Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Published by mon_boonwattana, 2017-07-25 04:42:23

Description: computer basic

Search

Read the Text Version

ความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ[ช่ือเร่ืองรองของเอกสาร]

1 ความรู้พนื้ ฐานเก่ียวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ Basic Concepts of Computer and Information Technology สว่ นประกอบทางกายภาพของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจาวนั และงานด้านตา่ งๆเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั สงั คม Basic physical make-up of a personal computer, computer and information network,computer applications in everyday life, information technology and society.เนือ้ หาความรู้ในโมดูลท่ี 1 1. บทนา คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์ สว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์ 2. ฮาร์ดแวร์ Hardware หนว่ ยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) อปุ กรณ์นาเข้า (Input devices) อุปกรณ์แสดงผล (Output devices) 3. หน่วยความจา Memory หน่วยความจารอม (ROM) และ (RAM) DRAM (ดีแรม) และ SDRAM (เอสดีแรม) SIMM (ซิม) หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) หนว่ ยความจาแคช (Memory Cache) และ บสั (Bus) หนว่ ยข้อมลู สารอง 4. ซอร์ฟแวร์ Software ชนิดของ Software 5. คอมพิวเตอร์กับชีวิตประจาวันและงานด้านต่าง ๆ คอมพิวเตอร์ในสถานศกึ ษา คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร

2 คอมพิวเตอร์ในร้ านค้าปลกี คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ คอมพิวเตอร์ในการคมนาคม และการส่ือสาร คอมพิวเตอร์ในงานด้านอตุ สาหกรรม คอมพิวเตอร์ในวงราชการ 6. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคม การเปลย่ี นแปลงของโลก ความปลอดภยั และความเป็ นสว่ นตวั ทรัพย์สินทางปัญญา1. บทนา ในสภาวะการณ์ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทต่อการทางานเป็ นอยา่ งมาก ในบทเรียนนีจ้ ะกลา่ วถึงความหมาย ชนิด การทางาน ของคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศกบัการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม1.1 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในบทนีจ้ ะกลา่ วถึง ความหมายของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ประโยชน์ที่มนษุ ย์นามาใช้ด้านตา่ งๆ1.1.1 ความหมายของของพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง อปุ กรณ์ชนิดหนึ่งท่ีทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจาข้อมลู และคาสง่ั ได้ ทาให้สามารถทางานไปได้โดยอตั โนมตั ิด้วยอตั ราความเร็วที่สงู มาก ใช้ประโยชน์ในการคานวณหรือการทางานตา่ งๆได้เกือบทกุ ชนิด คอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องมือท่ีช่วยในการคานวณและประมวลผลข้อมูล ซึง่ ประกอบด้วยคุณสมบตั ิ 3 ประการ คือความเร็ว (Speed) เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางานด้วยความเร็วสงู มาก หนว่ ยความเร็วของการทางานของคอมพิวเตอร์วดั เป็ น - มิลลิเซกัน (Millisacond) ซึง่ เทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000 วินาที - ไมโครเซกนั (Microsecond) ซึ่งเทียบความเร็วเท่ากับ 1/1,000,000 วินาที - นาโนเซกัน (Nanosacond) ซึ่งเทียบความเร็วเทา่ กับ 1/1,000,000,000 วินาที

3หน่วยความจา (Memory) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วยหน่วยความจา สามารถใช้บนั ทกึ และเก็บข้อมลู ได้คราวละมากๆ สามารถเก็บคาสั่งต่อๆ กันท่ีเราเรียกว่า โปรแกรม และนามาประมวลในคราวเดียวกัน ซงึ่ เป็ นปัจจยั ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานเก็บข้อมูลได้คราวละมากๆ และสามารถประมวลผลได้เร็วและถกู ต้องความสามารถในการเปรียบเทียบ (Logical) เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยคานวณและตรรกะนอกจากจะมีความสามารถในการคานวณแล้วยงั มีความสามารถในการเปรียบเทียบ ความสามารถนีเ้ องที่ทาให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ต่างกบั เคร่ืองคิดเลข และคณุ สมบตั ินีท้ ี่ทาให้นกั คอมพิวเตอร์สร้างโปรแกรมอตั โนมตั ิขึน้ ใช้อย่างกว้างขวาง คอมพิวเตอร์ยงั มีความแมน่ ยาในการคานวณ มีความเท่ียงตรงแม้จะทางานเหมือนเดิมซา้ กนั หลายรอบ และสามารถติดต่อส่อื สารกบั คอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่นๆ อีกด้วย

41.1.2 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์การใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์กระจายไปอย่ใู นทกุ วงการ - ด้านธุรกิจ ได้แก่การนาคอมพิวเตอร์มาประมวลงานด้านธุรกิจ - ด้านการธนาคาร ปัจจุบนั ทุกธนาคารจะนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้งานในองค์กรของตนเพื่อให้บริการลกู ค้า - ด้านตลาดหลกั ทรัพย์ ตลาดหลกั ทรัพย์เป็ นศูนย์กลางการซือ้ ขายหลกั ทรัพย์ จะมีข้อมลู จานวนมากและต้องการความรวดเร็วในการปฏิบตั ิงาน - ธุรกิจโรงแรม ระบบคอมพิวเตอร์สามารถใช้ในการบริหารโรงแรม การจองห้องพกั การติดตงั้ ระบบOnline ตามแผนกต่างๆ - การแพทย์ มีการนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้อยา่ งกว้างขวาง เช่น ทะเบียนประวตั ิคนไข้,ระบบข้อมลูการให้ภูมิค้มุ กันโรค,สถิติด้านการแพทย์,ด้านการบญั ชี - วงการศึกษา การนาคอมพิวเตอร์มาใช้กบั สถาบนั การศกึ ษาจะมี ระบบงานท่ีเกี่ยวกับ การเรียนการสอน การวิจยั การบริหาร - ด้านอตุ สาหกรรมทว่ั ไป - ด้านธุรกิจสายการบิน สายการบินต่างๆทวั่ โลกได้นาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้งานอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะงานการสารองที่นง่ั และเท่ียวบิน - ด้านการบนั เทิง เช่น วงการภาพยนตร์ การดนตรี เต้นรา1.1.3 ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาจากคาภาษาองั กฤษวา่ Information Technology และมผี ้นู ยิ มเรียกทบั ศพั ท์ยอ่วา่ IT สชุ าดา กีระนนั ท์ (2541) ให้ความหมายวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยที กุ ด้านท่เี ข้าร่วมกนัในกระบวนการจดั เก็บสร้าง และสอื่ สารสนเทศ ครรชิต มาลยั วงศ์ (2539) กลา่ ววา่ เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วยเทคโนโลยที ีส่ าคญั สองสาขาคือ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยีสอื่ สารโทรคมนาคมโดยทว่ั ไปแล้วเทคโนโลยสี ารสนเทศจะครอบคลมุ ถงึ เทคโนโลยีตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การบนั ทกึ จดั เก็บประมวลผลสบื ค้น สง่ และรับข้อมลู ในรูปของสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ซง่ึ รวมถึงเครื่องมือและอปุ กรณ์ตา่ งๆ เชน่

5คอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์จดั เก็บ บนั ทกึ และค้นคืน เครือขา่ ยสอ่ื สาร ข้อมลู อปุ กรณ์สอื่ สารและโทรคมนาคม รวมทงั้ระบบท่คี วบคมุ การทางานของอปุ กรณ์เหลา่ นี ้ครรชิต มาลยั วงศ์ (2541) กลา่ ววา่ เทคโนโลยีสารสนเทศมคี วามสาคญั ดงั นี ้ 1. สามารถจดั เก็บข้อมลู จากจดุ เกิดได้อยา่ งรวดเร็ว 2. สามารถบนั ทกึ ข้อมลู จานวนมากๆไว้ใช้งานหรือไว้อ้างองิ การดาเนินงานหรือการตดั สนิ ใจใดๆ 3. สามารถคานวณผลลพั ธ์ตา่ งๆได้รวดเร็ว 4. สามารถสร้างผลลพั ธ์ได้หลากหลายรูปแบบ 5. สามารถสง่ สารสนเทศ ข้อมลู หรือผลลพั ธ์ที่ได้จากทหี่ นง่ึ ไปยงั อีกที่หนงึ่ ได้อยา่ งรวดเร็ว1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร์เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั สามารถแบ่งเป็ นประเภทต่างๆ โดยใช้ความแตกต่างจากขนาดของเครื่องความเร็วในการประมวลผล รวมทงั้ ราคาเป็ นหลกั ซ่ึงแบ่งได้เป็ นดงั นี ้คือ1.2.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Super Computerเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั สามารถแบ่งเป็ นประเภทตา่ งๆ โดยใช้ความแตกต่างจากขนาดของเครื่องความเร็วในการประมวลผล รวมทงั้ ราคาเป็ นหลกั ซึ่งแบง่ ได้เป็ นดงั นี ้คือ หมายถึง คอมพิวเตอร์เคร่ืองใหญ่ท่ีมีสมรรถนะสงู มีความเร็วในการทางาน และประสิทธิภาพสงู สดุ เมื่อเปรียบเทียบกบั คอมพิวเตอร์ชนิดอ่ืนๆ มีราคาแพงมาก มีขนาดใหญ่ สามารถคานวณทางคณิตศาสตร์ได้หลายแสนล้านครัง้ ต่อวินาที และได้รับการออกแบบเพ่ือให้ใช้แก้ปัญหาขนาดใหญ่มากได้อย่างรวดเร็ว เช่น การพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเป็ นเวลาหลายวนั งานควบคมุ ขีปนาวธุ งานควบคมุ ทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ งานด้านวิทยาศาสตร์เคมี งานทาแบบจาลองโมเลกุลของสารเคมี งานด้านวิศวกรรมการออกแบบ งานวิเคราะห์โครงสร้างอาคารที่ซบั ซ้อน ซึ่งหากใช้คอมพิวเตอร์ชนิด

6อ่ืนๆ แก้ไขปัญหาประเภทนี ้อาจจะต้องใช้เวลาในการคานวณหลายปี กวา่ จะเสร็จสิน้ ในขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไขปัญหาได้ภายในเวลาไม่กี่ชว่ั โมงเทา่ นนั้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์จึงมีหนว่ ยความจาท่ีใหญ่มากๆ สามารถทางานหลายอย่างได้พร้ อมๆ กนั โดยท่ีงานเหลา่ นนั้ อาจจะเป็ นงานท่ีแตกต่างกนั อาจจะเป็ นงานใหญ่ท่ีถูกแบ่งยอ่ ยไปให้หน่วยประมวลผลแต่ละตวัทางานก็ได้ และยงั ใช้โครงสร้างการคานวณแบบขนานท่ีเรียกว่า เอ็มพีพี (Massively Parallel Processing :MPP) ซึ่งเป็ นการคานวณท่ีกระทากบั ข้อมูลหลายๆ ตวั หรือหลายๆ งานในเวลาเดียวกนั ได้พร้ อมๆ กันเป็ นจานวนมาก ทาให้มีความสามารถในการทางานแบบมลั ติโปรเซสซิง (Multiprocessing) หรือความสามารถในการทางานหลายงานพร้ อมๆกนั ได้ ดงั นนั้ จึงมีผ้เู รียกอีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์สมรรถนะสงู (HighPerformance Computer) ความเร็วในการคานวณของซูเปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวดั หน่วยเป็ น นาโนวินาที (nanosecond)หรือเศษหนง่ึ สว่ นพนั ล้านวินาที และ กิกะฟลอป (gigaflop) หรือการคานวณหนงึ่ พนั ล้านครัง้ ในหนึ่งวินาทีปัจจุบนั ประเทศไทย มีเคร่ืองซูเปอร์คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใช้ในงานวิจยั อย่ทู ่ีห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์สมรรถภาพสงู (HPCC) ศนู ย์เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผ้ใู ช้เป็ นนกั วิจัยด้านวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ทว่ั ประเทศ1.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ Mainframe Computerหมายถึง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีมีสมรรถะสงู แต่ยงั ตา่ กว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ มีความเร็วสงู มาก มีหน่วยความจาขนาดมหึมา เมนเฟรมคอมพิวเตอร์สามารถให้บริการผ้ใู ช้จานวนหลายร้ อยคน ที่ใช้โปรแกรมท่ีแตกต่างกันนบั ร้ อยพร้อมๆ กนั ได้ เหมาะกบั การใช้งานทงั้ ในด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานท่เี ก่ียวข้องกับข้อมูลจานวนมากๆ

7เคร่ืองเมนเฟรมได้รับการพฒั นาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยพร้ อมๆ กนั เช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แตจ่ ะมีจานวนหน่วยประมวลท่ีน้อยกว่า และเคร่ืองเมนเฟรมจะวดั ความเร็วอย่ใู นหน่วยของ เมกะฟลอป (Megaflop) หรือการคานวณหน่ึงล้านครัง้ ในหนงึ่ วินาที ข้อเดน่ ของการใช้เมนเฟรมจึงอย่ทู ่ีงานท่ีต้องการให้มีระบบศนู ย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็ นจานวนมากเช่น ระบบเอทีเอ็มซง่ึ เชื่อมต่อกับฐาน เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผ้ใู ช้เหลา่ นนั้ ไว้ในหน่วยความจาหลกั และมีการสบั เปล่ยี นหรือสวิทช์การทางานระหว่างโปรแกรมตา่ งๆ เหลา่ นนั้ อย่างรวดเร็วโดยท่ีผ้ใู ช้จะไม่รู้สกึ เลยว่าเครื่องเมนเฟรมที่ใช้ มีการสบั เปล่ียนการทางานไปทางานของผ้ใู ช้คนอ่นื ๆ อยู่ตลอดเวลา หลกั การท่ีเคร่ืองเมนเฟรมสามารถทางานหลายโปรแกรมพร้ อมๆ กนั นนั้ เรียกว่า มลั ติโปรแกรม-มิง (Multiprogramming)

81.2.3 มินิคอมพิวเตอร์หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง มีสมรรถนะตา่ กว่าเคร่ืองเมนเฟรม แต่สงู กว่าเวิร์คสเตชนั จุดเด่นท่ีสาคญั คือ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม และการใช้งานใช้บคุ ลากรไม่มากนกั มินิคอมพิวเตอร์เร่ิมพฒั นาขนึ ้ ในค.ศ. 1960 ต่อมาบริษัท Digital Equipment Corporation หรือ DEC ได้ ประกาศตวั มินิ คอมพิวเตอร์ DECPDP-8 (Programmed Data Processor) ในปี ค.ศ.1965 ซ่ึงได้รับความนิยมจากบริษัทหรือองค์กรท่ีมีขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่าเคร่ืองเมนเฟรมมากเคร่ืองมินิ คอมพิวเตอร์ใช้หลกั การของมลั ติโปรแกรมมิงเช่นเดียวกับเครื่องเมนเฟรม โดยจะสามารถรองรับผู้ใช้ได้นบั ร้ อยคนพร้ อมๆกนั แต่เคร่ืองมินิคอมพิวเตอร์จะทางานได้ช้ากว่า การควบคมุ ผ้ใู ช้งานต่างๆ ทาน้อยกว่า ส่ือท่ีเก็บข้อมลู มีความจุไม่สงู เทา่ เมนเฟรม

9 การทางานบนเคร่ืองเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์ ผ้ใู ช้จะสามารถควบคมุ การรับข้อมลู และดกู ารแสดงผลบนจอภาพได้เท่านนั้ ไม่สามารถควบคุมอปุ กรณ์รอบข้างอ่ืนๆ ได้ แต่การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ชนิดที่มีผ้ใู ช้คนเดียวนนั้ ผ้ใู ช้สามารถควบคมุ อปุ กรณ์รอบข้างตา่ งๆ ได้ทงั้ หมด ไม่วา่ จะเป็ นหน่วยรับข้อมลู หน่วยประมวลผล หน่วย แสดงผล ตลอดจนหนว่ ยเก็บข้อมลู สารอง สามารถเลือกใช้โปรแกรมได้ โดยไม่ต้องกงั วลวา่ จะต้องไปแย่งเวลาการเรียกใช้ข้อมลู กบั ผ้ใู ช้อ่ืน1.2.4 เวิร์คสเตช่ัน และไมโครคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์สาหรับผ้ใู ช้คนเดียว สามารถแบง่ ออกเป็ นสองรุ่น คือ เวิร์คสเตชัน หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ถกู ออกแบบมาให้เป็ นคอมพิวเตอร์แบบตงั้ โต๊ะ สามารถทางานพร้ อมกันได้หลายงาน และประมวลผลเร็วมาก มีความสามารถในการคานวณด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอ่ืนๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟิ ก เช่น นามาช่วยในโรงงานอตุ สาหกรรมเพ่ือออกแบบชิน้ ส่วน เป็ นต้น ซงึ่ จากการท่ีต้องทางานกราฟิ กท่ีมีความละเอียดสงู ทาให้เวิร์คสเตชันใช้หนว่ ยประมวลผลท่ีมีประสิทธิภาพมาก รวมทงั้ มีหน่วยเก็บข้อมูลสารองจานวนมากด้วย เวิร์คสเตชนั สว่ นมากใช้ชิปประเภท RISC (Reduce instruction setcomputer) ซ่ึงเป็ นชิปท่ีลดจานวนคาสงั่ ท่ีสามารถใช้สง่ั งานให้เหลือเฉพาะที่จาเป็ น เพื่อให้สามารถทางานได้ด้วยความเร็วสงู

10 ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก และใช้งานคนเดียว เรียกอีกชื่อหนึง่ ว่าคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล (Personal Computer) จดั ว่าเป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ทงั้ ระบบใช้งานครัง้ละคนเดียว หรือใช้งานในลกั ษณะเครือข่าย แบง่ ได้หลายลกั ษณะตามขนาด เช่นเคร่ืองคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลแบบตงั้ โต๊ะ (Personal Computer) หรือแบบพกพา (Portable Computer)1.3 การทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็ นอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนษุ ย์สร้างขึน้ เพื่อช่วยให้ทางานได้เร็ว สะดวก และแม่นยามากขนึ ้ การใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือให้ทางานอยา่ งได้มีประสิทธิภาพ จึงต้องเรียนรู้ และเข้าใจ สว่ นประกอบวิธีการทางานของ คอมพิวเตอร์ มีขนั้ ตอนสาคญั คือ ขัน้ ตอนท่ี 1 การรับข้อมลู และคาสงั่ คอมพิวเตอร์รับข้อมลู และคาสง่ั ผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล คือ เมาส์คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขัน้ ตอนท่ี 2 การประมวลผลหรือคิดคานวณ ข้อมลู ที่คอมพิวเตอร์รับเข้ามา จะถกู ประมวลผลโดยการทางานของหนว่ ยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคาสงั่ ของโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมลู เช่น นาข้อมูลมาบวก ลบ คูณ หาร ทาการเรียงลาดบั ข้อมูล นาข้อมูลมาจัดกลมุ่ นาข้อมูลมาหาผลรวม เป็ นต้น ขัน้ ตอนท่ี 3 การแสดงผลลพั ธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลพั ธ์ของข้อมลู ที่ป้ อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เคร่ืองพิมพ์ (Printer) หรือลาโพง ขัน้ ตอนท่ี 4 การเก็บข้อมลู คอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลพั ธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมลู เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบนั ทกึ ข้อมลู (Floppy disk) ซีดีรอม เพ่ือให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต1.3 การทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนษุ ย์สร้างขึน้ เพ่ือช่วยให้ทางานได้เร็ว สะดวก และแม่นยามากขนึ ้ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานอย่างได้มีประสิทธิภาพ จึงต้องเรียนรู้ และเข้าใจ สว่ นประกอบวิธีการทางานของ คอมพิวเตอร์ มีขนั้ ตอนสาคญั คือ ขัน้ ตอนท่ี 1 การรับข้อมูลและคาสงั่ คอมพิวเตอร์รับข้อมลู และคาสงั่ ผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล คือ เมาส์คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ ไมโครโฟน ฯลฯ ขัน้ ตอนท่ี 2 การประมวลผลหรือคิดคานวณ ข้อมูลท่ีคอมพิวเตอร์รับเข้ามา จะถกู ประมวลผลโดยการทางานของหนว่ ยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit) ตามคาสง่ั ของโปรแกรม หรือซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมลู เช่น นาข้อมลู มาบวก ลบ คูณ หาร ทาการเรียงลาดบั ข้อมลู นาข้อมูลมาจดักล่มุ นาข้อมลู มาหาผลรวม เป็ นต้น ขัน้ ตอนท่ี 3 การแสดงผลลพั ธ์ คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลพั ธ์ของข้อมลู ท่ีป้ อน หรือแสดงผลจากการประมวลผล ทางจอภาพ (Monitor) เคร่ืองพิมพ์ (Printer) หรือลาโพง ขัน้ ตอนท่ี 4 การเก็บข้อมลู คอมพิวเตอร์จะทาการเก็บผลลพั ธ์จากการประมวลผลไว้ในหน่วยเก็บข้อมลู เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบนั ทึกข้อมลู (Floppy disk) ซีดีรอม เพื่อให้สามารถนามาใช้ใหม่ได้ในอนาคต

111.4.1 จอภาพ (Monitor) อาจเรียกทบั ศพั ทว์ า่ มอนเิ ตอร์ (Monitor), สกรีน (Screen), ดิสเพลย์ (Display) เป็นอปุ กรณ์ท่ใี ช้แสดงผลทงั้ ข้อความ ภาพน่งิ และภาพเคลอื่ นไหว จอภาพในปัจจบุ นั สว่ นมากใช้จอแบบหลอดภาพ (CRT หรือCathode Ray Tube) เหมอื นจอภาพของเคร่ืองรับโทรทศั น์ และจอแบบผลกึ เหลว (LCD หรือ Liquid CrystalDisplay) มีลกั ษณะเป็ นจอแบน1.4.2 ตวั เคร่ือง (Computer Case)เป็ นสว่ นทีเ่ ก็บอปุ กรณ์หลกั ของคอมพิวเตอร์ เชน่ CPU, Disk Drive, Hard Disk ฯลฯ1.4.3. คยี ์บอร์ด (Keyboard) หรือแป้ นพิมพ์ เป็ นอปุ กรณ์ทีใ่ ช้พมิ พ์คาสงั่ หรือป้ อนข้อมลู เข้าสคู่ อมพวิ เตอร์ คีย์บอร์ดมลี กั ษณะคล้ายแป้ นพิมพด์ ีด แตจ่ ะมปี ่ มุ พมิ พ์มากกวา่

121.4.4 เมาส์ (Mouse) เป็ นอปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการชีต้ าแหนง่ ตา่ งๆบนจอภาพ ซงึ่ จะเป็ นการสงั่ ให้คอมพวิ เตอร์ทางานเชน่ เดยี วกบั การป้ อนคาสง่ั ทางคยี ์บอร์ด เม่ือเลอื่ นเมาส์ไปมาจะทาให้เครื่องหมายชีต้ าแหนง่ บนจอภาพ (Cusor)เลอ่ื นไปในทิศทางเดยี วกนั กบั ที่เลอื่ นเมาส์นนั้1.4.5 เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) เป็ นอปุ กรณ์ท่ีใช้แสดงผลข้อมลู ออกมาทางกระดาษ เคร่ืองพมิ พ์มีหลายแบบ เชน่ เคร่ืองพิมพ์จดุ(Dot Matrix Printer) เคร่ืองพมิ พ์เลเซอร์ (Laser Printer) และเครื่องพิมพ์แบบพน่ หมกึ (Inkjet Printer) เป็ นต้น1.4.6 สแกนเนอร์ (Scanner) เป็ นอปุ กรณ์นาเข้าข้อมลู โดยเอารูปภาพหรือข้อความมาสแกน แล้วจดั เก็บไว้เป็ นไฟล์ภาพ เพือ่นาไปใช้งานตอ่ ไป เคร่ืองสแกนมที งั้ ชนดิ อา่ นได้เฉพาะภาพขาวดา และชนิดอา่ นภาพสไี ด้ นอกจากนยี ้ งั มชี นดิมือถือ

131.4.7 โมเด็ม (Modem) เป็ นอปุ กรณ์ทท่ี าหน้าท่แี ปลงสญั ญาณคอมพวิ เตอร์ให้สามารถสง่ ไปตามสายโทรศพั ท์ได้ และแปลงข้อมลู จากสายโทรศพั ท์ให้เป็ นสญั ญาณท่ีคอมพวิ เตอร์สามารถรับรู้ได้2. ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์์ หมายถึง ตวั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างท่ีเก่ียวข้องตา่ งๆ ซึ่งประกอบด้วยส่วนที่สาคญั คือ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลกั หน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผลและหน่วยเก็บข้อมลู สารอง2.1 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU: Central Processing Unit)หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit – CPU) หรืออาจเรียกวา่ ไมโครโปรเซสเซอร์(Microprocessor) หรือชิป (Chip) เป็ นหวั ใจของคอมพวิ เตอร์ ทาหน้าท่ใี นการคดิ คานวณ ประมวลผล และควบคมุ การทางานของอปุ กรณ์อน่ื ในระบบ ลกั ษณะของซีพยี จู ะเป็ นชิน้ สว่ นขนาดเลก็ มาก ภายในประกอบด้วยทรานซสิ เตอร์ประกอบกนั เป็ นวงจรหลายล้านตวั ตวั อยา่ งเชน่ ซพี ยี รู ุ่นเพนเทียมจะมที รานซิสเตอร์เลก็ ๆจานวนมากถึง 3.1 ล้านตวั ซีพียูมีหน่วยที่ใช้ในการบอกขนาดเรียกว่า บิต (Bit) ถ้าจานวนบิตมากจะสามารถทางานได้เร็วมากความเร็วของซีพียู (Speed) มีหน่วยวดั เป็ น เมกะเฮริตซ์ (MHz = MegaHertz) ถ้าคา่ ตวั เลขย่ิงสงู แสดงว่ายิ่งมีความเร็วมาก ปัจจุบนั ความเร็วของซีพียสู ามารถทางานได้ถึงระดบั กิกะเฮริตซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมี

14 ความเร็วระหว่าง 2-3 GHz ในการเลือกใช้ซีพียู ผ้จู าหน่ายจะบอกไว้วา่ เคร่ืองรุ่นนีม้ ีความเร็วเท่าใด เช่น Pentium IV 2.8 GHz หมายความว่า CPU รุ่นเพนเทียม IV มีความเร็ว 2.8 กิกะเฮิรตซ์2.1.1 องค์ประกอบของหน่วยประมวลผลกลางหนว่ ยประมวลผลกลาง \"ไมโครโปรเซสเซอร์\" (Microprocessor) ประกอบด้วยหนว่ ยสาคญั สองหนว่ ย คือ หนว่ ยควบคมุ (Control Unit) ทาหน้าทค่ี วบคมุ การทางานของเครื่องคอมพวิ เตอร์ทงั้ ระบบ เปรียบเสมือนเป็ นศนู ย์กลางระบบประสาท ทีท่ าหน้าทค่ี วบคมุ การทางานของสว่ นประกอบตา่ งๆ ของเครื่องคอมพวิ เตอร์ จะรับรู้คาสงั่ ตา่ งๆ ในรูปของคาสงั่ ภาษาเคร่ืองเทา่ นนั้ หนว่ ยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) หรือทเี่ รียกสนั้ ๆวา่ เอแอลยู (ALU)ทาหน้าที่ประมวลผลการคานวณทางคณิตศาสตร์ ตลอดจนการเปรียบเทียบทางตรรกะทงั้ หมดการทางานในซีพียมู ี รีจิสเตอร์ (Register) คอยทาหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมลู หรือคาสง่ั ที่ถกู นาเข้ามาปฏิบตั ิการภายในซีพียู รวมทงั้ มี บสั (Bus) เป็ นเส้นทางในการสง่ ผ่านสญั ญาณไฟฟ้ าของหน่วยตา่ งๆภายในระบบ2.2 อุปกรณ์นาเข้า (Input devices) ทาหน้าที่รับข้อมลู จากผ้ใู ช้เข้าสหู่ น่วยความจาหลกั ที่พบเห็นอย่ทู ว่ั ไปได้แก่2.2.1 อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device)แป้ นพมิ พ์ (Keyboard) เป็ นหนว่ ยรับข้อมลู ทีน่ ยิ มใช้กนั มากท่ีสดุ เพราะเป็ นอปุ กรณ์มาตรฐานในการป้ อนข้อมลูสาหรับเทอร์มนิ ลั และไมโครคอมพวิ เตอร์ โดยทวั่ ไปจะมลี กั ษณะคล้ายแป้ นของเคร่ืองพมิ พ์ดีด แตม่ จี านวนแป้ นมากกวา่ และถกู แบง่ ออกเป็ น 4 กลมุ่ ด้วยกนั คือ - แป้ นอกั ขระ (Character Keys) มีลกั ษณะการจดั วางตวั อกั ษรเหมอื นแป้ นบนเครื่องพมิ พ์ดดี - แป้ นควบคมุ (Control Keys) เป็ นแป้ นทมี่ หี น้าที่สง่ั การบางอยา่ งโดยใช้งานร่วมกบั แป้ นอนื่ - แป้ นฟังก์ชนั (Function Keys) คือ แป้ นทอ่ี ยแู่ ถวบนสดุ มสี ญั ลกั ษณ์เป็ น F1,...F12 ซอฟต์แวร์แตล่ ะชนดิอาจกาหนดแป้ นเหลา่ นใี ้ ห้มีหน้าท่เี ฉพาะอยา่ งแตกตา่ งกนั ไป

15 - แป้ นตวั เลข (Numeric Keys) เป็ นแป้ นท่ีแยกจากแป้ นอกั ขระมาอยทู่ างด้านขวา มีลกั ษณะคล้ายเครื่องคดิ เลข ช่วยอานวยความสะดวกในการบนั ทกึ ตวั เลขเข้าสเู่ คร่ืองคอมพิวเตอร์นอกจากนี ้ยงั มีแป้ นพิมพ์บางประเภทที่ออกแบบมาให้ใช้กับงานเฉพาะด้าน เช่น แป้ นพิมพ์ท่ีใช้ในร้ านอาหารแบบเร่งด่วน (fast food restaurant) จะใช้พิมพ์เฉพาะชื่ออาหาร เช่น ถ้าต้องการ french fries ก็กดท่ีแป้ นคาวา่ “French fries” ตามด้วยราคาเท่านนั้ หรือแป้ นพิมพ์ท่ใี ช้เครื่องฝาก-ถอนอตั โนมตั ิ(Automatic Teller Machine) เป็ นต้น2.2.2 อุปกรณ์ชีต้ าแหน่ง Pointing Devices เมาส์ (Mouse) เป็ นอปุ กรณ์สาหรับใช้เลอื่ นตวั ชีต้ าแหนง่ (Cursor) บนจอภาพ มหี ลายขนาดและมี รูปร่างตา่ งกนั ไป แตท่ น่ี ยิ มใช้จะมขี นาดเทา่ ฝ่ ามอื มลี กู กลมกลงิ ้ อยดู่ ้านลา่ ง หรือเป็ นระบบแสง สว่ นด้านบนจะมปี ่ มุ ให้กดจานวนสอง สาม หรือสป่ี ่ มุ แตท่ ่ีนยิ มใช้กนั มากคือ สองป่ มุ ใช้สง่ ข้อมลู เข้าสหู่ นว่ ยความจาหลกั โดยการเลอ่ื นเมาสใ์ ห้ลกู กลมด้านลา่ งหมนุ เพ่อื เป็ นการเลอ่ื นตวั ชีต้ าแหนง่ บนจอภาพไปยงั ตาแหนง่ ท่ตี ้องการทาให้การโต้ตอบระหวา่ งผ้ใู ช้กบั เครื่องคอมพวิ เตอร์ทาได้รวดเร็วกว่าแป้ นพมิ พ์ ผ้ใู ช้อาจใช้เมาสว์ าดรูป เลอื กทาง เลอื กจากเมนูและเปลย่ี นแปลงหรือย้ายข้อความ ปัจจบุ นั เมาสไ์ ด้มกี ารพฒั นาเป็นแบบเมาส์ไร้สาย อยา่ งไรก็ดี เมาสย์ งั ไม่สามารถใช้ในการป้ อนตวั อกั ษรได้ จึงยงั คงต้องใช้คกู่ บั แป้ นพมิ พ์ในกรณีท่ีมีการพมิ พ์ ตวั อกั ษร แตส่ าหรับผ้ทู ่ีเร่ิมต้นใช้คอมพวิ เตอร์ การใช้เมาส์เพียงอยา่ งเดยี วจะทาให้เกดิ ความผดิ พลาดน้อยกวา่ การใช้แป้ นพิมพ์

16ลกู กลมควบคมุ (Trackball) เป็ นอปุ กรณ์ชีต้ าแหนง่ โดยจะเป็ นลกู บอลเลก็ ๆซง่ึ อาจวางอยหู่ น้าจอภาพในเนอื ้ ที่ของแป้ นพิมพ์ หรือเป็ นอปุ กรณ์ตา่ งหากเชน่ เดยี วกบั เมาส์ เมื่อผ้ใู ช้หมนุ ลกู บอลก็จะเป็ นการเลอ่ื นตาแหนง่ ของตวัชีต้ าแหนง่ บนจอภาพ มีหลกั การทางานเชน่ เดียวกบั เมาส์แทง่ ชีค้ วบคมุ (Track Point) เป็ นอปุ กรณ์ช้ีตาแหน่งขนาดเลก็ นิยมใชก้ บั เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาจะเป็ นแท่งพลาสติกเลก็ ๆ อยตู่ รงกลางแป้ นพมิ พ์ บงั คบั โดยใชน้ ิ้วหวั แมม่ อื เพอ่ื เลื่อนตาแหน่งของตวั ช้ีตาแหน่งบนจอภาพเช่นเดียวกบั เมาส์ แผ่นรองสมั ผสั จะเป็ นแผน่ สเ่ี หลยี่ มที่วางอยหู่ น้าแป้ นพมิ พ์ สามารถใช้นวิ ้ วาดเพอ่ื เลอ่ื นตาแหนง่ของตวั ชีต้ าแหนง่ บนจอภาพเช่นเดียวกบั เมาส์จอยสติก (Joy stick) จะเป็ นก้านสาหรับใช้โยกขนึ ้ ลง/ซ้ายขวา เพอื่ ย้ายตาแหนง่ ของตวั ชีต้ าแหนง่ บนจอภาพ มีหลกั การทางานเชน่ เดยี วกบั เมาส์ แตจ่ ะมีแป้ นกดเพม่ิ เตมิ มาจานวนหนง่ึ สาหรับสง่ั งานพเิ ศษ นิยมใช้กบั การเลน่เกมสค์ อมพิวเตอร์หรือควบคมุ หนุ่ ยนต์

172.2.3 จอภาพระบบไวต่อการสมั ผัส จอภาพระบบสมั ผสั (Touch screen) เป็ นจอภาพแบบพิเศษซงึ่ ผ้ใู ช้เพียงแตะปลายนิว้ ลงบนจอภาพในตาแหนง่ ท่ีกาหนดไว้ เพ่ือเลอื กการทางานที่ต้องการ นิยมใช้กบั เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ เพ่ือช่วยให้ผ้ทู ี่ใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ไมค่ ลอ่ งนกั สามารถเลือกข้อมูลท่ีต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็ว จะพบการใช้งานมากในร้ านอาหารแบบเร่งด่วน หรือใช้แสดงข้อมลู การท่องเที่ยว เป็ นต้น2.2.4 ระบบปากกา (Pen-Based System) ปากกาแสง (Light Pen) เป็ นอปุ กรณ์ท่ีใช้สมั ผสั กบั จอภาพเพื่อชีต้ าแหน่งและวาดข้อมูล โดยใช้เซลล์แบบ photoelectric ซ่ึงมีความไวต่อแสงเป็ นตวั กาหนดตาแหนง่ บนจอภาพ รวมทงั้ สามารถใช้วาดลกั ษณะหรือรูปแบบของข้อมูลให้ปรากฏบนจอภาพ การใช้งานทาได้โดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตาแหน่งท่ีต้องการนิยมใช้กับงานคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ (CAD หรือ Computer Aided Design)รวมทงั้ นิยมใช้เป็ นอุปกรณ์ป้ อนข้อมลู โดยการเขียนด้วยมือในคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ เช่น PDA เป็ นต้น2.2.5 อุปกรณ์กวาดข้อมูล (Data Scanning Devices) เป็ นอปุ กรณ์ท่ใี ช้ ระบบการวเิ คราะห์แสง (Optical recognition Systems) ชว่ ยให้มีการพมิ พ์ข้อมลู เข้าน้อยท่สี ดุ โดยจะอา่ นข้อมลู เข้าสเู่ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ด้วยการใช้ลาแสงกวาดผา่ นข้อความ หรือสญั ลกั ษณ์ตา่ งๆที่พมิ พ์ไว้ เพ่อื นาไปแยกแยะรูปแบบตอ่ ไป ในปัจจบุ นั มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ในงานตา่ งๆกนั มาก โดยมีอปุ กรณ์ท่ไี ด้รับ

18ความนิยม คือ เคร่ืองอา่ นรหสั บาร์โคด (Bar Code Reader) เป็ นอปุ กรณ์ทมี่ ีลกั ษณะคล้ายปากกาแสง ใช้ฉายแสงลงไปท่ีรหสั แทง่ ทต่ี ้องการอา่ น ซงึ่ รหสั สนิ ค้าตา่ งๆจะอยใู่ นรูปของแถบสดี าและขาวตอ่ เนอื่ งกนั ไป เรียกวา่ รหสั บาร์โคดเครื่องอา่ นรหสั บาร์โคดจะอา่ นข้อมลู บนแถบบาร์โคด เพื่อเรียกข้อมลู จากรายการสนิ ค้านนั้ เช่นราคาสนิ ค้าจานวนทเี่ หลอื อยใู่ นคลงั สนิ ค้า เป็ นต้น ออกมาจากฐานข้อมลู แล้วจึงทาการประมวลผลข้อมลู รายการนนั้ ในปัจจบุ นั บาร์โคคได้รับความนยิ มอยา่ งมาก เน่อื งจากไมต่ ้องทาการพมิ พ์ข้อมลู เข้าด้วยแป้ นพมิ พ์ จึงลดความผดิ พลาดของข้อมลู และประหยดั เวลาได้มาก ระบบบาร์โคดเป็ นสงิ่ ท่ีผ้ใู ช้จะพบเหน็ ในชีวติ ประจาวนั ได้บอ่ ยทส่ี ดุเชน่ ในห้างสรรพสนิ ค้า ร้านขายหนงั สอื และห้องสมดุ เป็ นต้น สแกนเนอร์ (Scanner) เป็ นอปุ กรณ์ทใ่ี ช้อา่ นหรือสแกน (Scan) ข้อมลู บนเอกสารเข้าสเู่ คร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยใช้วธิ ีสอ่ งแสงไปยงั วตั ถทุ ีต่ ้องการ แสงท่สี อ่ งไปยงั วตั ถแุ ล้วสะท้อนกลบั มาจะถกู สง่ ผา่ นไปท่ีเซลลไ์ วแสง (Charge-Coupled Device หรือ CCD) ซงึ่ จะทาการตรวจจบั ความเข้มของแสงทีส่ ะท้อนออกมาจากวตั ถแุ ละแปลงให้อยใู่ นรูปของข้อมลู ทางดิจติ อล เอกสารทีอ่ า่ นอาจจะประกอบด้วยข้อความหรือรูปภาพกราฟิ กก็ได้ กล้องถา่ ยภาพดิจติ อล (Digital camera) เป็ นอปุ กรณ์ท่ใี ช้สาหรับถา่ ยภาพแบบไมต่ ้องใช้ฟิลม์ โดยเก็บภาพท่ีถา่ ยไว้ในลกั ษณะดจิ ิตอลด้วยอปุ กรณ์ CCD (Charge Coupled Device) ภาพทไ่ี ด้จะประกอบด้วยจดุเลก็ ๆ จานวนมาก และสามารถนาเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพอื่ ใช้งานได้โดยไมต่ ้องใช้อปุ กรณ์สแกนเนอร์อกี เป็ นอปุ กรณ์ทเี่ ริ่มได้รับความนยิ มเพม่ิ ขนึ ้ เรื่อยๆ เน่ืองจากไมต่ ้องใช้ฟิลม์ ในการถ่ายภาพและสามารถดผู ลลพั ธ์ได้จากจอทต่ี ิดอยกู่ บั กล้องได้ในทนั ที

19กล้องถ่ายทอดวีดโี อดิจิตอล (Digital Video) เป็ นอปุ กรณ์ท่ีใช้สาหรับบนั ทกึ ภาพเคลอื่ นไหว และเก็บเป็ นข้อมลูแบบดิจิตอล นิยมใช้ในการประชมุ ทางไกลผา่ นวดิ ีโอ (Video conference) ซง่ึ เป็ นการประชมุ แบบกลมุ่ ผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เช่น ผา่ นอนิ เทอร์เน็ต เป็ นต้น อยา่ งไรก็ดกี ล้องถา่ ยทอดวดี ีโอแบบดจิ ติ อลยงั อยู่2.3 อุปกรณ์แสดงผล (Output devices) หมายถึง การแสดงผลออกมาให้ผ้ใู ช้ได้รับทราบในขณะนนั้ แตเ่ ม่ือเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้วผลนนั้ ก็จะหายไป ไม่เหลือเป็ นวตั ถใุ ห้เก็บได้ แต่ถ้าต้องการเก็บผลลพั ธ์นนั้ ก็สามารถสง่ ถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพ่ือให้สามารถใช้งานในภายหลงั หนว่ ยแสดงผลท่ีจดั อยใู่ นกลมุ่ นี ้คือ2.3.1 หน่วยแสดงผลช่วั คราว หมายถงึ การแสดงผลออกมาให้ผ้ใู ช้ได้รับทราบในขณะนนั้ แตเ่ มอื่ เลกิ การทางานหรือเลกิ ใช้แล้วผลนนั้ก็จะหายไป ไมเ่ หลอื เป็ นวตั ถใุ ห้เก็บได้ แตถ่ ้าต้องการเก็บผลลพั ธ์นนั้ ก็สามารถสง่ ถา่ ยไปเก็บในรูปของข้อมลู ในหนว่ ยเก็บข้อมลู สารอง เพื่อให้สามารถใช้งานในภายหลงั หนว่ ยแสดงผลทีจ่ ดั อยใู่ นกลมุ่ นี ้คอื จอภาพ (Monitor) ใช้แสดงข้อมลู หรือผลลพั ธ์ให้ผ้ใู ช้เห็นได้ทนั ที มีรูปร่างคล้ายจอภาพของโทรทศั น์บนจอภาพประกอบด้วยจดุ จานวนมากมาย เรียกจดุ เหลา่ นนั้ วา่ จดุ ภาพ (pixel) ถ้ามจี ดุ ภาพจานวนมากก็จะทาให้ผ้ใู ช้มองเหน็ ภาพบนจอได้ชดั เจนมากขนึ ้ จอภาพทีใ่ ช้ในปัจจบุ นั แบง่ ได้เป็ นสองประเภท คือ

20 - จอซอี าร์ที (Cathode Ray Tube) นยิ มใช้กบั เครื่องไมโครคอมพวิ เตอร์สว่ นมากในปัจจบุ นั ใช้หลกั การยงิ แสงผา่ นหลอดภาพคล้ายกบั โทรทศั น์ - จอภาพแอลซดี ี (Liquid Crystal Display) เป็ นจอภาพทมี่ ลี กั ษณะบาง นา้ หนกั เบาและกินไฟน้อย แตม่ ีราคาสงู เทคโนโลยีจอแอลซีดใี นปัจจบุ นั จะมีสองแบบคอื Passive Matrix ซงึ่ มรี าคาตา่ แตข่ าดความคมชดั และอาจมองไมเ่ ห็นภาพเมอื่ ผ้ใู ช้มองจากบางมมุ สว่ น Active Matrix หรือบางครัง้ อาจเรียกวา่ Thin FilmTransistor (TFT) จะให้ภาพทีค่ มชดั กวา่ แตจ่ ะมรี าคาสงู กวา่ มาก ในสว่ นความละเอยี ดของจอภาพ ปัจจบุ นั นิยมใช้จอภาพชนิดสแี บบ Super Video Graphic Adapter หรือเรียกสนั้ ๆวา่ ซเู ปอร์วจี เี อ (Super VGA) ซง่ึ มคี วามละเอยี ด 800x600 จดุ ภาพ สาหรับจอภาพท่มี คี วามละเอยี ดตา่ (low resolution) สว่ นจอภาพทม่ี คี วามละเอยี ดสงู จะนยิ มใช้ความละเอยี ดท่ี 1024x768, 1280x1024 หรือ 1600x1200 จดุ ภาพ (pixel) ซง่ึ จะให้ความคมชดั ที่สงู มาก ปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ภาพดคู มชดั มากขนึ ้ ถึงแม้ว่าจะมีจานวนจดุ ภาพเท่ากนั ก็คือ ระยะห่างระหว่างจุดภาพ (dot pitch) โดยระยะห่างระหว่างจุดภาพน้อยก็จะให้ความละเอียดได้มากกวา่ จอภาพที่มีขายในท้องตลาดปัจจุบนั มีระยะหา่ งระหว่างจุดภาพอย่รู ะหว่าง 0.25-0.28 หน่วย ซึ่งระยะห่างระหวา่ งจุดภาพนี ้เป็ นสงิ่ ท่ีติดมากับเครื่องไม่สามารถเปลยี่ นแปลงได้ในสว่ นของจานวนสีนนั้ ณ ขณะใดขณะหน่งึ แต่ละจุดภาพจะแสดงสีได้เพียงสีเดียวเทา่ นนั้ ซึ่งสีต่างๆ จะถกู

21แทนด้วยตวั เลข ดงั นนั้ ถ้าจอภาพแสดงได้ 16 สี เลขเหลา่ นนั้ ก็จะแทนด้วย 4 บิต ถ้าต้องการแสดงถึง 256 สีก็จะต้องใช้ 8 บิตแทนรหสั สีนนั้ ๆ การ์ดวิดีโอ (Video Card) การต่อจอภาพเข้ากบั เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์นนั้ จะต้องมีแผงวงจรกราฟิ ก (Graphic Adapter Board) หรือเรียกอีกอย่างหน่งึ วา่ การ์ดวีดีโอ (video card) ซงึ่ จอภาพแต่ละชนิดต้องการแผงวงจรท่ีตา่ งกนั แผงวงจรกราฟิ กจะถูกเสยี บเข้ากับ ช่องขยายเพ่ิมเติม (expansion slot) ในคอมพิวเตอร์แผงวงจรกราฟิ กมกั จะมีหนว่ ยความจาเฉพาะที่เรียกวา่ หน่วยความจาวีดีโอ (video memory)เพ่ือให้ใช้โปรแกรมด้านกราฟิ กได้สวยงามและรวดเร็ว ซง่ึ หนว่ ยความจานีอ้ าจใช้แรมธรรมดาหรือแรมแบบพิเศษตา่ งๆ เพื่อให้สามารถทางานได้เร็วขึน้ เช่น วีดีโอแรม (video RAM) ซงึ่ บางครัง้ เรียกวา่ วีแรม (VRAM) เป็ นต้น ปัจจยั ประการหน่งึ ท่ีผ้ใู ช้จอภาพต้องคานึง คือ อตั ราการเปลีย่ นภาพ (refresh rate) ของการ์ดวีดีโอโดยภาพท่ีแสดงบนจอภาพแต่ละภาพนนั้ จะถกู ลบและแสดงภาพใหมเ่ ร่ิมจากบนลงลา่ ง หากอตั ราการเปลย่ี นภาพในแนวด่ิง (Vertical-refresh rate) เป็ น 60 ครัง้ ต่อวินาที หรือ 60 Hz จะเกิดการกระพริบทาให้ผ้ใู ช้ปวดศีรษะได้มีผ้วู ิจยั พบวา่ อตั ราเปลย่ี นภาพในแนวดิ่งไมค่ วรตา่ กว่า 70 Hz จึงจะไมเ่ กิดการกระพริบและทาให้ผ้ใู ช้ดจู อภาพได้อย่างสบายตา นอกจากนีย้ งั มีอปุ กรณ์สาหรับถอดรหสั ภาพแบบ MPEG (MotionPicture Experts) ซ่ึงอาจอย่ใู นรูปของซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์ที่ติดอย่บู นการ์ดวีดีโอ อนั จะทาให้สามารถแสดงภาพเคล่ือนไหว เช่น ภาพยนตร์ต่างๆ บนจอคอมพิวเตอร์ได้อยา่ งต่อเนื่อง อปุ กรณ์เสียง (Audio Output) คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ มกั จะมีหน่วยแสดงเสียง ซง่ึ ประกอบด้วยลาโพง(speaker) และ การ์ดเสยี ง (sound card) เพ่ือให้ผ้ใู ช้สามารถฟังเพลงในขณะทางาน หรือให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์รายงานเป็ นเสียงให้ทราบเมื่อเกิดปัญหาตา่ งๆ เช่น ไม่มีกระดาษในเครื่องพิมพ์ เป็ นต้น รวมทงั้สามารถเลน่ เกมส์ที่มีเสียงประกอบได้อยา่ งสนกุ สนาน โดยลาโพงจะมีหน้าท่ใี นการแปลงสญั ญาณจากคอมพิวเตอร์ให้เป็ นเสยี งเช่นเดียวกับลาโพงวิทยุ ส่วนการ์ดเสียงจะเป็ นแผงวงจรเพิ่มเติมท่ีนามาเสียงกับช่องเสียบขยายในเมนบอร์ด เพ่ือช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถสง่ สญั ญาณเสียงผา่ นลาโพง รวมทงั้ สามารถต่อ

22ไมโครโฟนเข้ามาที่การ์ดเพ่ือบนั ทึกเสียงเก็บไว้ด้วย2.3.2 หน่วยแสดงผลถาวร หมายถึง การแสดงผลท่ีสามารถจบั ต้องและเคล่ือนย้ายได้ตามต้องการมกั จะออกมาในรูปของกระดาษเช่น เคร่ืองพิมพ์ (Printer) เป็ นอปุ กรณ์ที่นิยมใช้กันมาก มีให้เลอื กหลายชนิดขนึ ้ อย่กู บั คุณภาพของตวั อกั ษร ความเร็วในการพิมพ์ และเทคโนโลยีท่ีใช้งาน เครื่องพิมพ์สามารถแบ่งตามวิธีการพิมพ์ได้ 2 ชนิดคือ เครื่องพิมพ์แบบกระทบหรือตอก (Impact printer) เป็ นการใช้หวั เข็มตอกให้คาร์บอนบนผ้าหมกึ ติดบนกระดาษตามรูปแบบท่ีต้องการ สามารถพิมพ์ครัง้ ละหลายชุดโดยใช้กระดาษคาร์บอนวางระหวา่ งกระดาษแต่ละแผ่นได้ สว่ นข้อเสียของเครื่องพิมพ์ชนิดนี ้คือ มีเสียงดงั และคณุ ภาพงานพิมพ์ไม่ดีนกั เครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบหรือไมต่ อก (Nonimpact printer) เป็ นการพิมพ์โดยใช้หมึกพน่ ไปบนกระดาษหรือใช้ความร้ อนและความดนั เพ่ือละลายหมึกให้เป็ นลกั ษณะของอกั ขระ เป็ นการพิมพ์ท่ีเร็วและคมชดั กว่าแบบกระทบ และพิมพ์ได้ทงั้ ตวั อกั ษรและภาพกราฟิ ก รวมทงั้ ไม่มีเสียงขณะพิมพ์ แต่มีข้อจากดั คือไม่สามารถพิมพ์กระดาษแบบสาเนา (copy) ได้

23 เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser printer) ทางานคล้ายกับเครื่องถ่ายเอกสาร คือ มีแสงเลเซอร์สร้ างประจุไฟฟ้ า ซ่ึงจะมีผลให้โทนเนอร์ (toner) สร้ างภาพท่ีต้องการและพิมพ์ภาพนนั้ ลงบนกระดาษ เคร่ืองพิมพ์เลเซอร์จะมีรุ่นตา่ งๆท่ีแตกตา่ งกนั ในด้านความเร็ว และความละเอียดของงานพิมพ์ ในปัจจุบนั สามารถพิมพ์ได้ละเอียดสงู สดุ ถึง 1200 จุดต่อนิว้ (dot per inch หรือ dpi) เครื่องพิมพ์พ่นหมึก (Inkjet printer) นิยมใช้กบั เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ สว่ นมากจะพิมพ์สีได้ ถึงแม้จะไม่คมชดั เทา่ เคร่ืองพิมพ์ชนิดเลเซอร์ แตก่ ็คมชดั กว่าเครื่องพิมพ์ชนิดตอก และมีราคาถกู กว่าเคร่ืองพิมพ์ชนิดเลเซอร์ นิยมนามาใช้งานตามบ้านอยา่ งมาก

24 เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ใช้วาดหรือเขียนภาพสาหรับงานท่ีต้องการความละเอียดสงู ๆ นิยมใช้กบังานออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม มีให้เลือกหลายชนิดโดยจะแตกตา่ งกนั ในด้านความเร็วขนาดกระดาษ และจานวนปากกาท่ีใช้เขียนในแต่ละครัง้ มีราคาแพงกวา่ เคร่ืองพิมพ์ธรรมดา

253. หน่วยความจา Memory อุปกรณ์สว่ นท่ีสาคญั อย่างหนึ่งที่คอมพิวเตอร์จะขาดไม่ได้คือ หน่วยความจา Memory ซึ่งมีหลายประเภทตามลกั ษณะการทางาน ดงั นี ้3.1 หน่วยความจารอม (ROM) และ (RAM) คาว่า ROM ยอ่ มาจาก Read Only Memory เป็ นหนว่ ยความจาท่ีเก็บข้อมลู แบบถาวร รอมท่ีใช้บนั ทึกข้อมลู ของอปุ กรณ์ท่ีติดตงั้ บนเมนบอร์ด เช่น ขนาดและประเภทของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ ขนาดของแรม หน่วยประมวลผลท่ีใช้การติดตงั้ หน่วยขบั แผ่นบนั ทกึ (Floppy drive) เป็ นต้น ข้อมูลที่บนั ทึกในรอม จะยงั คงอย่แู ม้จะปิ ดเคร่ือง หน้าที่ของรอมคือจะตรวจสอบวา่ มีอุปกรณ์ใดบ้าง ท่ีติดตงั้ ใช้งาน หากตรวจสอบไม่อุปกรณ์ท่ีสาคญั ๆ เช่น ไม่พบฮาร์ดดิสก์ ซีพียู หรือแรม รอมจะหยุดการทางาน คาวา่ RAM ย่อมาจาก Random Access Memory เป็ น หน่วยเก็บข้อมลู หลกั ของคอมพิวเตอร์ แต่ข้อมลู จะสญู หายทนั ที เม่ือปิ ดเคร่ือง ในการใช้งานจริง จึงต้องบนั ทกึ ข้อมลู ไว้ในฮาร์ดดิสก์ก่อนปิ ดเคร่ือง หน่วยความจาแรม มีหนว่ ยวดั เป็ น ไบต์ (byte) ซึ่งถ้าเป็ นเครื่องรุ่นเก่าจะนิยมใช้หนว่ ยความจาแรม 8หรือ 16 เมกะไบต์ (Megabyte) แต่ถ้าเป็ นเครื่องรุ่นใหมๆ่ จะใช้แรมขนาด 128 หรือ 256 MB ขึน้ ไป ซึ่งจะทาให้สามารถทางานกบั โปรแกรมรุ่นใหม่ หรือกับแฟ้ มข้อมลู ที่มีขนาดใหญ่ๆ เช่น งานมลั ติมีเดียหรืองานกราฟิ กได้3.2 DRAM (ดีแรม) และ SDRAM (เอสดีแรม) DRAM เป็ นหนว่ ยความจาหลกั ของเคร่ือง นิยมใช้มากในสมยั ก่อนเพราะราคาไม่แพง แต่ทางานได้ช้ามากปัจจุบนั มีการใช้ SDRAM (Synchronous DRAM) ซึ่งเป็ นหน่วยความจาท่ีมีประสทิ ธิภาพสงู มาก ในสมยั ก่อนอาจจะมีราคาสงู แต่ปัจจุบนั ราคาได้ถกู ลงมาก คนจึงนิยมใช้ SDRAM มากขนึ ้

26 SIMM (ซิม) เป็ นแผงวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ใี ช้สาหรับติดตงั้ หน่วยความจา ติดตงั้ บนเมนบอร์ด เราสามารถเพิ่มจานวนแรมโดยเสียบแผงวงจรเข้ากบั ซิมนี ้ เพียงเทา่ นีก้ ็สามารถเพิ่มแรมได้อย่างง่ายๆสะดวกรวดเร็วและสามารถทาได้ด้วยตนเอง ดงั นนั้ ข้อจากดั ของการเพ่ิมแรม คือ จานวนช่องของ SIMM และขนาดของแรมแต่ละแผงท่ีนามาเสียบลงบน SIMM3.3 หน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) หมายถึง หนว่ ยความจาประเภทหนงึ่ ใช้สาหรับแสดงผล เป็ นหนว่ ยความจาท่ีถกู สร้างขนึ ้ มาในกรณีท่ีหน่วยความจาแรมไม่พอใช้ โดยระบบปฏิบตั ิการจะมีการนาเอาพืน้ ท่ีในฮาร์ดดิสก์บางสว่ นมาเป็ นพืน้ ท่ีทางานชว่ั คราวในขณะเปิ ดแฟ้ มข้อมลู และจะลบทิง้ เม่ือปิ ดแฟ้ มข้อมลู เราจึงเรียกว่า “หน่วยความจาเสมือน” ข้อเสียของการใช้หนว่ ยความจาเสมือนคือ ถ้าพืน้ ท่ีว่างมีน้อยกวา่ ท่ีกาหนดไว้ คอมพิวเตอร์จะทางานช้าลง การใช้งานฮาร์ดดิสก์จึงมกั จะให้มีเนือ้ ที่ท่ีไม่ได้ใช้งาน เหลือไว้ไม่น้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ ในการใช้งานคอมพิวเตอร์นนั้ เราจะต้องเลือกขนาดของแรมที่เหมาะสม โดยเฉพาะโปรแกรมปฏิบตั ิการ(OS) รุ่นใหม่ๆ เช่น Windows 98, Windows XP เป็ นระบบปฏิบตั ิการขนาด 32 บิต ต้องใช้แรม 64 MB ขึน้ไป หากใช้แรมน้อยกว่านีเ้ ครื่องอาจจะทางานช้ามากหรืออาจหยดุ ชะงกั ได้ง่าย3.4 หน่วยความจาแคช (Memory Cache) และ บัส (Bus) หน่วยความจาแคชเป็ นหน่วยความจาที่ช่วยให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทางานได้เร็วขนึ ้ เป็ นการเก็บข้อมลู ที่เราเคยเรียกใช้แล้วเอาไว้ในกรณีท่ีเราต้องการเรียกใช้ก็มาเรียกข้อมลู จากแคช ซ่ึงจะดงึ ข้อมูลได้เร็วกว่า

27หน่วยความจาดิสก์มากหน่วยความจาแคช มี 2 ประเภท คือ 1. แคชภายใน ติดตงั้ อย่ภู ายในซีพียู เวลาเคร่ืองประมวลผล ก็จะเรียกเก็บข้อมลู ท่ีเก็บไว้ที่แคชใกล้ๆซีพียูมาใช้ ได้ อย่างรวดเร็ ว 2. แคชภายนอก จะติดตงั้ อย่บู นเมนบอร์ดเหมือนแรม ถ้าเคร่ืองไม่พบแคชในซีพียกู ็จะมองหาแคชภายนอก ถ้าพบก็จะนามาใช้งาน ซงึ่ ก็จะทางานได้ช้ากว่าแคชภายในอย่บู ้างเป็ นเส้นทางว่ิงระหวา่ งข้อมูลหรือคาสงั่ การวดั ขนาดความกว้างของ บสั เราเรียกวา่ “บิต” 8 บิต เท่ากบั 1ไบต์ หรือ 1 ตวั อกั ษร สว่ นความเร็วของ บสั วดั ด้วยหนว่ ยเมกะเฮิรตซ์ (Mhz) หรือหนง่ึ ล้านรอบต่อวินาที บสัท่ีนิยมใช้ในปัจจุบนั คือ บสั แบบ PCI (Peripheral Component Interconnect) มีความกว้างของสญั ญาณท่ี

28ใช้รับสง่ ข้อมลู ถึง 32 หรือ 64 บิต ความเร็วมากกว่า 300 MHz ขึน้ ไป นอกจากนี ้PCI ยงั สนบั สนุนคณุ สมบตั ิPlug and Play ที่ใช้ในการติดตงั้ โปรแกรมท่ใี ช้ควบคุมอุปกรณ์ใหม่ด้วย3.5 หน่วยข้อมูลสารอง คอมพิวเตอร์หรือซีพียจู ะเรียกใช้ข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมลู หลกั คือ แรมก่อน หากข้อมลู ท่ีต้องการไม่มีในแรม ก็จะทาการอา่ นข้อมูลจากหนว่ ยเก็บข้อมลู สารองไปเก็บไว้ท่ีแรม เพราะหน่วยเก็บข้อมลู สารองสามารถจะเก็บรักษาข้อมลู ไว้ได้ แม้วา่ จะปิ ดเครื่อง และเก็บข้อมลู ได้มากกว่าหน่วยเก็บข้อมลู หลกั หน่วยเก็บข้อมูลสารองแบ่งออกเป็ น แผ่นบนั ทกึ (Floppy Disk) หรือที่นิยมเรียกว่า ดิสเก็ตต์ (diskette) มีลกั ษณะเป็ นแผ่นแม่เหลก็ ทรงกลม มีพลาสติกแข็งเป็ นกรอบสเ่ี หล่ยี มครอบไว้ชนั้ นอก ขนาด 3.5 นิว้ สามารถจุข้อมูลได้ 1.44 MB ก่อนการใช้งานจะต้องทาการฟอร์แมตแผ่นก่อน ปัจจุบนั แผ่นดิสเก็ตต์จะฟอร์แมตมาจากโรงงานผ้ผู ลิตแล้ว สามารถนามาใช้งานได้ทนั ที การใช้งานจะเสียบใสใ่ นเครื่องขบั แผ่นบนั ทึก (Floppy Drive) ซึ่งเป็ นอุปกรณ์อา่ นและเขียนแผ่นดิสก์ ติดตงั้ อย่ภู ายในตวั ถงั ของเครื่อง แผ่นบนั ทกึ (Floppy disk) เก็บข้อมลู ได้ไม่มากนกั เหมาะสาหรับการพกพา เพราะมีขนาดเล็กสามารถนาข้อมูลไปใช้งานกบั คอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืนๆ ได้สะดวกจานบนั ทึกแบบแข็ง (Hard Disk) เป็ นหนว่ ยเก็บข้อมูลขนาดใหญ่สามารถเก็บข้อมลู ได้มากกว่าฟลอปปี ด้ ิสก์หลายล้านเท่า ฮาร์ดดิสก์ติดตงั้ ในตวั เคร่ือง มีขนาดประมาณ 3.5 นิว้ แต่มีความหนากว่าฟลอปปี ้ดิสก์ มีตวัอ่านข้อมูลอย่ภู ายใน ในปัจจุบนั มีฮาร์ดดิสก์ตงั้ แต่ 40 กิกะไบต์ (GB) ขึน้ ไป จึงสามารถเก็บข้อมลู ได้มากรวมทงั้ โปรแกรมตา่ งๆ ในปัจจุบนั ที่ต้องการพืน้ ที่ในการเก็บข้อมูลมากขนึ ้ โดยเฉพาะโปรแกรมประเภทกราฟฟิ กหรือมลั ติมีเดีย จาเป็ นต้องใช้พืน้ ที่เก็บข้อมลู มากพอจึงจะใช้งานได้

29ซีดี – รอม (CD-ROM) ย่อมาจากคาว่า Compact Disk Read – Only Memory เป็ นหน่วยเก็บข้อมลู ท่ีได้รับความนิยมมากราคาไมแ่ พง มีอายกุ ารใช้หลายปี และมีขนาดเล็ก ซีดีรอมเป็ นแผน่ พลาสติกกลม เส้นผ่านศนู ย์กลาง 4.75 นิว้ ผิวหน้าเคลอื บด้วยโลหะสะท้อนแสง เพ่ือป้ องกนั ข้อมูลที่บนั ทึกไว้บนั ทกึ และอา่ นข้อมลูด้วยแสงเลเซอร์ ปกติซีดีรอมในปัจจุบนั จะมีความจุประมาณ 700 MB หรือเท่ากบั หนงั สือประมาณ 700,000หน้า หรือเทา่ กับฟลอปปี ด้ ิสก์ขนาด 1.44 MB ถึง 700 แผ่น สามารถบนั ทกึ ข้อมลู ได้มาก โดยเฉพาะงานด้านมลั ติมีเดียทงั้ ภาพ แสง เสียง ในเวลาเดียวกนั ที่สาคญั คือ เป็ นระบบที่ปลอดภยั จากไวรัสดีวีดี – รอม (DVD-ROM) ย่อมาจาก Digital Video Disk Read – Only Memory เป็ นหนว่ ยเก็บข้อมลู รองชนิดหนึ่งท่ีกาลงั ได้รับความนิยมมากลกั ษณะคล้ายซีดีรอมแตส่ ามารถเก็บข้อมูลได้มากกวา่ ซีดีรอมหลายเทา่คือ ขนาดมาตรฐานเก็บข้อมลู ได้ 4.7 GB หรือ 7 เท่าของซีดีรอม และพฒั นาต่อเน่ืองไปตลอดดีวีดีแผ่นหน่งึสามารถบรรจุภาพยนตร์ความยาวถึง 133 นาทีได้โดยใช้ลกั ษณะการบีบอดั ข้อมูลแบบ MPEG-2 และระบบเสียงแบบดอลบี (Dolby AC-3) ปัจจุบนั ดีวีดีนิยมใช้ในการบนั ทึกภาพยนตร์และมลั ติมีเดีย

304. ซอร์ฟแวร์ Software คอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้เลยหากปราศจาก ซอร์ฟแวร์ Software ท่ีจะคอยรับคาสง่ั ในรูปแบบตา่ ง ๆ ไปประมวลผล และแสดงผลออกมา4.1 ชนิดของ software ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System Software-OS) หมายถึง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ควบคมุ การทางานทงั้ หมดของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์ทกุ เครื่องจะต้องมีระบบปฏิบตั ิการอย่างใดอย่างหนงึ่ เสมอ ระบบปฏิบตั ิการยอดนิยมในปัจจุบนั คือ Windows 95, Windows 98, Windows2000,Windows Me, Windows XP, Linux, DOS เป็ นต้น ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมท่ีเขียนขึน้ มาเพื่อส่งั ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมระบบบญั ชี โปรแกรมออกแบบ โปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ เช่นMicrosoft Word, Excel, PowerPoint เป็ นต้นการใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทางานด้ านต่ างๆ เมื่อหลายปี ก่อน คอมพิวเตอร์มีอย่ไู ม่มากนกั สว่ นใหญ่จะเป็ นระบบเมนเฟรม ซึ่งมีขนาดใหญ่และราคาแพง สว่ นมากจะใช้งานทางด้านวิทยาศาสตร์เท่านนั้ ซึ่งจะไมเ่ กี่ยวข้องกับชีวิตประจาวนั มากนกั แต่ในปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ได้มีขนาดเล็กลง และ ราคาไมแ่ พงนกั คนทว่ั ไปสามารถซือ้ หามาใช้ได้เหมือนกบั

31เคร่ืองใช้ไฟฟ้ าโดยทว่ั ไป ในหนว่ ยงานทงั้ ภาครัฐบาลและเอกชนมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในหน่วยงานขนึ ้และมีแนวโน้มท่ีจะมีการใช้สงู ขนึ ้ โดยปัจจุบนั การใช้คอมพิวเตอร์มีหลากหลายลกั ษณะ ได้แก่ 1. คอมพิวเตอร์ในสถานศกึ ษา 2. คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม 3. คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์ 4. คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 5. คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร 6. คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก 7. คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ 8. คอมพิวเตอร์ในการคมนาคม และการส่ือสาร 9. คอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม 10. คอมพิวเตอร์ในวงราชการ1. คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา ปัจจุบนั ตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอยา่ งมากมาย รวมทงั้ ใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจดั ทาประวตั ินกั เรียน ประวตั ิครูอาจารย์ การคดั คะแนนสอบ การจดั ทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมดุ การจัดทาตารางสอน เป็ นต้น ตวั อยา่ งในการประยกุ ต์ด้านการศกึ ษา เช่น โปรแกรมรายงานการลงทะเบียนเรียน โปรแกรมตรวจข้อสอบ เป็ นต้น2. คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม คอมพิวเตอร์สามารถทางานในด้านวิศวกรรมได้ตงั้ แต่ขนั้ ตอนการลอกเขียนแบบ จนกระทง่ั ถึงการออกแบบโครงสร้างของสถาปัตยกรรมต่างๆ ตลอดจนช่วยคานวณโครงสร้าง ช่วยในการวางแผนและควบคมุการสร้ าง

323. คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์สามารถทางานร่วมกบั เคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เช่น เครื่องมือวิเคราะห์สารเคมีเคร่ืองมือการทดลองต่างๆ แม้กระทง่ั การเดินทางของยานอวกาศตา่ งๆ การถ่ายพืน้ ผิวโลกบนดาวองั คารเป็ นต้น4. คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ คอมพิวเตอร์สามารถจดั เก็บข้อมลู ได้มากมาย มีความรวดเร็ว และถกู ต้อง ทาให้สามารถได้ข้อมลู ท่ีช่วยให้สามารถตดั สินใจในการดาเนินธุรกิจ ตลอดจนงานทางด้านเอกสารงานพิมพ์ต่างๆ เป็ นต้น5. คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร ในแวดวงธนาคารนบั ได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทมากที่สดุ เพราะธนาคารจะมีการนาข้อมูลTransaction) เป็ นประจาทกุ วนั การหาอตั ราดอกเบีย้ ต่างๆ นอกจากนีก้ ารใช้บริการ ATM ซึ่งลกู ค้าสามารถ

33ฝากถอนเงินได้จากเคร่ืองอตั โนมตั ิ ซึ่งจะให้สะดวกแก่ผ้ใู ช้บริการเป็ นอย่างย่ิง และเป็ นที่นิยมแพร่หลายในปัจจุบนั6. คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก ปัจจุบนั เห็นได้ว่า ได้มีธุรกิจร้านค้าปลกี หรือท่ีเรียกว่า \"เฟรนไซน์\" เป็ นจานวนมาก ได้มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการ ให้บริการลกู ค้า เช่น ให้บริการชาระ คา่ นา้ - ไฟฟ้ า คา่ โทรศพั ท์ เป็ นต้น จะเห็นได้ว่ามีการonline ระหวา่ งร้านค้าเหล่านนั้ กบั หน่วยงานนนั้ ๆ เพ่ือสามารถตดั ยอดบญั ชีได้ เป็ นต้น7. คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์ คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในการเก็บประวตั ิของคนไข้ ควบคุมการรับและจ่ายยา ตลอดจนยงั อย่ใู นอปุ กรณ์เคร่ืองมือทางการแพทย์ เช่น เคร่ืองมือผา่ ตดั บนั ทึกการเต้นของหวั ใจ ตรวจคล่นื สมอง และด้านการหาตาแหนง่ ของอวยั วะก่อนการผ่าตดั เป็ นต้น

348. คอมพิวเตอร์ในการคมนาคม และการส่ือสาร ในยคุ ปัจจุบนั เราเรียกวา่ เป็ นยคุ ที่เป็ นการสื่อสารแบบไร้ พรมแดน จะเห็นได้วา่ มีการส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆในเครือข่ายสาธารณะ ที่เรียกว่า เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซ่ึงสามารถที่จะสื่อสาร กับทกุ คนได้ทวั่ มมุ โลกโดยผ่านเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์นี ้และยงั มีโปรแกรมที่ สามารถจะใช้ในการพดู คยุ กนั ได้ ไม่ว่าจะเป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ด้วยกันใช้คยุ กนั หรือจะเป็ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์สื่อสาร กบั เคร่ืองโทรศพั ท์ที่บ้านหรือท่ีทางานหรือแม้กระทง่ั การสง่ pager ในปัจจุบนั สามารถสง่ ทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยงั เครื่องลกู ได้ เป็ นต้นสาหรับการใช้คอมพิวเตอร์ ในทางโทรคมนาคมจะเห็นว่า ปัจจุบนั การจองตว๋ั เครื่องบิน จะมีการนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็ นจานวนมาก รวมถึงการจองตวั๋ ผ่านทาง Internet ด้วยตนเอง เห็นได้ว่าเพ่ิมความสะดวกสบาย ให้แก่ผ้ใู ช้บริการ และนอกจากนี ้ ยงั มีเครือข่ายของสายการบินทว่ั โลก ทาให้ผ้ใู ช้บริการสามารถเลอื กจองได้ ตามสายการบินต่างๆ เป็ นต้น ตวั อย่าง การตรวจสอบราคาค่าโดยสาร และเวลาของแต่ละเท่ียวบินผ่านทาง internet9. คอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม ในวงการอตุ สาหกรรมนบั ได้วา่ คอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทเป็ นอย่างมาก ตงั้ แต่การวางแผนการผลิตกาหนดเวลาการผลติ จนกระทงั่ ถึงการผลิตสินค้า ควบคมุ ระบบ การผลติ ทงั้ หมด ในรายงานทางอุตสาหกรรม ได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ใน การควบคมุ การทางานของเครื่องจกั ร เช่น การเจาะ ตดั ไส

35กลงึ เป็ นต้น ตลอดจนโรงงานผลิตรถยนต์ ก็จะใช้ ห่นุ ยนต์คอมพิวเตอร์ในการทาสี พ่นสี รวมถึงการประกอบรถยนต์ เป็ นต้น10. คอมพิวเตอร์ในวงราชการ คอมพิวเตอร์ถกู นามาใช้ในงานทะเบียนราษฎร์ ช่วยในการนบั คะแนนการเลือกตงั้ และการประกาศผลเลือกตงั้ การคิดภาษีอากร การเก็บข้อมลู สถิติสมั มโนประชากร การเก็บเงินคา่ ไฟฟ้ า นา้ ประปา คา่ ใช้โทรศพั ท์ เป็ นต้น6. เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคม ในบทนีจ้ ะเป็ นเนือ้ หาเก่ียวกบั เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของโลก ผลกระทบ6.1 การเปล่ียนแปลงของโลก เมื่อเทคโนโลยีพฒั นาไปสสู่ งั คมขา่ วสาร ผลกระทบย่อมเกิดขึน้ ทงั้ ทางบวกและทางลบ เราจะเตรียมพร้ อมรับการเผชิญหน้ากบั การเปลยี่ นแปลงเหลา่ นนั้ ได้อย่างไร6.1.1 ความหมายของสังคมสารสนเทศ สงั คมสารสนเทศหรือสงั คมข่าวสาร (The information society) เป็ นสงั คมที่มีการใช้สารสนเทศรูปแบบตา่ งๆ เพ่ือประกอบการตดั สินใจทงั้ เพ่ือประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม ใน

36สงั คมสารสนเทศจะทาให้เราได้รับสารสนเทศท่ีมีคณุ ภาพ ตรงกบั ความต้องการและทนั เวลา ในสงั คมสารสนเทศ เราสามารถแบ่งกล่มุ เทคโนโลยีตา่ งๆท่ีจดั อย่ใู นประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดงั นี ้ คือ1) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ 2) เทคโนโลยีโทรคมนาคมหรือการส่ือสารข้อมูล6.1.2 คุณลักษณะของสังคมสารสนเทศ สงั คมสารสนเทศมีลกั ษณะที่สาคญั ดงั นี ้ 1. เป็ นสงั คมท่ีมีการใช้สารสนเทศที่บนั ทึกอย่บู นสอ่ื ที่เป็ นเอกสาร สง่ิ พิมพ์ และไม่ตีพิมพ์ สอ่ือิเลก็ ทรอนิกส์ เสียงภาพ 2. เป็ นสงั คมท่ีมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือ IT เพื่อการได้มา จดั เก็บ ประมวลผล สืบค้นและเผยแพร่สารสนเทศให้ตรงกบั ความต้องการของผ้ใู ช้อย่างรวดเร็วถกู ต้องและทนั เวลา 3. เป็ นสงั คมท่ีมีการใช้ผลิตภณั ฑ์หรืออุปกรณ์ท่ีมีไมโครโพรเซสเซอร์เป็ นตวั ควบคุมการทางานเคร่ืองอานวยความสะดวกในบ้านและในสานกั งาน ตวั อย่างเช่น หม้อหงุ ข้าวไฟฟ้ า เตาไมโครเวฟ เคร่ืองซกัผ้า เคร่ืองปรับอากาศ อปุ กรณ์กนั ขโมย ระบบควบคมุ ไฟฟ้ า เป็ นต้น 4. เป็ นสงั คมท่ีผ้ใู ช้สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ด้วยตนเองทงั้ โดยทางตรงและทางอ้อมอนันามาซึ่งการเพ่ิมผลผลิตและการเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบการด้านต่างๆ6.1.3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบทางบวก 1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนษุ ย์ 2. ช่วยทาให้การผลติ ในอตุ สาหกรรมดีขนึ ้ 3. ช่วยส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้าวิจัยสง่ิ ใหม่ 4. ช่วยส่งเสริมสขุ ภาพและความเป็ นอยใู่ ห้ดีขึน้ 5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนษุ ย์ 6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง 7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอนั ดีระหว่างกนั 8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย ผลกระทบทางลบ 1. ทาให้เกิดอาชญากรรม 2. ทาให้ความสมั พนั ธ์ของมนษุ ย์เส่อื มถอย 3. ทาให้เกิดความวิตกกงั วล 4. ทาให้เกิดความเส่ยี งภยั ทางด้านธุรกิจ 5. ทาให้การพฒั นาอาวธุ มีอานาจทาลายสงู มากขนึ ้ 6. ทาให้เกิดการแพร่วฒั นธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว

376.2 ความปลอดภัยและความเป็ นส่วนตัว อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์เกิดขนึ ้ ได้หลายรูปแบบ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยสี ารสนเทศกอ่ ให้เกิดปัญหาใหมๆ่ ขนึ ้ ตวั อยา่ งปัญหาอาชญากรรมบนเครือขา่ ย เช่น การขโมยข้อมลู หรือสารสนเทศในขณะที่สง่ ผา่ นไปบนระบบเครือขา่ ย การแอบใช้รหสั ผา่ นของผ้มู อี านาจเพื่อเข้าถงึ และเรียกใช้ข้อมลู ทเ่ี ป็ นความลบั การให้บริการสารสนเทศทม่ี ีการหลอกลวง รวมถงึ การบอ่ นทาลายข้อมลู ทมี่ อี ยใู่ นเครื่องคอมพวิ เตอร์ตา่ งๆในระบบเครือขา่ ย เช่น ไวรัสเครือขา่ ยการแพร่ข้อมลู ทเ่ี ป็ นเท็จ กอ่ ให้เกิดการหลอกลวง และมีผลเสยี ติดตามมาลกั ษณะของอาชญากรรมทเี่ กิดขนึ ้ จากฝีมอื มนษุ ย์ทร่ี ู้จกั กนั ดี ได้แก่ แฮกเกอร์ (Hacker) และแครกเกอร์ (Cracker) แฮก-เกอร์ คือ ผ้ทู มี่ ีความรู้ความชานาญด้านเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ และเครือขา่ ย สามารถเข้าถงึ ข้อมลู ของหนว่ ยงานสาคญั ๆ โดยเจาะผา่ นระบบรักษาความปลอดภยั แตไ่ มท่ าลายข้อมลู หรือหาประโยชน์จากการบกุ รุกคอมพวิ เตอร์ของผ้อู ่นื แตก่ ็ถือได้วา่ เป็ นอาชญากรรมประเภทหนง่ึ ท่ีไมพ่ งึ ประสงค์ สว่ นแครกเกอร์ คือ ผ้ซู งึ่ กระทาการถอดรหสั ผา่ นข้อมลู ตา่ งๆ เพอ่ื ให้สามารถนาเอาโปรแกรม หรือข้อมลู ตา่ งๆ มาใช้ใหมไ่ ด้ เป็ นการกระทาละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ เป็ นการลกั ลอกหรือเป็ นอาชญากรรมประเภทหนงึ่ การละเมิดสิทธิเสรีภาพสว่ นบคุ คล ความเป็ นสว่ นตวั ของข้อมลู และสารสนเทศ เป็ นสิทธิท่ีเจ้าของสามารถท่ีจะควบคมุ ข้อมลู ของตนในการเปิ ดเผยให้กบั ผ้อู ่ืน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งไม่มีขีดจากดัย่อมสง่ ผลตอ่ การละเมิดสิทธิสว่ นบุคคล การนาเอาข้อมูลบางอย่างท่ีเก่ียวกบั บคุ คลออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน ซ่งึ ข้อมูลบางอยา่ งอาจไม่เป็ นจริงหรือยงั ไม่ได้พิสจู น์ความถกู ต้องออกส่สู าธารณชน ก่อให้เกิดความเสยี หายต่อบุคคลโดยไม่สามารถป้ องกนั ตนเองได้ การละเมิดสทิ ธิสว่ นบคุ คลเช่นนีต้ ้องมีกฎหมายออกมาให้ความค้มุ ครองเพ่ือให้นาข้อมลู ต่างๆ มาใช้ในทางที่ถูกต้อง และเพ่ือเป็ นการป้ องกันการละเมิดสทิ ธิความเป็ นสว่ นบคุ คลของข้อมลู และสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวงั การให้ข้อมูลโดยเฉพาะการใช้อินเทอร์เน็ต และผ้ทู ี่เก่ียวข้องจะต้องตระหนกั ถึงบทบาทและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพของตนที่เก่ียวข้องกับข้อมูลสว่ นบคุ คลของผ้อู ่ืน6.3 ทรัพย์สินทางปัญญา ทรัพย์สินทางปัญญา เป็ นผลผลิตที่เกิดจากความคิดของบคุ คลหรือกลมุ่ บคุ คล ซึ่งทรัพย์สินเหลา่ นีจ้ ะได้รับการค้มุ ครองสิทธิตามกฎหมายความลบั ทางการค้า (Trade Secret) กฎหมายลขิ สิทธ์ิ (Copyright)และสิทธิบตั ร (Patent) ตวั อยา่ งปัญหาเก่ียวกบั ทรัพย์สนิ ทางปัญญา เช่น การละเมิดลขิ สิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือ ซอฟต์แวร์ เพราะเป็ นเร่ืองที่กระทาได้ง่ายมาก ซ่งึ ในสงั คมเทคโนโลยีสารสนเทศ จะพบว่าบริษัทผ้ผู ลิตซอฟต์แวร์หลายบริษัทได้สญู เสยี เงินในแต่ละปี เป็ นจานวนมาก เน่ืองจากการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เป็ นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook