Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีภาษีอากร_01

การบัญชีภาษีอากร_01

Published by tjaibun.bee, 2022-06-21 08:32:57

Description: การบัญชีภาษีอากร_01

Search

Read the Text Version

หนวยท่ี ก ฎ ห ม า ย ท่ี 1 เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ การจดั ทาํ บญั ชี

ความรทู วั่ ไป 0 1 เก่ียวกบั พระราชบญั ญตั ิ วชิ าชพี บญั ชี พ.ศ. 2547

พระราชบญั ญตั ินี้เรียกว่า ให้ยกเลิกพระราชบญั ญตั ิ “พระราชบญั ญตั ิวิชาชีพ ผสู้ อบบญั ชี พ.ศ. 2505 บญั ชี พ.ศ. 2547” พระราชบญั ญตั ินี้ให้ใช้บงั คบั ตงั้ แต่วนั ถดั จาก วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา 1 มาตรา 2 มาตรา 3

มาตรา 4 มาตรา 5 “วิชาชีพบญั ชี” ให้รฐั มนตรีว่าการ หมายความว่า กระทรวงพาณิ ชย์ วิชาชีพในด้าน รกั ษาการตาม การทาํ บญั ชี พระราชบญั ญตั ิ

02 สภา วชิ าชพี บญั ชี

มาตรา 6 ให้มีสภาวิชาชีพบญั ชี มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อ ส่ งเสริ มและพัฒนา วิชาชีพบญั ชี

มาตรา 7 สภาวิชาชีพบญั ชี มีอาํ นาจหน้าที่ ดงั ต่อไปนี้ (1) ส่งเสริมการศึกษา การอบรม และการวิจยั เกี่ยวกบั วิชาชีพบญั ชี (2) ส่งเสริมความสามคั คีและผดงุ เกียรติของสมาชิก (3) กาํ หนดมาตรฐานการบญั ชี มาตรฐานการสอบ บญั ชี และมาตรฐานอ่ืนท่ีเก่ียวกบั วิชาชีพบญั ชี

(4) กาํ หนดจรรยาบรรณผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชี (5) รบั ขึน้ ทะเบียนการประกอบวิชาชีพบญั ชี ออกใบอนุญาต (6) รบั รองปริญญาหรอื ประกาศนียบตั รในวิชาการบญั ชีของสถาบนั การศึกษาต่าง ๆ (7) รบั รองความร้คู วามชาํ นาญในการประกอบวิชาชีพบญั ชี (8) รบั รองหลกั สูตรการฝึ กอบรมเป็ นผ้ชู ํานาญการ และการศึกษาต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ (9) ควบคุมความประพฤติ และการ ดาํ เนินงานของสมาชิก

(10) ช่วยเหลือ แนะนําเผยแพร่ แก่ประชาชนเกี่ยวกบั วิชาชีพบญั ชี (11) ออกข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชี (12) เป็นตวั แทนของผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชี (13) ให้คาํ ปรึกษาและเสนอแนะต่อรฐั บาล เกี่ยวกบั นโยบายของวิชาชีพบญั ชี (14) ดําเนิ นการอื่น เพื่อให้เป็ นไปตามวตั ถปุ ระสงค์และอํานาจ หน้าท่ีของสภาวิชาชีพบญั ชี

มาตรา 8 สภาวิชาชีพบญั ชีอาจมีรายได้ ดงั ต่อไปนี้ (1) ค่าบาํ รงุ สมาชิกและค่าธรรมเนียมตามพระราชบญั ญตั ินี้ (2) เงินอดุ หนุนจากงบประมาณแผน่ ดิน (3) ผลประโยชน์จากการจดั การทรพั ยส์ ิน 2 (4) เงินและทรพั ยส์ ินซ่ึงมีผใู้ ห้แก่สภาวิชาชีพบญั ชี (5) ดอกผลของเงินและทรพั ยส์ ินตาม (1) (2) (3) และ (4)

มาตรา 9 มาตรา 10 มาตรา 11 ภายใต้บงั คับบทบญั ญัติ เ ม่ื อ มี พ ร ะ ร า ช นิ ติ บุ ค ค ล ซ่ึ ง หมวด 5 การควบคุมการ กฤษฎีกาตามมาตรา ประกอบกิ จก า ร ประกอบวิชาชีพด้านการ 9 ใ ช้ บัง คับ สํา ห รับ ให้บริการด้านการ สอบบัญชี และหมวด 6 วิ ช า ชี พ บ ัญ ชี ด้ า น ใ ด ส อ บ บัญ ชี ห รื อ การควบคุมการประกอบ ห้ามมิให้ผ้ใู ดประกอบ ด้านการทาํ บญั ชี วิชาชีพด้านการทาํ บญั ชี วิชาชีพบญั ชีด้านนัน้

สมาชกิ สภา วิชาชพี บญั ชี 03

มาตรา 12 สมาชิกสภาวิชาชีพบญั ชีมีส่ีประเภท ดงั นี้ สมาชิกสามญั สมาชิกวิสามญั สมาชิกสมทบ สมาชิกกิตติมศกั ด์ิ 01 02 03 04

มาตรา 13 สมาชิกสามญั ต้องเป็นผมู้ ีคณุ สมบตั ิ และไมม่ ีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้ (1) มีอายไุ ม่ตา่ํ กว่ายี่สิบปี บริบรู ณ์ (2) มีสญั ชาติไทย (3) สาํ เรจ็ การศึกษาวิชาการบญั ชี ไมต่ า่ํ กว่าระดบั ปริญญาตรี (4) ไมเ่ ป็นผปู้ ระพฤติผิดจรรยาบรรณ (5) ไมเ่ คยต้องโทษจาํ คกุ โดยคาํ พิพากษาถึงท่ีสดุ ให้จาํ คกุ (6) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ หรือเป็นโรคตามที่กาํ หนดในข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชี

มาตรา 14 มาตรา 15 สมาชิ กวิ สามัญ และ สมาชิกกิตติมศกั ด์ิ ได้แก่ สมาชิกสมทบ ต้องเป็ น ผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงได้รับ ผู้มีสัญชาติ ไทย และ เชิญเป็ นสมาชิก ตามมติ ต้องมีคณุ สมบตั ิและไม่ ของคณะกรรมการสภา มี ลัก ษ ณ ะ ต้ อ ง ห้ า ม วิชาชีพบญั ชี ตามที่กาํ หนด

มาตรา 16 สมาชิกสามญั มีสิทธิและหน้าที่ ดงั ต่อไปนี้ (1) แสดงความคิดเหน็ ในการประชมุ ใหญ่ (2) ออกเสียงลงคะแนนในการประชมุ ใหญ่ (3) เลือกตงั้ รบั เลือกตงั้ หรือรบั แต่งตงั้ เป็ นกรรมการหรือดาํ รงตาํ แหน่ง อื่นอนั เก่ียวกบั กิจการของสภาวิชาชีพบญั ชีตามพระราชบญั ญตั ินี้ (4) ชาํ ระค่าบาํ รงุ สมาชิกหรือค่าธรรมเนียมตามที่กาํ หนด (5) ผดงุ ไว้ซ่ึงเกียรติศกั ด์ิแห่งวิชาชีพบญั ชี (6) สิทธิและหน้าท่ีอ่ืนตามที่สภาวิชาชีพบญั ชีกาํ หนด

มาตรา 17 สมาชิกภาพของสมาชิกสิ้นสดุ ลง เมื่อ ขาดคณุ สมบตั ิ หรือ ไม่ชําระค่าบํารุง มีลกั ษณะต้องห้าม สมาชิก 01 02 03 04 ตาย ลาออก

มาตรา 18 ให้มีการประชุมใหญ่สามญั สภาวิชาชีพบญั ชี อย่างน้อย ปี ละหนึ่งครงั้ มาตรา 19 สมาชิกสามญั อาจขอให้มีการประชุมใหญ่วิสามญั ได้ ตาม หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการที่กาํ าหนดในข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชี มาตรา 20 ในการประชุมใหญ่ ต้องมีสมาชิกสามญั มาประชุม ไม่น้อยกว่าสองรอ้ ยคน จึงเป็นองคป์ ระชมุ 2มาตรา 21 ในการประชุมใหญ่ ให้นายกสภาวิชาชีพบญั ชีเป็ น ประธานในท่ีประชมุ

04 คณะกรรมก าร สภาวิชาชีพ บัญชี

มาตรา 23 นายกสภาวิชาชีพบญั ชี และกรรมการตามมาตรา 22 (3) และ (4) มีวาระการดาํ รงตาํ แหน่งคราวละสามปี

มาตรา 24 นอกจากการพ้นจากตาํ แหน่งตามวาระ ให้นายกสภาวิชาชีพ บญั ชีและกรรมการตามมาตรา 22 (3) และ (4) พ้นจากตาํ แหน่งเม่ือ (1) ตาย (3) พ้นจากสมาชิกภาพของสมาชิกสภาวิชาชีพบญั ชี (2) ลาออก (4) ขาดคุณสมบตั ิ หรือมีลกั ษณะต้องห้ามตาม ข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชี (5) รัฐมนตรีมีคําสัง่ ให้พ้น จากตาํ แหน่ง ตามมาตรา 63

ใ ห้ น า ย ก ส ภ า วิ ช า ชี พ บ ัญ ชี คณะกรรมการสภาวิชาชีพบญั ชี จะ เลือกกรรมการ เพ่ือแต่งตงั้ แต่งตงั้ คณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณา ให้ดาํ รงตาํ แหน่งอปุ นายก การประชุมคณะกรรมการสภาวิชาชีพบญั ชี ต้องมี กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจาํ นวน กรรมการทงั้ หมด มาตรา 25 มาตรา 26 มาตรา 27

มาตรา 28 ให้คณะกรรมการสภาวิชาชีพบญั ชี มีอาํ นาจหน้าท่ีดงั ต่อไปนี้ (1) บริหารกิจการของสภาวิชาชีพบญั ชีให้เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ (2) กระทาํ กิจการท่ีอย่ใู นอาํ นาจหน้าที่ของสภาวิชาชีพบญั ชีตามพระราชบญั ญตั ินี้ (3) เสนอร่างข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชีในกิจการต่าง ๆ (4) จดั ให้มีการประชมุ ใหญ่ (5) ออกระเบยี บเพอ่ื ปฏิบตั ิการให้เป็นไปตามพระราชบญั ญตั ินี้

มาตรา 29 สมาชิกสามญั ไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยคน จะเข้าชื่อเสนอร่างข้อบงั คบั ตามมาตรา 28 (3) ต่อสภาวิชาชีพบญั ชีด้วยกไ็ ด้ มาตรา 30 วิธีการเสนอและการพิจารณาร่างข้อบงั คบั ให้เป็นไปตามข้อบงั คบั สภา วิชาชีพบญั ชี มาตรา 31 ในกิจการที่เก่ียวกบั บุคคลภายนอก ให้นายกสภาวิชาชีพบญั ชี มีอาํ นาจกระทาํ การแทนสภาวิชาชีพบญั ชี มาตรา 32 เพ่ือประโยชน์ในการพฒั นาและส่งเสริมการประกอบวิชาชีพบญั ชีด้าน ต่าง ๆให้มีคณะกรรมการวิชาชีพบญั ชีของแต่ละด้าน

คณะกรรมก 05 ารกาํ หนด มาตรฐาน การบญั ชี

มาตรา 33 ให้มีคณะกรรมการกาํ หนดมาตรฐานการบญั ชี มาตรา 34 ให้คณะกรรมการกาํ หนดมาตรฐานการบญั ชี มีอาํ นาจ หน้าที่กาํ หนดและปรบั ปรงุ มาตรฐานการบญั ชี มาตรา 35 คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชี อาจแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณา หรอื ปฏิบตั ิการอย่างใดตามที่มอบหมายได้ มาตรา 36 ให้นําความในมาตรา 26 มาใช้บงั คบั กบั การประชมุ คณะกรรมการกาํ หนดมาตรฐานการบญั ชี

การควบคมุ การประกอบ 0 6 วิชาชพี ดา น การสอบบญั ชี

มาตรา 37 ในกรณี ที่กฎหมาย มาตรา 37 บญั ญตั ิให้มีการสอบบญั ชี หรือให้ เอกสารใดต้องมีผู้สอบบญั ชีลง ลายมือชื่ อรับรอง หรือแสดง ความเหน็ ในฐานะผสู้ อบบญั ชี มาตรา 38 ผ้ใู ดจะเป็ นผู้สอบ มาตรา 38 บัญชีรับอนุญาต ต้องได้รับ ใ บ อ นุ ญ า ต จ า ก ส ภ า วิ ช า ชี พ บญั ชี

มาตรา 39 มาตรา 40 ผู้ขอรบั ใบอนุญาต ผู้ ส อ บ บั ญ ชี รั บ เป็ นผ้สู อบบญั ชีรบั อ นุ ญ า ต ซึ่ ง ถูก สัง่ อ นุ ญ า ต ต้ อ ง มี เ พิ ก ถ อ น ใ บ อ นุ ญ า ต คุณสมบตั ิและไม่มี อาจขอรบั ใบอนุญาต ลกั ษณะต้องห้าม อีกได้เมื่อพ้น 5 ปี นับ แต่ วันท่ี ถูกสัง่ เพิ ก ถอนใบอนุญาต

มาตรา 41 ใบอนุญาตเป็ นผู้สอบบญั ชีรบั อนุญาตไม่มีอายุ แต่ผู้รบั ใบอนุญาตต้องชาํ ระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ตามที่กาํ หนด มาตรา 42 เมื่อสภาวิชาชีพบญั ชีได้รบั คาํ ขอรบั ใบอนุญาตแล้ว เห็นว่าผู้ยื่นคําขอมีคุณสมบตั ิและไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตาม มาตรา 39 ให้สภาวิชาชีพบญั ชีพิจารณาออกใบอนุญาตให้ผ้ยู ่ืน คาํ ขอโดยเรว็ 2มาตรา 43 ผสู้ อบบญั ชีรบั อนุญาตมีหน้าท่ีต้องเข้ารบั การ ฝึ กอบรมหรอื เข้าร่วมประชมุ สมั มนาตามหลกั เกณฑ์

07 การควบคมุ การ ประกอบ

มาตรา 44 ห้ามมิให้ผ้ใู ดประกอบวิชาชีพเป็ น ผู้ทําบัญชี เว้นแต่เป็ นสมาชิ กสภาวิชาชีพ บญั ชีหรือขึน้ ทะเบียนไว้กบั สภาวิชาชีพบญั ชี

มาตรา 45 ผู้ทําบญั ชีที่จะขึ้นทะเบียนกับสภาวิชาชีพบญั ชีต้องมี คณุ สมบตั ิและไมม่ ีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้ (1) มีภมู ิลาํ เนาหรอื ถ่ินท่ีอย่ใู นราชอาณาจกั ร (2) มีความรภู้ าษาไทยเพียงพอที่จะทาํ บญั ชีเป็นภาษาไทยได้ (3) ไม่เคยต้องคาํ พิพากษาถึงที่สดุ ให้จาํ คกุ (4) มีคณุ วฒุ ิการศึกษาตามท่ีกาํ หนดในข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชี (5) ไมม่ ีลกั ษณะต้องห้ามอื่น ตามท่ีกาํ หนดในข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชี

จรรยาบรรณ 0 8 ของผู ประกอบ วิชาชพี บญั ชี

ผ้ปู ระกอบวิชาชีพบญั ชีหรือผ้ซู ึ่งขึ้น ข้อความใดในสญั ญาจ้างสอบบญั ชีที่กาํ หนดให้ ทะเบียนไว้กับสภาวิชาชีพบญั ชีมี มีผลเป็นการจาํ กดั หรือปฏิเสธความรบั ผิดชอบ หน้าที่ต้องปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ ของผสู้ อบบญั ชี ข้อความนัน้ เป็นโมฆะ ของผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชี ให้สภาวิชาชีพบญั ชีจดั ทาํ จรรยาบรรณของ ผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชีขึน้ เป็นภาษาไทย มาตรา 46 มาตรา 47 มาตรา 48

มาตรา 49 โทษการประพฤติผิดจรรยาบรรณ มีดงั ต่อไปนี้ (1) ตกั เตือนเป็นหนังสือ (2) ภาคทณั ฑ์ (3) พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิ กถอนการขึ้น ทะเบยี นโดยมีกาํ หนดเวลา แต่ไม่เกินสามปี (4) เพิกถอนใบอนุญาต

มาตรา 50 มาตรา 51 ให้ มี คณะก ร ร ม ก าร ให้กรรมการจรรยาบรรณมี จรรยาบรรณ มีจาํ นวน วาระการดํารงตําแหน่ ง ไม่น้ อยกว่าเก้าคนแต่ คราวละ 3 ปี ไม่เกินสิบห้าคน

มาตรา 52 นอกจากการพ้นจากตําแหน่ งตามวาระ ให้ กรรมการจรรยาบรรณพ้นจากตาํ แหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคณุ สมบตั ิ หรือมีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา 50 (4) ท่ีประชุมใหญ่สภาวิชาชีพบัญชีมีมติ ให้ออกด้วย คะแนนเสียงไม่น้ อยกว่า 3 ใน 3 ของจํานวนสมาชิก สามญั ที่มาประชมุ แต่ต้องไม่น้อยกว่า 200 คะแนนเสียง

มาตรา 53 เมื่อมีผู้กล่าวหา หรือปรากฏต่อคณะกรรมการจรรยาบรรณว่า ผู้ ประกอบวิชาชีพบญั ชีหรือผ้ซู ่ึงขึ้นทะเบียนไว้กบั สภาวิชาชีพบญั ชีผ้ใู ดประพฤติผิด จรรยาบรรณ ให้คณะกรรมการจรรยาบรรณดาํ เนินการสอบสวนพิจารณาโดยเรว็ มาตรา 54 เมื่อคณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาจากผลการสอบสวนแล้ว มีมติว่าผใู้ ดประพฤติผิดจรรยาบรรณ ให้มีคาํ สงั่ ลงโทษผนู้ ัน้ ตามมาตรา 49 มาตรา 55 ผ้ซู ่ึงถกู คณะกรรมการจรรยาบรรณสงั่ ลงโทษ มี สิทธิอุทธรณ์คําสงั่ ลงโทษต่อคณะกรรมการกํากบั ดูแลการ ประกอบวิชาชีพบญั ชีได้ภายใน 30 วนั นับแต่วนั ท่ีได้รบั คาํ สงั่

มาตรา 56 ในการปฏิ บัติ หน้ าที่ตามพระราชบัญญัติ นี้ ให้กรรมการ จรรยาบรรณและอนุกรรมการจรรยาบรรณท่ีคณะกรรมการจรรยาบรรณ แต่งตงั้ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 57 กรรมการจรรยาบรรณหรืออนุกรรมการจรรยาบรรณผใู้ ด มี ส่วนได้เสียเป็นการส่วนตวั ในเรื่องที่ปรึกษาหารือเร่ืองหน่ึงเร่ืองใด ห้าม มิให้เข้าร่วมพิจารณาปรึกษาหารอื หรือลงคะแนนเสียงในเร่อื งนัน้ มาตรา 58 ให้นําความในมาตรา 26 มาใช้บงั คับกับการ ป ร ะ ชุ ม ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จ ร ร ย า บ ร ร ณ แ ล ะ คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณโดยอนุโลม

09 การกาํ กบั ดูแลการ ประกอบ วชิ าชพี บัญชี

มาตรา 59 ให้มีคณะกรรมการกาํ กบั ดแู ลการประกอบวิชาชีพบญั ชี ประกอบด้วย (1) ปลดั กระทรวง (2) กรรมการโดย (3) กรรมการ พาณิชยเ์ ป็น ตาํ แหน่ง ผทู้ รงคณุ วฒุ ิซ่ึง รฐั มนตรีแต่งตงั้ ประธานกรรมการ

มาตรา 60 ให้คณะกรรมการกาํ กบั ดูแลการประกอบวิชาชีพบญั ชีมีอาํ นาจ หน้าที่ ดงั ต่อไปนี้ (1) กาํ กบั ดแู ลการดาํ เนินกิจการของสภาวิชาชีพบญั ชีให้เป็นไปตามกฎหมาย (2) เสนอแนะให้มีการตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 9 (3) ให้ความเห็นชอบข้อบงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชีตามมาตรา 30 วรรคสอง และมาตรฐานการบญั ชีตามมาตรา 34 วรรคสาม (4) พิจารณาอุทธรณ์ของผ้ขู อรบั ใบอนุญาตเป็ นผ้สู อบบญั ชีรบั อนุญาต ตามมาตรา 42วรรคสอง (5) พิจารณาอทุ ธรณ์ของผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชีตามมาตรา 55 วรรคหน่ึง (6) แต่งตงั้ คณะอนุกรรมการเพ่ือปฏิบตั ิการตามที่อยู่ในอาํ นาจหน้าท่ี ของคณะกรรมการกาํ กบั ดแู ลการประกอบวิชาชีพบญั ชี

มาตรา 61 มาตรา 62 ในการดําเนิ นการของคณะกรรมการ มาตรา 62 ให้นําความในมาตรา กํากับดูแลการประกอบวิชาชีพบญั ชี 2 6 ม า ใ ช้ บัง คับ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ตามมาตรา 60 (1) ให้คณะกรรมการ คณะกรรมการกํากับดูแลการ กาํ กบั ดแู ลการประกอบวิชาชีพบญั ชี ประกอบวิชาชีพบญั ชี

มาตรา 63 ผ้ใู ดไม่ปฏิบตั ิตามคาํ สงั่ ของคณะกรรมการกาํ กบั ดูแล การประกอบวิชาชีพบญั ชีหรือกระทําการอนั เป็ นการเสื่อมเสีย อย่างร้ายแรงแก่สภาวิชาชีพบญั ชี ให้คณะกรรมการกาํ กบั ดแู ลการ ประกอบวิชาชีพบญั ชีทาํ การสอบสวนโดยเรว็ มาตรา 64 ในกรณีท่ีรฐั มนตรีมีคาํ สงั่ ตามมาตรา 63 อนั เป็ นผลให้จาํ นวน กรรมการของคณะกรรมการสภาวิชาชีพบญั ชีเหลือไม่ถึงก่ึงหนึ่งของจาํ นวน 2กรรมการที่พึงมี ให้รฐั มนตรีแต่งตงั้ สมาชิกสามญั เท่าจาํ นวนกรรมการท่ีจะ มีได้ตามมาตรา 22

10 บทกาํ หนด โทษและบท เฉพาะกาล

มาตรา 65 ผใู้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 10 ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกิน 3 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 60,000 บาท หรอื ทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั มาตรา 66 นิ ติบุคคลใดฝ่ าฝื น หรือไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 11 ต้องระวาง โทษปรบั ไมเ่ กิน 300,000 บาท และปรบั อีกไม่เกินวนั ละ 10,000 บาท มาตรา 67 ผใู้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 37 ต้องระวางโทษจาํ าคกุ ไม่ เกิน 3 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 60,000 บาท หรือทงั้ จาํ าทงั้ ปรบั

มาตรา 68 ผ้สู อบบญั ชีรบั อนุญาตผ้ใู ดถกู สงั่ พกั ใช้ใบอนุญาตตามมาตรา 43 ทาํ การสอบบญั ชีในระหว่างนัน้ ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกิน 3 ปี หรือปรบั ไม่ เกิน 60,000 บาท หรือทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั มาตรา 69 ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 44 ต้อง ระวางโทษจาํ คุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรบั ไม่ เกิน 40,000 บาท หรือทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั มาตรา 70 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพบญั ชี หรือผ้ซู ่ึงขึ้นทะเบียนไว้กบั สภาวิชาชีพบญั ชี ผ้ใู ดถกู ลงโทษประพฤติผิดจรรยาบรรณตามมาตรา 49 (3) หรือ (4) ทําการ ประกอบวิชาชีพบญั ชีในระหว่างนัน้ ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกิน 3 ปี หรือปรบั ไม่ เกิน 60,000 บาท หรือทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั

มาตรา 71 ผ้ใู ดไม่ปฏิบตั ิตามคาํ สงั่ ของคณะกรรมการจรรยาบรรณ ตามมาตรา 53 วรรคห้าหรือคาํ สงั่ ของคณะกรรมการกาํ กบั ดแู ลการประกอบวิชาชีพบญั ชีตามมาตรา 61 (2) หรือ (3) ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกิน 1 เดือน หรือปรบั ไม่เกิน 1,000 บาท หรือ ทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั มาตรา 72 ในกรณีท่ีผ้กู ระทาํ ความผิดซึ่งต้องรบั โทษตามพระราชบญั ญตั ินี้เป็ น นิ ติบุคคลให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพนั นิ ติบุคคล หุ้นส่วนผู้จดั การ ผแู้ ทนนิติบคุ คล หรือบคุ คลใดซ่ึงรบั ผิดชอบในการดาํ เนินการของนิติบคุ คลนัน้ ต้องรบั โทษตามท่ีกฎหมายกาํ หนดไว้ มาตรา 73 ให้ผู้สอบบญั ชีรบั อนุญาตตามพระราชบญั ญัติ ผ้สู อบบญั ชี พ.ศ. 2505 ในวนั ก่อนวนั ที่พระราชบญั ญตั ินี้ใช้ บงั คบั เป็นผสู้ อบบญั ชีรบั อนุญาตตามพระราชบญั ญตั ินี้ต่อไป

มาตรา 74 ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะกรรมการสมาคมนักบญั ชีและผ้สู อบบญั ชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทยทําหน้ าที่คณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชีจนกว่า คณะกรรมการสภาวิชาชีพบญั ชีตามพระราชบญั ญตั ินี้จะเข้ารบั หน้าที่ มาตรา 75 ในระหว่างท่ีสภาวิ ชาชีพบัญชียังมีสมาชิ กไม่ถึง 500 คน ให้ คณะกรรมการกาํ กบั ดูแลการประกอบวิชาชีพบญั ชี ทําหน้าท่ีสภาวิชาชีพบญั ชี เพ่ืออนุมตั ิ หรือให้ความเหน็ ชอบข้อบงั คบั ของสภาวิชาชีพบญั ชี มาตรา 76 ให้บรรดากฎกระทรวง ข้อบงั คบั หรือประกาศท่ีออกตาม พระราชบญั ญตั ิผ้สู อบบญั ชี พ.ศ. 2505 มีผลใช้บงั คบั ต่อไปจนกว่าจะมี กฎกระทรวง ข้อบงั คบั หรือประกาศตามพระราชบญั ญตั ินี้ ในเรื่อง เดียวกนั ออกใช้บงั คบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook