Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AutoCAD_2011_A4R

Description: AutoCAD_2011_A4R

Search

Read the Text Version

AutoCAD 2011 ในสว นน้ีคณุ จะไดท ราบถงึ ความตอ งการของ AutoCAD 2011 กบั ระบบปฏิบตั กิ ารตางๆ พรอมท้งั ข้นั ตอนการตดิ ตง้ั โปรแกรม เพอื่ การใชง านโปรแกรมอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 51

การติดต้ัง AutoCAD 2011 กอนที่จะติดตงั้ โปรแกรม AutoCAD 2011 ควรทราบถึงความตองการทางดานฮารดแวรและ ซอฟตแ วรทีเ่ หมาะสมสําหรับการติดต้งั โปรแกรมเสยี กอน ซ่งึ ในแผนโปรแกรมของ AutoCAD 2011 ท่มี ี ใหนน้ั สามารถติดตงั้ ไดทง้ั 2 ระบบ คือ ระบบ 32-bit และ 64-bit ขึ้นอยูก ับเครื่องคอมพวิ เตอรและ ระบบปฎิบตั ิการของคณุ 1. ระบบปฏิบัตกิ าร Microsoft® Windows® 7 Enterprise, Ultimate, Professional, หรอื Home Premium Microsoft® Windows Vista® Enterprise, Business, Ultimate, หรือ Home Premium (SP1 หรือสูงกวา) หรอื Microsoft® Windows® XP Professional or Home edition (หรือสงู กวา ) 2. บราวเซอร Internet Explorer® 7.0 หรอื สูงกวา 3. หนว ยประมวลผล (CPU) สําหรบั Windows Vista หรือ Windows 7: Intel® Pentium® 4 หรือ AMD Athlon® dual- core processor, 3.0 GHz หรือสูงกวา ท่มี าพรอมดว ย SSE2 technology สาํ หรับ Windows XP: Intel Pentium 4 หรือ AMD Athlon dual-core processor, 1.6 GHz หรอื สงู กวาทีม่ าพรอมดว ย SSE2 technology 4. หนวยความจาํ (RAM) 2 GB RAM 5. ฮารด ดสิ ก สาํ หรบั การติดตั้งโปรแกรมตองการ 2 GB และควรมพี น้ื ที่วางใหม ากท่สี ุด 6. การดแสดงผลท่ีสามารถแสดงความละเอยี ดของภาพได 1024 x 768 แบบ True Color หรือสงู กวา 7. เครอื่ งอานแผน DVD ROM สําหรับการติดต้ังโปรแกรม 8. เมาส แนะนําใหเ ปน แบบ 3 ปมุ เมอ่ื ทราบถึงขอมลู ของระบบปฏิบัติการ และหนว ยความจํา คราวๆของโปรแกรมเรยี บรอยแลว ขัน้ ตอนตอไป จะเขาสูกระบวนการตดิ ตงั้ โปรแกรม โดยมีวิธกี ารติดต้งั ดงั น้ี 52

1. ใสแผน โปรแกรมลงไปในชอง DVD-ROM โปรแกรมจะทาํ การเรมิ่ ตน การตดิ ตั้งแบบอัตโนมัติ ถาการติดตงั้ แบบอัตโนมตั ขิ องโปรแกรมไมทํางาน สามารถเขาไปดบั เบลิ คลิกทไ่ี ฟล Setup.exe ในไดรฟ ของ DVD-ROM(ควรตรวจสอบท่ีแผน DVD 1ของโปรแกรมกอนวา ใช สาํ หรบั ตดิ ตงั้ บนระบบปฏบิ ตั ิการ 32 bit หรอื 64 bit) โปรแกรมจะปรากฏหนา ตา งของ AutoCAD 2011 ขึน้ มา ใหค ลิกที่ Install Products 53

2. ทกี่ รอบของ Select the Product to Install ใหคลิกเลือกโปรแกรมทตี่ องการจะติดต้ังลงบน เครอื่ งคอมพวิ เตอร ในที่นเ้ี ลือกติดต้ัง AutoCAD, Autodesk Design Review 2011 และ Autodesk Material Library 2011 คลกิ ท่ีปมุ Next 54

3. ที่กรอบของ Accept The License Agreement คลิกเลือก Country or Region : Thailand คลิกท่ีปมุ I Accept แลวคลิกท่ปี มุ Next เพื่อกําหนดเลอื กสว นอื่นตอไป 55

4. ท่กี รอบของ User and Product Information ใหกรอกรายละเอยี ดของคุณลงทช่ี องดา นบนและกรอกใหครบทุกชอ ง ถา ตองการลงเพอื่ ทดลองใชง าน คลิกท่ี I want to try this product for 30 days หรือ คลกิ ที่ I have my product information ถาคณุ ไดซอ้ื โปรแกรมทม่ี ลี ิขสทิ ธแลว Serial Number และ Product Key : จะอยหู ลงั กลองโปรแกรม กดปุม Next 56

5. โปรแกรมจะแสดงรายการติดตัง้ ทก่ี ําหนดไวเบ้ืองตน กดที่ปมุ Configure เพอ่ื เขาไปกาํ หนดคา อ่ืนเพมิ่ เตมิ 57

6. ที่ Tab ของ AutoCAD 2011 ในกรอบของ Select the License Type โปรแกรมใหร ะบุการตดิ ตง้ั ซึ่งมีอยู 2 แบบคอื Stand alone license และ Network license ในที่น้ีเลอื กติดตัง้ แบบ Stand alone license คลิกท่ีปุม Next 58

7. ในกรอบของ Select The Installation Type คลิกที่ปมุ Typical และเชค็ บ็อกซหนา Express Tools ระบุสถานท่ีติดตั้งโปรแกรมดวย เมื่อกาํ หนดเรยี บรอ ยแลว ใหก ดปมุ Next 59

8. โปรแกรมจะตรวจสอบสถานะของ Service Pack วา มีการปรบั ปรงุ หรอื ไม (ในกรณีทเ่ี ช่อื มตอ Internet) หรือไมตองการท่จี ะตรวจสอบ Service pack ก็สามารถทาํ ไดเ ชนกัน โดยการกดปุม Next 60

9. โปรแกรมจะรายงานการกําหนด Configuration ใน Tab ของ AutoCAD 2011 วาเรยี บรอย แลว 61

10. คลกิ ที่ Tab Autodesk Design Review 2011 เพือ่ ระบุสถานท่ตี ิดตงั้ โปรแกรม Autodesk Design Review 2011 เมอ่ื กําหนดเรยี บรอยแลวใหทําการกดปุม Next 62

11. ถาในเครอื่ งของคุณเคยติดต้ังโปรแกรม Autodesk Design Review เวอรช่นั เกา อาจจะมี ขอ ความเตือนเร่ืองการตดิ ต้ังปรากฏข้นึ มา ใหคลกิ ปุม Yes เพ่อื ติดตงั้ 12. โปรแกรมจะรายงานการกําหนด Configuration ใน Tab ของ Autodesk Design Review 2011 วาสมบรู ณแ ลว ใหกดปุม Configuration Complete ดา นลาง 63

13. โปรแกรมจะรายงานรายละเอียดท้ังหมดที่ไดเพ่มิ เตมิ เขาไป ใหคลกิ ท่ีปุม Install ดา นลาง 64

14. โปรแกรมจะทําการติดตง้ั ซอฟตแ วรทงั้ หมด ในกรอบทางดา นซายมอื 65

15. สําหรบั ซอฟทแวรท ่ีถูกติดต้งั เรยี บรอยแลวจะปรากฏเครื่องหมายถกู () สเี ขยี วอยดู านหนา 66

