetic 13.6.5 การดแู ลรักษาเม่ือผ่านพน้ ภาวะ DKA 1. การหยุด fluid replacement และเริมกินอาหาร ผู้ป่วยไม่ควรรับประทาน อาหาร (ยกเว้นอมน้าแข็งเป็นคร้ังคราว กรณีรู้สึกตัวดี) จนกระทั่งภาวะ metabolic ของร่างกายดีขึ้น คือ blood glucose <300 mg/dl, pH > 7.3 และ serum HCO3 > 15 mmol/L และไม่มีภาวะ ketosis 2. การหยุด insulin infusion ควรหยุดเม่ือผู้ป่วยมีการรู้สึกตัวดี และภาวะ metabolic ดขี ้ึน คือ blood glucose < 300 mg/dl, pH > 7.3 และ serum HCO3 > 15 mmol/L โดยฉีดยา regular insulin subcutaneous ขนาด 0.25 – 0.5 unit/kg ก่อนมื้ออาหาร และหยุด insulin infusion หลังจากฉีดยาหน่ึง ชว่ั โมง 3. การให้ subcutaneous regular insulin ในมอ้ื ต่อไป กรณีผู้ป่ว ยใหม่ เร่ิมให้ subcutaneous regular insulin 0. 25 – 0. 5 unit/kg/dose ก่อนมื้ออาหาร 3 ม้ือ และก่อนนอน 1 – 2 วัน วันถัดไปเมื่อไม่มี acidosis แล้วจึงเร่ิมให้ regular insulin ผสมกับ intermediate acting insulin
58 (NPH) ผสมก่อนอาหารเช้า โดยให้ total dose insulin 0.7 – 1.0 unit/kg/day แบง่ ให้ 2 ใน 3 ส่วนกอ่ นอาหารเชา้ (สดั ส่วนของ NPH : regular insulin ประมาณ 2 : 1) และ 1 ใน 3 ส่วนก่อนอาหารเย็น (สัดส่วนของ NPH : regular insulin ประมาณ 1 : 1) 4. การคานวณอาหารเฉพาะโรคเบาหวาน ควรให้ลักษณะอาหาร ประกอบด้วย carbohydrate 50 – 55% , fat 25 – 30%, protein 15–20% 5. การประเมินผลระดับน้าตาลในเลือดและการตรวจน้าตาลและ ketone ในปสั สาวะ ตรวจระดับ blood glucose คือ ก่อนอาหารเช้า , กลางวัน, เย็น, ก่อนนอน, หลังเที่ยงคืน – ตี 3 และเม่ือมีอาการสงสัย hypoglycemia นอกจากน้ันควรตรวจ urine ketone เม่ือผล blood glucose > 250 mg/dl เสมอ เมือ่ พบมีระดับน้าตาลผดิ ปรกตใิ ห้ปรับขนาดและชนดิ insulin ท่ี ให้เพ่อื รักษาระดบั น้าตาลระหว่าง 70 – 180 mg/dl 6. การใหค้ วามรู้โรคเบาหวาน ผู้ป่วยใหมแ่ ละผปู้ ่วยเกา่ ทุกรายทมี่ ีอาการ DKA ควรจะไดัรับความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวานใหม่ให้ถูกต้อง เพ่ือการดูแล ตนเองตอ่ ไป (พัฒน์ มหาโชคเลศิ วฒั นา.2544)
กรณไี มม่ อี าการเจบ็ ป่วย ตรวจไม่พบคีโตน ตรวจพบคโี ตน - ออกกาลังกายได้ - หยุดพัก/งดออกกาลงั กาย - ดืม่ นา้ เปลา่ มากๆ ไมต่ ้องกนิ - ด่ืมนา้ เปลา่ 2-4 ลิตร ใน 2 อาหารเพิ่ม ชั่วโมง - ตรวจเลอื ดซา้ ถา้ สูงกวา่ - เพิ่มอนิ ซูลินชนดิ ออกฤทธ์ิ 250 มก./ดล. หากไมพ่ บคี สนั้ ทันทีรอ้ ยละ 10-20 เมื่อ โตน ให้ฉดี อนิ ซูลินชนดิ ออก ถงึ เวลาฉดี ยา ฤทธสิ์ น้ั - ตรวจระดบั น้าตาลในเลอื ด *ถ้าตรวจพบสารคโี ตนให้ และคโี ตนซา้ ภายใน 2-3 ปฏบิ ตั ิตามกรณีตรวจพบคี ชม. จนกว่าระดับนา้ ตาลใน โตน เลอื ดต่ากว่า 180 มก./ดล. และไม่พบสารคีโตน
59 กรณีเจบ็ ปว่ ย ไม่สบาย ตรวจไมพ่ บคีโตน ตรวจพบคโี ตน - ตรวจระดับน้าตาลในเลือด - กรณกี ินอาหารและด่ืมน้าได้ และคโี ตนซ้า ภายใน 4 ชัว่ โมง ปกติ : - ใหด้ ่ืมน้าบ่อยๆ (2-4 ลติ ร - ให้ตดิ ต่อทีมผู้รักษาเพอ่ื ใน 4 ชัว่ โมง) ขอคาปรกึ ษา หากพบคีโตนใน ปัสสาวะมคี า่ สูงปานกลางถึง - แจ้งให้แพทย์ทราบว่าเป็น มาก เบาหวานหรือเบาหวานชนดิ ที่ - ในกรณีที่ไมส่ ามารถ 1 และรับคาแนะนาปรับขนาด ติดตอ่ ทีมผู้รักษาไดใ้ หด้ ่ืม อินซูลิน นา้ เปล่า 2-4 ลติ ร ใน 2 ชัว่ โมง - ตรวจระดับน้าตาลใน เลอื ดทกุ 2-3 ชวั่ โมง - กินอาหารและดม่ื นา้ ไม่ได้ : - พบแพทย์ทันที หาก รุนแรงอาจซึมหรือหมดสติ
60 13.7 ความรนุ แรงของภาวะน้าตาลตาในเลือดแบ่งไดเ้ ป็น 3 ระดบั ระดบั 1 (level 1) glucose alert value หมายถึง ระดบั นา้ ตาลในเลือดที่ ≤ 70 มก./ดล. ระดบั 2 (level 2) clinically significant hypoglycemia หมายถึง ระดับ นา้ ตาลในเลอื ด ที่ <54 มก./ดล. ระดับ 3 (level 3 ) ภาวะนา้ ตาลตา่ ในเลอื ดระดับรุนแรง หมายถงึ การทผ่ี ูป้ ว่ ยมี อาการสมองขาด กลโู คสที่รนุ แรง (severe cognitive impairment) ซ่ึงต้องอาศัย ผอู้ ่นื ช่วยเหลอื ภาวะนา้ ตาลตาในเลอื ดระดบั ไมร่ นุ แรง ใหก้ ินอาหารทีมีคาร์โบไฮเดรต 15 กรัม - กลูโคสเม็ด 3 เม็ด - นา้ สม้ คนั้ 180 มล. - นา้ อดั ลม 180 มล. - น้าผ้งึ 3 ชอ้ นชา - ขนมปงั 1 แผ่นสไลด์ - นมสด 240 มล. - ไอศกรมี 2 สคูป - ข้าวต้มหรือ โจก๊ ½ ถว้ ยชาม - กล้วย 1 ผล ภาวะน้าตาลตาในเลือดระดบั ปานกลาง ให้กินอาหารทีมีคารโ์ บไฮเดรต 30 กรัม - ผู้ป่วยเบาหวานทมี่ ีสายกระเพาะอาหาร หรือสาย PEG สามารถให้นา้ หวาน น้าผลไม้ สารละลาย กลูโู คสหรอื อาหารเหลวทีม่ ีคาร์โบไฮเดรต 15-30 กรมั ทางสายกระเพาะอาหาร หรือสาย PEG ได้
61 - ติดตามระดับกลูโคสในเลอื ดโดยใช้เคร่ืองตรวจน้าตาลในเลือดชนิดพกพา หรอื point-of-care device (ถา้ สามารถทาได้) ที่ 15 นาที หลังกิน คาร์โบไฮเดรตครัง้ แรก กินอาหารท่มี ีคารโ์ บไฮเดรต 15 กรัมซา้ ถา้ ระดบั กลูโคสในเลือดที่ 15 นาที หลังกินคาร์โบไฮเดรตครั้งแรกยังคง <70 มก. / ดล. ใหป้ รึกษาแพทย์ ท่มี า : แนวทางเวชปฏิบัติสาหรบั โรคเบาหวาน 2560 Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017
62 14.โรคไขมนั และหลอดเลือด (Dyslipidemia) 14.1 Classification of Blood Cholesterol Levels 14.2 ค่าทใี ชใ้ นการตดิ ตาม Source : American Association Of Clinical Endocrinologists Medical Guidelines for Clinical Practice, 2012
63 14.3 Therapeutic Lifestyle Changes Diet (อาหารเพือ ปรบั เปลยี นวถิ ที างดาเนินชีวิต) TLC ย่อมาจาก Therapeutic Lifestyle Change Diet เป็นวิธีการดูแลทางโภชน บาบัดทางการแพทย์วิธีหนึ่งท่ีมีประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะไขมันใน เลือด ผดิ ปกติไดเ้ ป็นอยา่ งดี ทมี่ า : national cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III, 2001
64 15.กระดกู หักเนืองจากกระดกู พรนุ (Fracture liaison service : FLS) - ควรรบั ประทานอาหารท่มี ีแคลเซยี มใหเ้ หมาะสม คือ ผทู้ ่ีมีอายุ ≤ 50 ปี ควรไดร้ ับแคลเซยี ม 800 มิลลิกรมั ต่อวัน ผทู้ ่ีมอี ายุ ≥ 51 ปี ควรได้รับแคลเซยี ม 1000 มิลลกิ รัมต่อวัน - รับแสงแดดอยา่ งเพยี งพอ เพ่อื ให้ผิวหนงั สรา้ งวติ ามนิ ดี จะช่วยใหล้ าไส้ ดูดซึมแคลเซียมได้ 15.1 ตวั อย่างอาหารทมี แี คลเซยี ม ที่มา : รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.บุษบา จินดาวิจักษณ์ ภาควิชาเภสชั กรรม คณะ เภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ชนดิ อาหาร ปรมิ าณทีบริโภค ปริมาณแคลเซียม (มก.) นมสดยูเอชที 200 ซซี ี (1กล่อง) 240 นมสดเสรมิ แคลเซยี ม 200 ซซี ี (1กลอ่ ง) 280 นมถั่วเหลอื ง 250 ซซี ี (1กลอ่ ง) 64 นมเปรีย้ ว 160 ซีซี (1ขวด) 160 โยเกริร์ต 150 กรมั (1ถ้วย) 280 กะปิ 2 ช้อนโตะ๊ 136.64 ก้งุ แหง้ ตวั เลก็ 1 ชอ้ นโต๊ะ 138.30 ปลาสลิด ตม้ 2 ชอ้ นโต๊ะ 153.42 ปลาฉ้ิงฉ้าง ทอด 2 ชอ้ นโตะ๊ 186.75 ไข่ไก่ ต้ม 1 ฟอง 205.56 ไข่เป็ด ต้ม 1 ฟอง 225.76 เต้าหขู้ าว อ่อน ต้ม 3 ชอ้ นโตะ๊ 243.63 เต้าหขู้ าว แข็ง ตม้ 3 ชอ้ นโต๊ะ 258.75
65 ผักคะนา้ ผัด 5 ช้อนโต๊ะ 319.26 ผักกาดเขยี ว ตม้ ผกั กวางตงุ้ ต้ม 5 ช้อนโต๊ะ 411.86 ใบยอ ตม้ ใบชะพลู 5 ช้อนโตะ๊ 450.06 มะเขือพวง ½ ทัพพี 198.20 70 กรมั 390.70 2 ช้อนโต๊ะ 243.62 ทีม่ า : โปรแกรมINMUCAL-N
66 16.ธาลสั ซเี มีย ธาลสั ซเี มีย (Thalassemia) เปน็ โรคโลหติ จางท่มี สี าเหตจุ ากความผิดปกติ ทางพนั ธกุ รรมระดบั ยนี ทาให้การสรา้ งฮีโมโกบิล (Hemoglobin; Hb) ซง่ึ เปน็ โปรตีนท่เี ป็นส่วนประกอบสาคัญของเมด็ เลือดแดงผิดปกติ ส่งผลให้เมด็ เลือดแดงมี อายุสนั้ แตกง่าย ถกู ทาลายงา่ ย จดั เป็นโรคโลหิตจางทางพนั ธุกรรมทพี่ บบ่อยทส่ี ดุ ในโลก (Vichinsky, 2005) 16.1 อาหารทีเหมาะสมสาหรับผู้ป่วยโรคธาลัสซเี มีย คืออาหารทม่ี ี โปรตีนและกรดโฟลกิ (Folic acid) สูงเพอ่ื ชว่ ยในการสร้างเม็ดเลอื ดแดง ปริมาณโฟเลทในอาหาร อาหาร ปริมาณโฟเลท (ไมโครกรมั ต่อ 35 กรัม หรือ ½ ส่วน) ตาลงึ 42.70 ใบกยุ๋ ช่าย 50.75 ผกั กาดหอม 36.75 ค่นื ช่าย 39.90 ดอกกะหล่า 32.90 มะเขือเทศ 8.61 ถวั่ เขยี ว 53.55 ถั่วแดง 49.70 ถัว่ เหลอื ง 62.65 ที่มา : ผศ.ภญ.ดร. กลุ วรา เมฆสวรรค์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรอื่ ง โภชนาการ ผู้ป่วยธาลซั ซเี มยี
67 16.2 อาหารทคี วรหลีกเลียงสาหรับผู้ปว่ ยโรคธาลัสซเี มยี คอื อาหารที่ มธี าตุเหลก็ สูงผลติ ภัณฑจ์ ากสัตว์ทมี่ ีปริมาณธาตุเหล็กสูง ปรมิ าณธาตุเหลก็ ปริมาณธาตุเหล็ก เน้ือสตั ว์ (มิลลกิ รัมต่อ 40 สัตวน์ ้า (มิลลกิ รัมต่อ 40 กรัมหรือ 1 ส่วน) กรัมหรอื 1 ส่วน) ปอดหมู 47.6 กุง้ ฝอยสด 28.0 เลือดหมู 25.9 หอยโขม 25.2 หมหู ยอง 17.8 หอยแมลงภู่ 15.6 ตับหมู 10.5 หอยแครง 6.4 นอ่ งไกบ่ ้าน 7.8 ปลาดกุ 8.1 เน้ือวัวเค็มทอด 7.5 ปลาช่อน 5.8 กบแหง้ 3.8 ปลาตะเพยี น 5.6 ธัญพชื ปริมาณธาตุเหลก็ ผกั และเหด็ ปรมิ าณธาตุเหล็ก (มิลลิกรัมต่อ 100 ผักกดู (มลิ ลกิ รัมต่อ 100 ดารก์ ช็อกโก แลต กรมั ) กรมั ) ถั่วดา 17.0 36.3 เตา้ เจ้ยี ว เมล็ดฟักทอง 16.5 ใบแมงลัก 17.2 ถ่วั ลิสง งาขาว 15.2 ใบกระเพาแดง 15.1 15.0 ยอดมะกอก 9.9 13.8 ดอกโสน 8.2 13.0 ใบชะพลู 7.6
68 ถ่ัวแดง 10.5 ตน้ หอม 7.3 ลกู เดอื ย 10.0 มะเขือพวง 7.1 งาดา 9.9 เห็ดหูหนู 6.1 จมูกข้าวสาลี 6.8 ยอดอ่อน 5.8 ขเ้ี หลก็ ขา้ วโอต๊ 6.5 ผกั กระเฉด 5.3 ท่มี า : ผศ. ดร. ภญ. ปิยนชุ โรจน์สง่า ภาควชิ าเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล เรอ่ื ง บทความเผยแพร่ความรูส้ ปู่ ระชาชน ธาลัสซีเมีย (Thalassemia)...กนิ อยา่ งไรใหเ้ หมาะสม หมายเหตุ : ควรหลีกเลีย่ งการรับประทานอาหารร่วมกับอาหารที่มีวิตามิน สูง เช่น ส้ม มะเขือเทศ เพราะ วิตามินซีจะช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก และควร รบั ประทานร่วมกบั อาหารทล่ี ดการดูดซกึ ธาตเุ หล็ก เช่น ชา และนมถวั่ เหลือง
Search