16. โปรแกรมจะรายงานการตดิ ต้งั โปรแกรม AutoCAD 2011 และ Autodesk Design Review 2011 วาไดถูกติดต้งั อยา งสมบรู ณแ ลว จะปรากฏไอคอนของ AutoCAD 2011 และ Autodesk Design Review 2011 บนหนา จอเดสกท็อป เพียงเทาน้คี ณุ กจ็ ะมโี ปรแกรม AutoCAD 2011 ไวใชง านแลว 67

AutoCAD 2011 ในสวนนีค้ ณุ จะไดทราบถึงสวนตา งๆ ของ AutoCAD 2011 พรอ มทงั้ การใชงานแต ละสว นของโปรแกรม ซ่ึงจะชว ยใหก ารใชง านโปรแกรมสะดวกและรวดเรว็ มากยงิ่ ขนึ้ 68

เปนทรี่ ูกนั ดวี า AutoCAD เปนโปรแกรมท่ดี ีทส่ี ดุ สําหรบั งานออกแบบและเขียนแบบ 2 มิติ เพราะมผี ูใชงานกนั อยางแพรห ลายทัง้ ในประเทศและทั่วโลก ความพเิ ศษของโปรแกรม AutoCAD คอื ชวยตอบสนองความตองการไดครบทกุ รูปแบบ ตัง้ แตก ารใชงานพ้นื ฐานจนถงึ การใชง านระดับสูง จน เปนท่ีทราบกนั ดีวา ถา งานเขียนแบบ 2 มติ ิตองใช AutoCAD เทานั้น Open AutoCAD หลังจากท่ีคณุ ไดติดตั้งโปรแกรม AutoCAD 2011 เรยี บรอยแลว ใหค ณุ ดับเบิล้ คลกิ ทไ่ี อคอน ซ่ึงปรากฏอยูบนหนาจอ หรือไปที่ Start Menu (Windows)  (All) Programs  Autodesk  AutoCAD 2011  AutoCAD 2011 – English (ใหป ดหนาตาง Welcome Screen หากปรากฏ ขึ้นมา) โปรแกรม AutoCAD จะเปด แผน งานวางเปลา ข้ึนมาภายใตช ื่อ Drawing1.dwg พรอ มกับแถบ เครอ่ื งมือตางๆ มากมายเพื่อใชสาํ หรบั สื่อสารคาํ สง่ั ตางๆ ระหวางผใู ชง านกบั โปรแกรม AutoCAD 2011 ตามรูป 69

สว นสาํ คัญทค่ี วรเรยี นรูถึงการใชง านแตละสว น มรี ายละเอยี ดดังน้ี หนา ตาหลักของโปรแกรม AutoCAD 2011 (2D Drafting & Annotation) 1. Graphic Windows: เหมอื นกับกระดาษกราฟที่ใชสาํ หรับเขียนแบบ ซึง่ เปนพ้ืนที่ใหญทสี่ ดุ บน จอภาพ เพ่ือใชในการเขยี นแบบชนิ้ งาน 2. Cross Hair: คลา ยกบั ปลายปากกาเขยี นแบบทีใ่ ชส าํ หรับเขียนตามคําส่งั ตา งๆ มีเคอรเ ซอรใช แสดงตาํ แหนงตางๆ บน Graphic Windows โดยจะเคล่อื นท่ีตามการลากของเมาส 3. Command Line: เปน สว นของการปอนคําส่งั แสดงขอ ความโตตอบกับผใู ชงาน 4. Drawing Tools: เปน สว นท่ีแสดงแถบสถานะของคาํ สง่ั ชว ยในการเขียนแบบ เชน SNAP, GRID เปน ตน โดยสามารถคลิกท่ไี อคอนเพอื่ เปดหรือปด รวมถงึ การกําหนดคาตางๆ ของแถบ สถานะ โดยกลุมคาํ สั่งนจี้ ะอยทู ีแ่ ถบดา นลางของโปรแกรม 5. Coordinate Display: เปนสวนท่ีใชแ สดงตาํ แหนง พกิ ดั ของ Cross Hair ตัวเลขทป่ี รากฏจะ แสดงระยะจากแกน X, Y, Z 6. Model & Layout Tab : ใชสําหรับเปล่ียนสถานการณท ํางานระหวา ง Model กบั Layout โดยสวนมากจะใชเขียนออกแบบชิ้นงานบน Model และใชจ ัดรปู แบบขององคประกอบหรอื รายละเอยี ดของช้ินงานออกมาทางเคร่ืองพิมพโดยใช Layout 70

Menu Browser เปน ปมุ ท่ีรวมเอาคําส่งั ของเมนหู ลักในโปรแกรม AutoCAD 2011 ไวในปุม เดยี ว เพ่ือความสะดวกในการใชงาน โดยมีคําสั่งที่รวมไวในปมุ มดี งั น้ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1. New: ใชส ําหรับสรางไฟลแบบงานใหม โดยเลือก Template ที่โปรแกรมจดั เตรยี มไวใ ห 2. Open: ใชสําหรับเปด ไฟลแบบงานทเ่ี ขยี นไวขึน้ มาดู แกไ ข พิมพแ บบงาน รวมถึงนาํ เขาไฟล DGN เขา มาวางบนไฟลงานใหม 3. Save: ใชสาํ หรับบนั ทึกไฟลแบบงานทเ่ี ขียนไวใ นรูปของไฟล DWG เวอรช่ันปจจบุ ัน 4. Save As: ใชสําหรับบนั ทกึ ไฟลแ บบงานท่เี ขียนไวใ นรูปแบบไฟล DWG เวอรช ่นั ต่ํา บันทึกไว เปนไฟล Template (DWT) บนั ทึกเปน ไฟล Drawing Standard (DWS) หรือบันทึกไฟลเ ปน รูปแบบอน่ื ๆ เชน DXF 71

5. Export: ใชส าํ หรับแปลงไฟลที่เขียนบน AutoCAD 2011 เปนไฟลรูปแบบอ่ืนไดห ลายรูปแบบ เชน DWF, DWFx, 3D DWF, PDF, DGN และ FBX 6. Print: ใชส ําหรบั พมิ พแ บบงานท่เี ขียนเสร็จเรียบรอยแลว โดยสามารถเขาไปกาํ หนดขนาดของ กระดาษท่ตี องการพมิ พ เครื่องพมิ พห รือพล็อตเตอรท ต่ี องการใชง านไดจากสวนน้ี 7. Publish: ใชสาํ หรับสงไฟลชนิ้ งาน 3D Solid ข้ึนรูปบน 3D Print Service 8. Send: ใชส ําหรบั สง ไฟลแบบงานทเี่ ขียนเรยี บรอยแลว ในรูปแบบของ Email พรอมแนบไฟล AutoCAD ไปดวย และ eTransmit 9. Drawing Utility: ใชส าํ หรบั กําหนดคุณสมบัติใหไฟลง านทเี่ ปดอยู หนวยของแบบงาน และ อื่นๆ รวมถงึ เปดหาในสวนของไฟลง านท่ถี กู กูขึ้นมาไดใ นกรณที โี่ ปรแกรมปดโดยไมมีการ บันทึก 10. Close: ใชสําหรับปดไฟลแบบงานทเ่ี ปดอยู 11. Option: ใชสาํ หรบั เขา ไปกาํ หนดรายละเอยี ดตา งๆ ในการใชงานของโปรแกรม 12. Exit AutoCAD: ใชส าํ หรบั ปดโปรแกรม AutoCAD Ribbon เปน กลุมคาํ สั่งท่จี ัดแบงออกเปนหมวดหมูอยา งชัดเจน โดยแยกเปนแตล ะประเภทการ ใชงาน สามารถใชง านโดยการคลิกเลือกใชงาน InfoCenter ใชสําหรบั คนหาขอมลู ทเี่ กี่ยวกบั AutoCAD และขอความชวยเหลือในคําสงั่ ท่ี ตอ งการเรียนรูเพมิ่ เตมิ รวมถงึ การตรวจสอบ Subscription ของโปรแกรม การเรยี นรูเกย่ี วกับ New Feature Workshop, Welcome Screen…และอืน่ ๆ Quick Properties ใชสําหรับปรบั การแสดงรายละเอียดคุณสมบัติของวัตถหุ รือเสน ทถ่ี ูกเลอื ก Quick Views Layouts ใชส ําหรับแสดงกรอบสี่เหล่ียมในแนวนอนตาม Model และ Layout ทม่ี อี ยู เพอ่ื ความรวดเร็วในการเปลี่ยนโหมดไปสู Model หรอื Layout ตามแบบงานที่เปดอยู 72

Quick View Drawing ใชสําหรับแสดงแบบงานทงั้ หมดท่ีเปดอยบู น AutoCAD โดยแสดงเปน กรอบ ส่ีเหล่ยี มพรอมรปู ของแบบงาน ทดี่ านลางจะแสดงช่ือไฟลข องแบบงานทีเ่ ปดอยู Workspace Switching ใชส าํ หรับเปลี่ยนหนาตาของโปรแกรมตาม Workspace ทโ่ี ปรแกรมจดั เตรียม ไวใ ห หรอื สรางเพิม่ ข้ึนมาไดตามตองการ Annotation Scale Tools เปนกลมุ เคร่ืองมอื สําหรับการกําหนดปรบั สเกลตา งๆ ใหก ับวตั ถุท่ีถกู กําหนดใหเ ปน Annotation Scale Lock Toolbar/Windows Position สําหรับล็อกตําแหนง ของแถบเคร่ืองมอื ตางๆ บนหนาจอ Clean Screen เปนไอคอนที่ใชส ําหรับซอนแถบเคร่ืองมอื ทัง้ หมดของโปรแกรม ท่ีอยูดานบนทั้งหมดให เหลือเพียงพ้ืนท่วี าดแบบกับกลมุ คาํ สัง่ ดานลา ง 73

การใชประโยชน Function Keys บนคยี บ อรด คียบอรดน้ันใชควบคกู ับโปรแกรม AutoCAD บนคอมพิวเตอร เพอื่ พมิ พพิกดั หรือโตต อบกับ คาํ ส่งั ตา งๆ ผาน Command Line แลว ยังสามารถใชประโยชนด านคยี ล ัด เพื่อเพม่ิ ความรวดเรว็ และ สะดวกในการทํางาน โดยคียลดั บนปมุ ของคยี บ อรดมดี งั นี้ • F1 (Help) สาํ หรับเขาสูระบบความชวยเหลือของโปรแกรม เพื่ออธิบายวธิ กี ารใชง านคําส่งั ตางๆ • F2 (Text Windows) สาํ หรบั เปด Command Line ขน้ึ มา เพอื่ ดขู อมลู การปอ นคําสง่ั หรืออ่ืนๆ ท่ีผานมา • F3 (OSNAP) สาํ หรับควบคุมการเปดหรอื ปดโหมดของ Object Snap • F4 (Tablet) สาํ หรบั ควบคมุ ยกเลกิ การใชงานของตารางบน Digitizing • F5 (Isoplane) สําหรับควบคุมการเปลี่ยนระนาบของการเขยี นภาพฉาย Isometric และ Oblique โดยสามารถเลือกปรับเปนภาพดานขา ง ดานบน และดา นลาง • F6 (Dynamic UCS) สําหรบั ควบคุมการแสดงหรือซอนของ Dynamic UCS • F7 (GRID) สาํ หรับควบคมุ การปดหรือเปด Grid • F8 (ORTHO) สําหรบั ควบคุมการปดหรือเปดโหมดของ Ortho ใชเ ขียนเสนตรงในมุม 0, 90, 180 และ 270 องศา • F9 (SNAP) สาํ หรบั ควบคมุ การเปด หรอื ปด Snap • F10 (POLAR) สําหรับควบคุมการเปดหรอื ปด Polar Tracking เพ่อื หาจดุ ปลายของเสน ใหอยู ในแนวเดียวกับเสนหรือจดุ ที่ตองการ • F11 (OTRACK) สําหรับควบคุมการเปดหรือปด Object Snap Tracking ใชหาตําแหนง อา งองิ แบบต้งั ฉาก 74

การใชเ มาสกบั โปรแกรม AutoCAD 2011 เมาสเปนอุปกรณสาํ คญั ใชควบคูกับคอมพิวเตอร เชนเดียวกบั โปรแกรม AutoCAD หรือ โปรแกรมอน่ื ๆ การใชเ มาสเ พื่อคลิกเลือกคําส่ังวาด หรอื เขียนรปู หรอื เพ่อื โตตอบกับโปรแกรมเมอื่ เขา สู คําส่ัง สาํ หรับการคลิกท่ปี มุ ของเมาสก บั โปรแกรม AutoCAD จะมผี ลดงั น้ี • เมาสป ุมซาย : ใชเพื่อคลิกเลือกคําสงั่ คลิกเพ่ือกาํ หนดจุด หรอื ตําแหนงบนจอภาพ หรอื การคลิกเพอ่ื เลอื กวตั ถุ • เมาสปมุ ขวา : ใชส ําหรบั ตอบรบั คาํ สั่งใดๆ เหมือนการกดปมุ Enter หรือถา ไมมคี าํ ส่ัง ใดๆ คา งอยู เม่ือคลกิ เมาสขวาจะมเี มนูยอ ยขน้ึ มาใหเ ลือกเชน กนั • เมาสปุม กลาง (View Mouse): ใชส าํ หรบั ปรับมุมมองภาพเชนเดยี วกับคําส่งั Zoom ถาเลอ่ื นหรือหมนุ เมาสปมุ กลางไปดา นหนา ภาพบนหนาจอจะขยายใหญข้นึ (Zoom In) แตถ าเลอื่ นไปในทิศทางตรงขา ม ภาพบนหนา จอจะถูกยอใหเ ล็กลง (Zoom Out) หรือถากดเมาสปมุ กลางคางไว แลวลากไปยังจดุ ใดๆ บนหนาจอจะเปนการยาย มมุ มองของภาพ (Pan) และถา ดับเบ้ิลคลิกจะปรับภาพโดยรวมใหพ อดีกับหนา จอ (Zoom Extent) 75

การเรยี นรูคําสัง่ ผา น Help ของโปรแกรม AutoCAD 2011 Help เปนสว นท่ีแสดงรายละเอียด เพ่อื ใหคุณสามารถคน หาและเขาใจเกี่ยวกับคําส่งั ที่ ตอ งการเรยี นรู ทีผ่ ู พัฒนาโปรแกรมไดส รา งขน้ึ มา ซึง่ การคนหารายละเอียดของการใชงานผาน Help นน้ั คณุ ตอ งใชความรูดานภาษาองั กฤษเขามาชวยดวย • แท็ป Contents: เปรียบเสมือนกบั หนาสารบญั ของหนงั สือทม่ี หี วั ขอ สําคญั อยบู นหนังสือ ใช สาํ หรบั คนหารายละเอียดตา งๆ ท่ีคุณตองการจากโปรแกรม AutoCAD โดยใชแท็ป Contents คนหาผานหัวขอตางๆ ท่ีมมี าใหอ ยา งเปนหมวดหมู ซึง่ จะแสดงรายละเอียดทดี่ านขวามอื และ อาจจะมีแท็ป ปรากฏทีด่ านขวามืออีก 3 สว นทแี่ ตกตางกันดังน้ี Concept: แสดงหลกั การหรือทฤษฎีของคาํ ส่งั นั้นๆ Procedure: แสดงวิธีการใชงานของคําส่งั Quick Reference: แสดงรายละเอยี ดตา งๆ ของคําสง่ั และวธิ กี ารเรยี กใชง านคําสง่ั • แทป็ Index: เปน การคน หาคําส่ังหรือหัวขอผานตวั อกั ษรท่เี รียงลําดับจาก A ถงึ Z โดยมชี องให พิมพต วั อกั ษรคน หาไดงา ย จึงเปน การคนหาทเ่ี ขา ถึงส่ิงที่ตอ งการไดร วดเรว็ มากยิ่งขึ้น • แทป็ Search: เปน การคนหาดว ยการใชขอความที่เกีย่ วของกบั หัวขอ เรื่องท่ตี องการคนหา เหมาะสาํ หรบั ผูที่ตองการคน หาเพยี งบางสวน ซึ่งสามารถตอบสนองความตอ งการได 76

AutoCAD 2011 ในสว นน้คี ณุ จะไดเรยี นรูถงึ ระบบพิกัดของโปรแกรม ขน้ั ตอนการกาํ หนด รายละเอยี ดของแบบงาน การเลอื กวตั ถบุ นแบบงาน เพอ่ื นาํ ไปใชเ ขยี นแบบได 77

เตรียมความพรอมกอ นการเขียนแบบดว ย AutoCAD 2011 หลงั จากทไ่ี ดเ รยี นรูกันมาแลววาบนหนา จอของ AutoCAD ประกอบดวยอะไร มกี ารใชงาน แบบไหน กอนที่จะเริ่มตนการเขยี นแบบ คณุ ตองเรียนรูระบบพิกัดของ AutoCAD เพ่อื เตรียมพื้นท่ี หนาจอ โดยการกําหนดรายละเอียดของแบบงาน กําหนดหนวยของช้ินงาน และคาอ่ืนๆ กอนเริ่มใช งานจรงิ ตอไป ระบบพิกดั สําหรับการเขยี นแบบ การใช AutoCAD ใหไ ดประสิทธภิ าพ จําเปนอยา งย่งิ ที่คุณจะตองทําความเขา ใจในระบบ พกิ ัดนเ้ี ปน อยางดี ซงึ่ จะทาํ ใหค ุณสามารถเขยี นแบบไดอยา งถกู ตอง 1. Absolute Coordinate (บอกคาพิกัด X, Y) เปนระบบพิกัดท่ีวัดระยะจากจุดกําเนิด (Origin point) X=0, Y=0 ตลอดเวลาโดยมรี ูปแบบการปอน ดงั นี้ Command Line: (กด Enter) Specify first point: 50,50 (จดุ A กด Enter) Specify next point or [Undo]: 150,50 (จุด B กด Enter) 2. Relative Coordinates (@X,Y) = (@ΔX,ΔY) เปนระบบพกิ ดั ที่กาํ หนดระยะพิกัดจดุ สดุ ทาย (โดยพิจารณาใหจ ดุ สดุ ทา ยมีพิกัดเปน 0,0 ใหม) มรี ูปแบบของพกิ ัด คอื Command Line: (กด Enter) Specify first point: 50,50 (จดุ A กด Enter) Specify next point or [Undo]: @100,0 (จุด B กด Enter) Specify next point or [Undo]: @0,20 (จดุ C กด Enter) 3. Polar Coordinates (@ Distance < Direction) เปนระบบพกิ ัดท่ีอาศยั การบอกระยะทาง และมุม มาชวยในการเขียนแบบ โดยท่กี ําหนดใหคณุ อยูท่ีจุด 0,0 ตลอดเวลา และกําหนดให หมุนทวนเข็มนาฬิกา Y=90° Command Line: (กด Enter) Specify first point: 50,50 (จดุ A กด Enter) Specify next point or [Undo]: @100<0 (จดุ B กด Enter) Specify next point or [Undo]: @20<90 (จุด C กด Enter) -X=180° X=0° -Y=270° 78

การกาํ หนดรายละเอียดตา งๆ กอ นการเขียนแบบ ในการเร่มิ ตน เขียนแบบใหมทุกครัง้ คณุ ควรจะตองมกี ารกาํ หนดรายละเอียดตา งๆ สําหรบั การ เขียนแบบ เชน การกาํ หนดหนว ยของการเขียนแบบ (Units) การกาํ หนดขอบเขตของแบบ (Drawing Limits) และการกาํ หนด Drafting Setting (เพ่อื กําหนด กริด (Grid) สแนป็ (Snap)) การกําหนดขอบเขตงานเขียนแบบ(Drawing Limits) เปน การกาํ หนดขอบเขตงานเขยี นแบบ ใหเหมาะสมกับขนาดของชิน้ งาน ยกตวั อยางเชน ถา ขนาดงานใกลเ คียงหรอื เล็กกวาขนาดของกระดาษมาตรฐาน A4 (12x9 น้ิวหรือ 297x210 มม.) ควร จะกําหนดขอบเขตของแบบใหมีขนาดเทากบั ขนาด A4 จากนน้ั ใชคําส่งั Zoom All เพื่อปรับขนาดการ แสดงของหนาจอตามขอบเขตทกี่ ําหนด สําหรับการใชคําส่ัง Drawing Limits ประกอบดวยขั้นตอน ดงั น้ี 1. ใหพ มิ พที่ Command Line ดังนี้ Command: '_limits Reset model space limits: Specify lower left corner or [ON/OFF] <0.00,0.00>: 0,0 ปอ นคาพิกัดมมุ ลางซา ย กด Enter Specify upper right corner <420.0000, 297.0000>: 297,210 ปอ นคาพกิ ัดมมุ บนขวา กด Enter 2. เม่ือกาํ หนด Drawing Limits แลวใหใชคาํ สัง่ Zoom All เพ่อื ปรบั ขนาดจอภาพใหเ ทา กับ ขอบเขต Drawing Limits โดยใชค ําสง่ั พิมพท่ี Command Line ดังน้ี Command: z กด Enter ZOOM Specify corner of window, enter a scale factor (nX or nXP), or [All/Center/Dynamic/Extents/Previous/Scale/Window/Object] <real time>: พิมพ a กด Enter Regenerating model. จงึ จะไดข อบเขตของงานเขียนแบบท่ีตองการ 79

การกําหนดหนวยของการเขียนแบบ (Unit) เปนการกําหนดหนวยที่ใชในการเขียนแบบ เพื่อเลือกหนวยวาจะใหม หี นว ยเปนนวิ้ หรือ มลิ ลเิ มตร และตองกําหนดความละเอยี ดของหนวยดวยทศนิยมกี่ตาํ แหนง เชน ในงานดา นเคร่ืองกล นยิ มใชหนวยของงานเปน เมตริกหรือมลิ ลิเมตร กาํ หนดทศนิยม 2 ตาํ แหนง งานทางดานสถาปตยม ี ความละเอียดของงานนอยกวางานดานเครื่องกล อาจจะมที ศนยิ ม 1 ตําแหนง หรือไมตองแสดงจุด ทศนิยมเลยกไ็ ด สําหรับวธิ ีใชคาํ สง่ั Units มีขั้นตอนดังน้ี 1. คลกิ ที่ Menu Browser  Drawing Utility Units หรือพมิ พท่ี Command Line : units 2. จะไดห นา ตางของ Drawing Units 3. ในกรอบของ Length ทีช่ อง Type เลือก Decimal และในชอ ง Precision เลอื กทศนยิ ม 2 ตําแหนง 4. ในกรอบ Angle ท่ชี อง Type เลือก Decimal Degrees และในชอง Precision เลอื ก ทศนยิ ม 2 ตําแหนง 5. ในชอ ง Insertion Scale ท่ี Units to scale Inserted content เลอื ก Millimeters 6. กําหนดคา เรียบรอยแลวกดที่ปมุ OK 80

การกําหนด Drafting Setting เปน การกําหนดคาของ Drafting Setting ในสวนน้ีจะขอกลาวถึงแคการกําหนดคา ของ Grid และ Snap กริด (Grid) น้ันมลี ักษณะเปนจดุ ๆ เปน ตารางปรากฏบนหนาจอ จะมีระยะหา งของจุดตาม แนวต้งั และแนวนอนตามท่ีคุณกาํ หนด กริดชว ยในการกําหนดหรือกะระยะบนหนาจอ เพ่อื ชว ยใหเ ขยี น แบบไดง ายและรวดเรว็ ขนึ้ คุณสามารถกําหนดใหกริดนั้นปรากฏหรือซอนไดโดยกดฟง ชนั คยี  F7 สแน็ป(Snap) เปน การกําหนดระยะของการควบคมการเคลอ่ื นที่ของเคอรเซอร เม่ือมกี ารเล่ือน เมาส ไปตามชองระยะที่คุณกําหนด ทาํ ใหคณุ สามารถเขียนแบบไดละเอียดและงา ยข้ึน คณุ สามารถใช คาํ สั่งโดยกดฟง ชนั คีย F9 ชว ยใหคณุ ควบคมุ การซอนหรอื แสดงสแน็ปไดงา ยข้ึน 1. คลิกเมาสป มุ ขวาที่แถบ Snap ดานลางจะปรากฏเมนูยอ ยขนึ้ มาเลือก Setting 2. หนา ตางของ Drafting Setting จะแสดงขน้ึ มา ที่ Snap and Grid Tab 3. ในกรอบของ Snap spacing สามารถกําหนดระยะหา งตามแนวแกนนอนท่ชี องของ Snap X spacing: 10 หรอื คา อ่ืนๆ และกําหนดระยะหางตามแนวแกนตง้ั ทช่ี องของ Snap Y spacing: 10 หรือคาอื่นๆ 81

4. ในกรอบของ Grid spacing กําหนดระยะหางตามแนวแกนนอนท่ชี องของ Grid X spacing: 10 หรอื คา อน่ื ๆ และกําหนดระยะหางตามแนวแกนตง้ั ท่ชี อ งของ Grid Y spacing: 10 หรอื คา อืน่ ๆ 5. กาํ หนดคา เรียบรอยแลวกดท่ีปุม OK สําหรับในกรณีท่ีตองการเขียนภาพ Isometric ในกรอบของ Snap Type ใหค ลิกที่ปุมเรดิโอ หนา Isometric Snap หรือลองกดฟงชันคีย F9 แลวลองเลื่อนเมาสไ ปทางซายขวาหรือข้นึ บนลงลาง และสังเกตตวั เลขที่แถบสถานะดา นลา ง เพื่อดูวาสแน็ปมีระยะตามทกี่ ําหนดไปหรือไม และใหค ณุ ลอง กดฟงชันคยี  F7 เพ่อื ดวู ากริดมรี ะยะตามที่กําหนดไปหรือไม วธิ ีการเรียกใชเ ครอื่ งมือ Object Snap Object Snap หรอื Osnap เปน การบอกพิกัดของตําแหนงเฉพาะ ท่ีอยบู นวัตถุไดอยางรวดเรว็ โดยไมจ ําเปนตองทราบพกิ ดั ของจุดน้ัน เชน Midpoint หรือ Endpoint ของเสน และ Center ของ วงกลม เปนตน การเขา สูคาํ ส่ัง Object snap ทําไดหลายวิธี คือ 1. เรยี กใชคําสั่งการสรางวัตถุ เชน เมื่อใชค ําสง่ั Line กดแปน SHIFT คางไวแ ลวคลิกเมาสขวา 82

2. เรยี กใชจากแถบเครื่องมือโดยตรง (เมื่ออยใู นโหมดของ Workspace AutoCAD Classic) เชน เม่อื ใชคาํ สัง่ Line หรอื คําสงั่ อื่นๆ คณุ สามารถคลิกท่คี ําส่ังไดเลย การระบตุ ําแหนงดวย Object Snap (OSNAP) Object Snap เปนการบอกพกิ ดั ของตาํ แหนง เฉพาะ ทีอ่ ยบู นวัตถไุ ดอยางรวดเร็ว โดยไม จําเปน ตองทราบพิกัดของจุดนั้น เชน Midpoint หรือ Endpoint ของเสน และ Center ของวงกลม เปน ตน การเขา สูคําสั่ง Object Snap ทาํ ไดห ลายวธิ ี ประกอบดวยคาํ สั่งดังตอไปน้ี 1. Osnap-Endpoint ใชเ ม่ือตองการหาตาํ แหนง จุดปลายของเสน (Line) หรือ Arc 2. Osnap-Midpoint ใชเมื่อตองการหาตําแหนง จุดกึ่งกลาง ของเสน (Line) หรอื Arc 3. Osnap-Intersection ใชเ ม่ือตองการหาตาํ แหนงจุดตัดกนั ของวตั ถุ หรือเสน (Line) 4. Osnap-Center ใชเ ม่ือตองการหาตําแหนง จุดศนู ยก ลางของวงกลม วงรี หรือสวนโคง 83

5. Osnap-Quadrant ใชเมื่อตองการหาตําแหนง พกิ ดั บนมุม 0, 90, 180 และ 270 องศา ของวงกลม วงรี หรือ Ellipse 6. Osanp-Perpendicular ใชเ มอ่ื ตองการลากเสนจากจุดใดๆ ไปต้งั ฉากกับ วตั ถุ หรือเสน (Line) 7. Osnap-Tangent ใชเมือ่ ตองการลากเสน ตรงใหส ัมผัสวงกลม วงรี หรือสว นโคง 8. Osnap-Node ใชเมื่อตองการเลอื ก Point หรอื จุด 9. Osnap-Apparent Intersection ใชเ มอื่ ตองการเลอื กจดุ ตัดเสมือนของวัตถุ 10. Osnap-Nearest ใชเ มือ่ ตองการเลอื กพกิ ัดทใ่ี กลท ่ีสดุ บนวตั ถุ โดยเปน จดุ บนวัตถุ ท่ีมีระยะทางส้นั ทีส่ ดุ ไปยงั จดุ ตัดของ Crosshair 84

การกําหนด Object Snap Modes แบบอัตโนมตั ิ Object Snap Modes ใชเพื่อชวยใหเราสามารถกาํ หนดจดุ Snap บนวัตถุตางๆ ไดอยา ง รวดเรว็ เชน กําหนดจดุ Endpoint ของเสน ตรงหรือสวนโคง จดุ Center ของวงกลม เปนตน ข้นั ตอน การกาํ หนด Object Snap Modes แบบอัตโนมัติ มีดงั น้ี คลกิ ท่เี มนู ToolsDrafting Settings จะไดห นา ตางของ Drafting Settings คลิกเลอื กแทป็ Object Snap ท่ีกรอบ Object Snap Modesคลิกเลอื ก Osnap ทตี่ อ งการใชงานตามความตองการ ถาตองการเลอื กทง้ั หมดใหคลิกปุม Select All ในกรณที ต่ี องการยกเลิกการเลือกท้งั หมดใหกดปมุ Clear All เมื่อเลอื กไดแ ลวใหก ดปมุ OK เพือ่ ออกจากคําส่งั 85

ในการควบคุมการใชง านของ OSNAP ที่คุณไดกําหนดการใชงานแบบอัตโนมัติ ซ่งึ คุณ สามารถควบคุมการเปด หรือปดการใชงานได ดงั นี้ การควบคุมท่แี ถบสถานะ (Status Bar) คลกิ ที่ไอคอน OSNAP ใหเปนสีแกมเขียว เพ่ือเปดการ ใชงาน ถาเปนสีเทาหมายถึงปด การใชงาน การควบคมุ ดว ย Function Key F3: บนคียบ อรดใหกดปมุ F3 สลบั ไปมา เพ่ือเปด/ปด การใช งานของ OSNAP โดยใหส งั เกตท่ี Command Line จะแสดง <snap on> หรือ <snap off> การควบคมุ ดวยคยี ลดั <Ctrl+F>: โดยการกดปุม <Ctrl+F> สลบั ไปมา เพ่ือเปด/ปด การใชง าน ของ OSNAP การเลอื กใชง านโหมด ORTHO เปน การเขียนเสน ตรงในแนวต้งั ฉากทั่วไป ที่ทาํ มมุ 0, 90, 180, 270 และ 360 องศา โดยใช โหมด Ortho เปน ตัวควบคมุ การเคล่ือนท่ีของเมาส โดยคุณสามารถควบคุมการเปดหรอื ปดการใชง าน ได ดงั นี้ การควบคมุ ที่แถบสถานะ (Status Bar) คลกิ ทีไ่ อคอน ORTHO ใหเ ปน สีแกมเขยี ว เพือ่ เปด ใชง าน ถาเปนสีเทาหมายถึงปดการใชงาน การควบคมุ ดวย Function Key F8: ทีบ่ นคยี บอรดใหกดปุม F8 สลับไปมาเพอ่ื เปด/ปดการใช งานของ OSNAP โดยใหสังเกตที่ Command Line จะแสดง <ortho on> หรอื <ortho off> การเลอื กวัตถหุ รอื เสน ใน Drawing (Select Object) สําหรับการเลือกวตั ถุเพยี งอันเดยี วหรือเลือกวัตถทุ ่ีมีจํานวนมากๆ เพ่ือใชส ําหรับคัดลอกวัตถุ หรือลบวตั ถทุ ่เี ลือกออก ตัดเสน หรือยืดเสน นน้ั มีอยูดวยกนั หลายวธิ ี โดยใหส งั เกตท่ี Command Line: จะมีขอความปรากฏขึ้นมาวา Select Object แลว จงึ เลอื กเสน ตามวิธีท่ีตองการ ดงั น้ี 86

1. Pick เปนการเลอื กวัตถุ โดยการคลิกเสนหรือวัตถทุ ่ีตอ งการไดโ ดยตรง ซง่ึ สามารถคลิกไดหนึง่ เสนหรือหนง่ึ วัตถุตอ การคลกิ หนึ่งคร้งั 2. Windows Select (W) เปน วิธีการเลอื กวัตถทุ ีม่ ีการกาํ หนดขอบเขตในการเลือกวัตถุแบบตี กรอบเปน สเี่ หลี่ยมจากดานลาง (จดุ ที่1) ขึ้นดา นบน (จดุ ที่2) โดยวตั ถุทีถ่ กู ครอบจะถูกเลอื ก ครบทั้งหมดทุกสวน 3. Crossing Select (C) เปนวธิ ีการเลือกวตั ถุท่ีมีการกําหนดขอบเขตในการเลือกวัตถุแบบตี กรอบเปน สเ่ี หลี่ยมจากดานบน (จุดท่ี1) ลงดา นลาง (จดุ ท่ี2) โดยวัตถทุ ถี่ กู เสนกรอบน้ผี านจะ ถูกเลือกเทานั้น 87

4. Window Polygon Select (WP) เปนวิธีการเลอื กวัตถคุ ลายๆ กับแบบ Window แตจะตางกนั ตรงทก่ี ารตกี รอบน้ันสามารถกําหนดเปน กรอบหลายเหลย่ี มได โดยวัตถุท่ถี ูกครอบครบทกุ สว น จะถกู เลือกทงั้ หมด 5. Crossing Polygon (CP) เปนวิธกี ารเลือกวัตถุคลายๆ กับแบบ Window Polygon Select ใน เร่อื งของการตกี รอบเลือก แตจะแตกตางกนั ตรงที่ วัตถทุ ่ีถูกเสน กรอบนีผ้ า นจะถกู เลือกเทา นัน้ 6. Fence Select (F) เปนการเลอื กวัตถุโดยการลากเสนผา นวตั ถุทีต่ องการ โดยวัตถทุ ่ีถูกเสนลาก ผา นเทานัน้ จะถูกเลอื ก 88

AutoCAD 2011 ในสว นนค้ี ณุ จะไดเรียนรถู ึงกลมุ คําสง่ั ทีใ่ ชใ นการเขียนแบบ และกลุมคําสัง่ ทีใ่ ชใ น การแกไ ข เพอื่ การใชงานโปรแกรม AutoCAD 2011 ไดถ กู ตอ งและรวดเร็ว แลวยงั ชวยลดความผิดพลาดในการทํางานอกี ดวย 89

การใช AutoCAD 2010 ในการเขยี นแบบนนั้ บนโปรแกรมมีคาํ สง่ั ท่ใี ชใ นการเขียนเสน ใหได ตรงกับรูปแบบและความตอ งการ ซ่งึ ประกอบดว ยหลายคาํ ส่งั และในแตละคําสง่ั จะมคี าํ สั่งยอย ประกอบอยูซึ่งจะเปน ตัวชวย สําหรบั กาํ หนดลักษณะตางๆ ของเสน จึงจาํ เปนตองเรียนรูถงึ ขน้ั ตอนการ เขาถึงในแตล ะคาํ สั่ง ที่สําคัญท่สี ดุ คือ การนําคาํ สง่ั ตางๆ มาฝกใชง านอยา งคลองแคลว สมา่ํ เสมอ เพ่ือ ความชาํ นาญตอไป กลุมคาํ ส่งั (Draw) สาํ หรับการเขียนหรือสรา งวัตถุ กลุมคําสัง่ ของ Draw เปน คาํ สั่งหลกั ทใ่ี ชส าํ หรับเขียนแบบ 2 มิตทิ ่วั ไป ซงึ่ เกดิ จากการนําเสน มาวางบนจุดหรือตาํ แหนง ใหเกิดเปนเสนของช้ินงานนั่นเอง คําสั่ง Line เปนคาํ ส่ังสําหรับเขียนเสนตรง โดยกาํ หนดพิกัดของจุดเรมิ่ ตน และพกิ ัดจดุ ปลายของเสน สามารถเขียนเสนตรงไดอยา งตอเน่ือง โดยใชพ ิกัดจุดปลายของเสนเปน จุดเร่มิ ตนในการเขยี นเสน ถัดไป Home tab  Draw panel  Line. Command: _line (เรียกคําสั่ง Line) Specify first point: (คลกิ จุดแรกเพื่อเร่ิมตนเขยี นเสนตรง) Specify next point or [Undo]: Specify next point or [Undo]: Specify next point or [Close/Undo]: • Continue : ใชสาํ หรบั การเขียนเสน ใหตอ เนื่อง จากเสนหรือสว นโคงเดิมท่ีเขียนไวก อนหนาน้ี • Close : ใชสําหรับการลากเสนตรงเชอื่ มตอจุดเร่มิ ตน กับจุดสุดทายใหเปนรปู ทรงแบบปด • Undo : ใชสาํ หรับใชใ นการยกเลกิ เสน หรือจุดที่มีการเขียนผิดพลาดยอ นกลับไป 1 จดุ 90

คําสัง่ Construction Line เปนคาํ สั่งเขียนเสนทมี่ ีความยาวไมรจู บ ทงั้ จุดเรม่ิ ตนและจดุ ปลายของเสน ใชสาํ หรับเปนเสน อา งองิ ในการวางแนวของภาพฉาย หรือเพื่อเปนพนื้ ฐานสําหรับเขยี นเสน อ่ืนๆ ตอไป Home tab  Draw panel   Construction Line. • Specify a point: ใชสําหรบั การสรางเสนอางอิง โดยใชจ ุด 2 จุดทีต่ องการใหเ สนนีล้ ากผา น • Hor (Horizontal): ใชสาํ หรับลากเสนในแนวนอน โดยกําหนดจุดผา นเพียง 1 จดุ • Ver (Vertical): ใชสาํ หรับลากเสนในแนวตัง้ โ ดยกาํ หนดจุดผานเพยี ง 1 จดุ • Ang (Angle): ใชสําหรบั ลากเสน อางองิ ซึ่งทาํ มุมกับแกน X สามารถกําหนดคา มุมไดตาม ตองการ • Bisect: ใชสําหรับเมอื่ ตองการเสน อางองิ แบง ครึ่งมุม ทําไดโดยเลอื กมมุ ท่ีตองการแบง ครง่ึ แลว เลือกเสนทีเ่ ปนแขนของมุมท้ัง 2 ขาง • Offset: ใชส ําหรบั สรางเสนอางอิงท่ขี นานกบั เสน อางอิงทเี่ ลือก โดยกําหนดระยะหางท่ีตอ งการ หรือใชเมาสคลกิ เลือกระยะหางไดเลย Command: _xline Specify a point or [Hor/Ver/Ang/Bisect/Offset]: Specify through point: คาํ สั่ง Ray เปน คาํ สงั่ เขียนเสน ที่มีความยาวจุดปลายดา นหนึ่งของเสนไมร ูจบ ใชเ ปน เสนอิงอิงเหมอื น คาํ สั่ง Construction Line แตไมมรี ูปแบบที่ใชสรา งเสนหลากหลายเทา กับคําส่ัง Construction Line Home tab  Draw panel   Ray Command: _ray Specify start point: Specify through point: 91

คาํ สัง่ Polyline เปนคาํ สง่ั ท่ีใชเ ขียนเสนตรงและสวนโคง ตอเน่ืองกัน โดยสามารถกําหนดคณุ สมบัตขิ องเสน ได ซึง่ เสนทเ่ี ขียนข้ึนมาจะเปนเสนเดียวกันตลอด และสามารถกาํ หนดความหนาของเสน ได โดยท่ีความ หนาของเสนท่ีตวั โปรแกรมกําหนดมาใหน นั้ มีคา เปน ศนู ย Home tab  Draw panel  Polyline. Command: _pline Specify start point: กําหนดจุดเร่มิ ตนของเสน Current line-width is 0.0000 ความหนาของเสนท่ีโปรแกรมกาํ หนดไว Specify next point or [Arc/Halfwidth/Length/Undo/Width]: กําหนดจุดปลายของเสน แรก Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: a เปลี่ยนมาเขียนเสน โคง Specify endpoint of arc or [Angle/CEnter/CLose/Direction/Halfwidth/Line/Radius/Second pt/Undo/Width]: กําหนดจดุ ปลายของเสน โคง Specify endpoint of arc or [Angle/CEnter/CLose/Direction/Halfwidth/Line/Radius/Second pt/Undo/Width]: l เปลีย่ นมาเขียนเสนตรง Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: กําหนดจุดปลายของเสนตรง Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width]: c ปดเสนท่เี ขียน 92

• Specify next point: เลื่อนเมาสเ พอ่ื ลากเสน ไปยังตําแหนง ถัดไป • Arc: ใชสาํ หรับเปนตวั เลือกในการเปลี่ยน จากการเขียนสวนเสน ตรงมาเปนสว นโคง • Halfwidth: ใชสําหรับกําหนดความหนาครึ่งหนึ่งใหก ับสวนโคงหรือเสนตรง โดยมีระยะจากเสน ศูนยกลางไปยังขอบของเสน โดยจะมีผลกับสว นทจี่ ะเขียนตอไปดวย Specify starting width <current>: กําหนดความหนาเริ่มตน หรือกด ENTER Specify ending width <starting width>: กาํ หนดความหนาจุดปลาย หรือกด ENTER • Line: เปลย่ี นจากการเขียนสวนโคงกลบั มาเขียนเสน ตรง • Width: ใชก ําหนดความหนาของสวนโคงหรอื เสนตรง โดยจะมผี ลกับสวนโคง หรือเสนตรงทจี่ ะ เขยี นตอไป • Close: ใชส ําหรบั การปดเสน ดวยเสน ตรงหรือเสนโคง แลว แตว า จะอยูใ นคาํ สั่งใด โดยจะ ลากเสนตรงไปเชื่อมตอกับจุดปลายของเสน ลาสุดกับจุดเรม่ิ ตน • Length: เปนตวั เลือกสําหรับการกาํ หนดคาความยาวของเสน ที่ตอ งการจะเขียนตอ จากเสน เดิม ถา เสนเดิมทจ่ี ะเขยี นตอน้นั เปนสวนโคง เสนทีจ่ ะเขยี นตอจากนน้ั จะสมั ผสั กับสวนโคง เดิม • Undo: ใชสําหรับยกเลิกเสนตรงหรือสวนโคง ท่ีมกี ารกําหนดตําแหนงผิดพลาด 93

คาํ สงั่ Polygon ใชส ําหรบั เขียนรูปหลายเหล่ียมดานเทา ทีม่ ีขนาดของมมุ และความยาวของแตละดานเทากัน โดยสามารถเขียนไดต้งั แต 3 เหล่ียมไปจนถงึ 1024 เหลยี่ ม โดยมีวิธกี ารเขียนคลายกับการเขียนรูป วงกลม คือกาํ หนดจุดศูนยกลางข้ึนมากอ น HCoommemtaabnd: _Dporalywgopnanel  Polygon. Enter number of sides <4>: กําหนดจาํ นวนเหลี่ยมของรปู Polygon Specify center of polygon or [Edge]: กําหนดจุดศูนยกลางของรูปหลายเหล่ียม Enter an option [Inscribed in circle/Circumscribed about circle] <I>: I เลือกการ เขียนรปู หลายเหล่ียมแบบ Inscribed in circle Specify radius of circle: กาํ หนดรัศมีของวงกลม • Inscribed in circle: เปน ตวั เลือกสาํ หรับเขียนรูปหลายเหลยี่ มทกี่ ําหนดใหท ุกมุมน้ันสัมผัสกับ สว นโคง ดานในของวงกลมที่ใชอ างองิ โดยสามารถพิมพ ตัว I ลงไปที่ Command • Circumscribed about Circle: เปน ตวั เลือกสําหรับการเขียนรูปหลายเหลี่ยม ทก่ี ําหนดใหทกุ ดานนัน้ สมั ผัสกับสว นโคง ดา นนอกของวงกลมที่ใชอางองิ โดยสามารถพิมพ ตัว C ลงไปที่ Command • Edge: เปน เลือกสาํ หรับกําหนดจุดสองจดุ ข้ึนมา แทนดา นแรกของรูปหลายเหลย่ี มดานเทา Inscribed in circle Circumscribed about circle Edge 94

คําสัง่ Rectangle ใชสาํ หรบั เขียนรูปส่เี หลี่ยม โดยการกาํ หนดมุม 2 มุมในแนวทแยงมุม หรือใชตัวเลือกอนื่ ในการ เขยี นรปู ส่เี หลี่ยม และกําหนดรูปแบบของสีเ่ หล่ยี ม Home tab  Draw panel  Rectangle. Command: _rectang Specify first corner point or [Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width]: Specify other corner point or [Area/Dimensions/Rotation]: • Chamfer: ใชต ัวเลอื กนส้ี ําหรับกาํ หนดใหร ูปส่เี หลี่ยมทเี่ ขยี นขึน้ มามีการลบคม (Chamfer) ออกทง้ั ส่ีดา น ** คณุ ตองกาํ หนดคาของระยะการลบคม (Chamfer) กอน ในคําส่ังของ RECTANG • Elevation: ใชตวั เลือกนีส้ าํ หรับกาํ หนดระดับความสงู ของส่ีเหลี่ยมใน 3 มิติ ** คุณตองกําหนดคา ระดับความสงู (Elevation) กอ น ในคาํ สง่ั ของ RECTANG • Fillet: ใชตวั เลือกน้สี าํ หรับสรางรูปส่เี หลยี่ มผนื ผามนคม (Fillet) ทั้ง 4 มุม ** คุณตอ งกําหนดคารัศมขี องการมนคม (Fillet) กอ น ในคําส่ังของ RECTANG • Thickness: ใชต วั เลอื กนส้ี ําหรับกาํ หนดความหนาของสเี่ หลย่ี มผนื ผาใน 3 มิติ ** คุณตองกาํ หนดคาความหนา (Thickness) ของสี่เหล่ียมผนื ผา กอน ในคาํ สง่ั ของ RECTANG • Width: ใชตวั เลอื กนสี้ าํ หรับกําหนดความหนาของกรอบส่ีเหลย่ี ม ** คณุ ตอ งกาํ หนดคา ความหนา (Width) ของกรอบสีเ่ หล่ียมกอ น ในคําสงั่ ของ RECTANG 95

• Area: ตวั เลอื กสาํ หรับการสรางรปู ส่เี หล่ียม โดยกาํ หนดความยาวหรอื ความกวา ง ถาในรปู ของ สีเ่ หลี่ยมถูกเลอื กใหมกี ารลบคมหรือมนคม พืน้ ท่ีภายในของสี่เหล่ยี มจะรวมเอามุมท่ีถูกลบคม หรอื มนคมออกน้ันรวมเขาไปดว ย • Dimensions: การสรางรูปส่เี หลย่ี ม โดยกําหนดคา ความยาวกับคาความหนา • Rotation: การสรางรูปสเ่ี หล่ียม โดยกาํ หนดคา มุมท่ีตอ งการ คาํ สั่ง Arc ใชส ําหรบั เขียนสวนโคง มีวธิ ีการเขียนท้งั หมด 11 วธิ ดี ว ยกัน โดยแบง ออกเปน 5 กลุม เพื่อให คณุ ไดเลือกใชต ามความเหมาะสม Home tab  Draw panel  3-Point. Command: _arc Specify start point of arc or [Center]: กาํ หนดจุดเร่มิ ตนของสว นโคง Specify second point of arc or [Center/End]: กาํ หนดจุดท่ีสองของสว นโคง Specify end point of arc: กําหนดจุดทสี่ ามของสว นโคง 3 Point: ใชสรา งสวนโคง โดยกําหนดจุดวาง 3 จุด Start, Center, End: ใชส รางสว นโคง โดยกาํ หนดจุดเร่ิมตน จดุ ศูนยกลาง และจุดปลายของสวนโคง Start, Center, Angle: ใชส รางสวนโคง โดยกาํ หนดจุดเริ่มตน จุด ศนู ยก ลาง และคามมุ ของสวนโคง Start, Center, Length: ใชสรา งสวนโคง โดยกําหนดจุดเรม่ิ ตน จุด ศูนยก ลาง และความยาวของสวนโคง Start, End, Angle: ใชสรา งสวนโคง โดยกาํ หนดจุดเรม่ิ ตน จุดปลาย ของสว นโคง และคามมุ ของสว นโคง Start, End, Radius: ใชสรา งสว นโคง โดยกาํ หนดจุดเร่ิมตน จุดปลาย ของสว นโคง และคารศั มีของสวนโคง Start, End, Direction: ใชสรางสวนโคง โดยกําหนดจุดเริ่มตน จุดปลาย ของสว นโคง และกําหนดทิศทางของเสนตรงทส่ี ัมผัสกับสวนโคง 96

Center, Start, End: ใชส รา งสวนโคง โดยกําหนดจุดศนู ยกลาง จุดเริม่ ตน และจุดปลายของเสน Center, Start, Angle: ใชสรา งสว นโคง โดยกาํ หนดจุดศูนยก ลาง จดุ เร่มิ ตน และคามุมของสว นโคง Center, Start, Length: ใชส รางสวนโคง โดยกําหนดจดุ ศูนยก ลาง จุดเร่มิ ตน และความยาวของสวนโคง Continue: ใชส รางสวนโคง ตอเนอื่ งจากจุดปลายของเสน ลาสดุ คาํ สั่ง Circle ใชส ําหรับเขียนวงกลมโดยกําหนดจุดตางๆ มวี ิธกี ารเขียนท้งั หมด 6 วิธี ใหคุณไดเ ลือกใชง าน Home tab  Draw panel  Center, Radius. Command: _circle Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: กาํ หนดจุดศนู ยกลางของวงกลม Specify radius of circle or [Diameter]: กาํ หนดรัศมขี องวงกลม Center, Radius: ใชสรางวงกลม โดยกาํ หนดจุดศนู ยกลาง และคารัศมขี องวงกลม Center, Diameter: ใชสรางวงกลม โดยกําหนดจุดศนู ยก ลาง และคาของเสนผานศูนยกลางวงกลม 2 Points: ใชส รา งวงกลม โดยกําหนดจุด 2 จุด 3 Points: ใชสรา งวงกลม โดยกําหนดจุด 3 จุด Tan, Tan, Radius: ใชสรา งวงกลม โดยกาํ หนดใหเ สน รอบวง สมั ผสั กบั เสน 2 จดุ และกาํ หนดคาของรัศมี Tan, Tan, Tan: ใชสรางวงกลม โดยกาํ หนดใหเ สน รอบวง สัมผัสกบั เสน ท้ัง 3 จดุ 97

คําสั่ง Revision Cloud ใชส าํ หรบั เขยี นแสดงหรอื กํากบั หมายเหตุลอมรอบจุดทม่ี กี ารแกไ ข หรอื อื่นๆ แลว แตการใชงาน Home tab  Draw panel   Revision Cloud Command: REVCLOUD Minimum arc length: 0.5000 Maximum arc length: 0.5000 Style: Normal Specify start point or [Arc length/Object/Style] <Object>: ลากเมาสไปยงั ทิศทางท่ี ตองการเขียนเสน Guide crosshairs along cloud path... • Arc Length: ใชสาํ หรับกําหนดสวนโคง ข้นั ต่ํา และสว นโคงสงู สุด • Object: ใชสาํ หรบั แปลงวัตถุท่ีเปนรปู ปด ใหเ ปน Revision Cloud โดยคลกิ เลือกท่ีรปู ปด ที่ ตอ งการ • Style:ใชสําหรบั เลือกรปู แบบของ Revision Cloud มี 2 แบบคอื Normal กับ Calligraphy Normal Calligraphy 98

คําสัง่ Spline ใชส าํ หรับเขยี นเสน โคง แบบตอ เนื่อง เพอื่ ลากผา นจุดทีก่ ําหนด Home tab  Draw panel   Spline. Command: _spline Current settings: Method=Fit Knots=Chord Specify first point or [Method/Knots/Object]: Enter next point or [start Tangency/toLerance]: Enter next point or [end Tangency/toLerance/Undo/Close]: Enter next point or [end Tangency/toLerance/Undo/Close]: Enter next point or [end Tangency/toLerance/Undo/Close]: Method เปนการควบคมุ การเขียนเสน Spline มี 2 แบบคือ Fit point: เขียนเสน Spline โดย Fit จุดท่เี ลือก เสนทเ่ี ขยี นจะผา นจดุ ทถ่ี ูกคลิกเลือก Control Vertices (VP): เขยี นเสน Spline โดยการควบคุม Vertices เปนการเขียนท่ีดีท่ีสุด ถา คุณเขียนเสนเพ่ือใชใ นงาน 3D NURBS Surface 99

โดยมีตัวเลือกสาํ หรับControl Vertices Degree เปน การกําหนดคาการดัดโคง (Bends) มีอยู 3 แบบคือ 1, 2 และ 3 • Close: เมือ่ ลากเสนผา นจุดตางๆ แลว ตองการปดเสน • Start Tangency: เขยี นเสน ใหสมั ผัสกบั จดุ เริ่มตน • end Tangency: เขยี นเสน ใหสมั ผสั กบั จดุ ส้ินสุด 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook