Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้งานโปรแกรม AutoCAD

การใช้งานโปรแกรม AutoCAD

Description: การใช้งานโปรแกรม AutoCAD

Search

Read the Text Version

48 ผใู ชสามารถปรับตงั้ สที ่ตี องการใช โดยเลอื กที่ชองทีแ่ สดงสี และเลอื กสีท่ตี อ งการ โดยทว่ั ไป ผใู ชง านจะวางแผนในการใชส ตี างๆ เนอ่ื งจากสามารถกําหนดใหโปรแกรม plot งานโดยกําหนดความ หนาของเสนตามสีทีต่ งั้ เชน กําหนดใหส ีเหลืองมีความหนาของเสน 0.2 มม. สีขาวแทนความหนาของเสน 0.7 มม. วัตถทุ ี่อยใู น Layer ทก่ี ําหนดดวยสีเหลือง จะมคี วามหนาของเสน 0.2 มม. และผูใชสามารถ เปลี่ยนสเี ปนสอี ื่นไดหากตอ งการ เมื่อส่งั plot งานความหนาเสนก็จะเปลี่ยนไปตามคา ทต่ี ัง้ ไว ทาํ ใหง ายตอ การกาํ หนดขนาดของเสน ในการ plot งาน เปน ตน การใชง าน คลกิ ที่ Toolbar layer… เลอื ก option ท่ีตอ งการใชงาน เชน ปด เปด ลอ็ ก เปนตน สว นทีใ่ ช บอ ยๆ คอื ปด /เปด ซงึ่ จะเปนสญั ลักษณรปู หลอดไฟ ถาเปด Layer หลอดไฟจะเปน สีเหลอื ง หากปด หลอดไฟจะเปล่ียนเปนสีเทา ตัวอยางการใชงาน เชน ตองการซอ นหรอื ปด งานที่อยูใ น layer footing ใหเลือก layer footing แลวคลิกหลอดไฟ สญั ลักษณรูปหลอดไฟ ของ layer footing จะเปล่ียนเปนสีเทา วัตถุทอี่ ยใู น layer footing จะหายไปจากหนา จอ ในทางกลบั กนั หากตอ งการใหแ สดงก็ทําการคลิกซาํ้ กจ็ ะ แสดงผลออกมาได เปน ตน

49 การบอกขนาด Dimensioning การบอกขนาด มคี วามสําคญั อยางยงิ่ ในการเขยี นแบบ เนอ่ื งจากเปน ขอ มลู ทตี่ อ งนําไปใชในการ ทาํ งานจรงิ ไมวาจะเปนงานกอสรางอาคาร งานผลติ ชิ้นสวนตา งๆของเคร่ืองจักร ผทู เ่ี ขยี นแบบโดยท่ัวไป จะมคี วามรเู ก่ยี ววิธกี ารบอกขนาดตามหลกั การของการเขยี นแบบ เปนอยางดี ซึ่งจะทําใหทราบวา มี เงอื่ นไข หรอื รปู แบบของการบอกขนาดมากมาย ทจ่ี ะตอ งปฏบิ ตั ติ าม แตโ ดยรวมแลวจะมจี ุดมุงหมาย เพอื่ ใหก ารบอกขนาดตา งๆในแบบ มีความชดั เจน สามารถส่อื สารระหวางผทู ี่ออกแบบกบั ผูที่ตองนําไป ปฏบิ ตั ิไดอยา งถูกตอง ในโปรแกรม AutoCAD มีเครื่องมือที่ชวยในการบอกขนาดหลายคาํ สงั่ ในเอกสาร ชดุ น้ีจะกลา วถงึ เฉพาะคําส่ังที่จําเปนตองใช เทาน้ัน พ้ืนฐานของการบอกขนาด วิธีการบอกขนาด เลอื กคาํ สั่งจาก Menu bar หรอื เลอื กจาก Dimension Toolbar รายละเอียดของคาํ สงั่ ดังแสดงในตาราง

50 การบอกขนาดแบบตางๆ Linear เปน การบอกขนาดตามความยาวตาม แนวแกน x หรอื y Dimension จะวางตวั ขนานในแนวแกน x หรือ y เทานน้ั Aligned เปนการบอกขนาดความยาวจริงเชน ความ ยาวของเสน เอียง โดย Dimension จะขนานกับเสนที่ บอกขนาด Radius เปน การบอกขนาดรัศมีของสว นโคง พรอ ม สญั ลักษณ Diameter เปนการบอกขนาดความยาวของ เสน ผา ศนู ยก ลาง พรอมสัญลักษณ Angular เปนการบอกขนาดของมมุ Baseline เปน การบอกขนาดแบบตอ เนื่องโดยจะ อา งอิงกับเสน บอกขนาดเสนแรก Continue เปน การบอกขนาดแบบตอ เนอ่ื งโดยเสน บอกขนาดจะวางอยูใ นแนวเดยี วกันโดยอตั โนมัติ Quick Leader ใชส าํ หรบั ช้ตี าํ แหนงและระบขุ อ ความ ลงในแบบ

การต้งั คา ตา งๆของ dimension เบอ้ื งตน 51 1. เลือก Menu format  Dimension Style… หรือ 2. เลือกจาก Style หรือ Dimension Toolbar โดยดูจากสญั ลกั ษณ Dimension Style Manager New… เพ่อื สรา งรปู แบบของเสนบอกขนาด Modify..หากตอ งการแกไ ขรูปแบบท่เี ลือก ในท่ีนแี้ นะนาํ ใหท ําการสรา งรปู แบบขนึ้ มาใหม โดยทาํ การแกไข จากรปู แบบทโี่ ปรแกรมมีไห จากนนั้ ใหต ัง้ ช่อื รูปแบบใหม

52 Lines - Color  เปลีย่ นสีเสน Dimension line หรือ Extension Line - Baseline spacing  ชองวางระหวาง Dimension line สําหรับการบอกขนาดแบบ Baseline - Extend beyond dim lines  ระยะทเี่ สน Extension ยาวเกนิ Dimension line - Offset from origin  ระยะหางระหวาง Extension line กบั งาน ในการปรับเปล่ียนสี โดยทว่ั ไปจะคาํ นงึ ถึงความจําเปน ท่ีจะปรับเนือ่ งจากโปรแกรมสามารถ plot งานแบบ โดยทําการกาํ หนดความหนาของเสนที่ plot ดวยสีตา งๆ เชน กาํ หนดใหสเี ขียว plot ดว ย ความหนาเสน 0.3 มม. งานที่ไดว ตั ถทุ ี่กําหนดดว ยสีเขยี วจะมีความหนาเสน 0.3 มม. เปน ตน

53 Symbols and Arrows - Arrowheads  รปู แบบของหัวลูกศร - Arrow size  ขนาดของหัวลกู ศร  ขณะทําการแกไขคา ตางๆผูใชสามารถสังเกตการเปล่ยี นแปลงท่เี กิดข้นึ ไดจากรปู แบบซ่ึงโปรแกรมจะ ทําการ preview ในหนาตางนั้นๆ

54 Text - Text color  สีของตัวเลขบอกขนาด - Text height  ความสูงของตวั เลขบอกขนาด - Text placement  รูปแบบของการวาง ตัวเลขบอกขนาด - Text alignment  แนวของการวาง ตัวเลขบอกขนาด Fit Scale for dimension feature  คา ของขนาด ของ Dimension หากตอ งการใหใ หญเปน 2 เทา ให เปลี่ยนคา เปน เลข 2

Primary Units 55 - Unit format  รปู แบบของการวดั - Precision  จาํ นวนเลขทศนิยม - Decimal separator  สญั ลกั ษณ ของจุดทศนิยม - Scale Factor  scale ของการวัด หากเปลยี่ นเปน 2 คา ที่ dimension แสดง จะมคี าเปน 2 เทาของขนาดจรงิ - Zero Suppression  ตงั้ ใหแ สดงหรือไมแสดงเลข 0 นาํ หนา หรอื ทา ยสุดของเลขทศนยิ ม  นอกจากการปรบั ตัง้ แบบนี้แลว ยังสามารถตั้งไดอิสระ ในแตล ะ dimension โดย double-click ท่ี dimension นน้ั ๆ จะมี dialog box สําหรบั ทาํ การปรบั แตง คา ตา งๆได

56 การใชง านไฟลต นแบบ (Template) การใชงาน template โดยท่ัวไปจะมีการสรา งสาํ หรับหนว ยงานหรือองคกรน้นั ๆเพอ่ื ความสะดวกใน การทาํ งานเปนทมี โดยผูใ ชง านแตล ะคนไมตองปรบั แตง รูปแบบตา งๆทุกคร้ังในการสรางงานใหม รปู แบบ ทม่ี กี ารปรับแตง เชน Text style , Dimension style, Unit และ Layer เปนตน ทําใหก ารทํางาน ภายในองคกรมคี วามสะดวกมากย่ิงข้ึน เพราะผใู ชง านจะสามารถแกไข หรอื ปรบั แกงานไดงายขึน้  การจดั การเก่ียวกบั Layer  การจดั การเกี่ยวกับตวั อกั ษร

57  การจัดการเก่ียวกบั การบอกขนาด  การจัดการเก่ียวกับรปู แบบเสน หลังจากปรบั แตงไฟลท ี่ตองการทําเปนตน แบบเรียบรอ ยแลว ใหทําการ save หรอื saveas เปน Template (.dwt)

58 การเรียกใชง าน ในการสรา งงานใหม ใหผูใชเ ลอื กจาก template ท่ที าํ การสรางเกบ็ ไว จากน้ันสามารถเรมิ่ ทํางานไดเ ลย โดยไมต อ งทาํ การปรบั ตัง้ คา Layer, Text style และ Dimension style ทําใหก ารทํางานสะดวก ยง่ิ ขน้ึ และยังสามารถคดั ลอกไฟลตน แบบไปใชกบั เครอ่ื งอ่นื ๆได ซึง่ จะทําใหงานแบบมรี ูปแบบมาตรฐาน เดยี วกัน  เพือ่ ความสะดวกในการคน หาหรอื เรียกใชง านควร save template ไวใน folder ทีส่ รา งไว โดยปกติไฟล template จะถูกเกบ็ ไวใน folder template ตามรปู ประกอบ

59 หากตองการคัดลอกไฟล template เพือ่ นาํ ไปใชงานกับเครือ่ งคอมพวิ เตอรเครื่องอื่น หรือไมส ามารถหา folder ดังกลาวพบ จะตอ ง set folder option ใน explore ของ windows ใหแสดง hidden folder เสยี กอน จงึ จะสามารถแสดง folder ดงั ตัวอยางได เพราะ hidden files and folders คา เรม่ิ ตนของ OS window จะต้ังไวท ี่ Do not show hidden files and folders จึงทําใหไม สามารถคนหาแบบปกตไิ ด วิธีการตัง้ คา 1. เลอื กท่ี Tools ใน เมนบู าร 2. เลอื ก Folder Options 3. เลือก Tab View 4. เลอื ก Show hidden files and folders

เรียบเรยี งโดย ประสทิ ธิชัย ดาํ เนินฐติ กิ ิจ 60  Make Block ใชส าํ หรับสรางวัตถุใหเปนบล็อก ซง่ึ ความหมายของ Block ในโปรแกรม AutoCAD คือการนาํ เอา วตั ถหุ ลายช้นิ มารวมกัน แลว กําหนดใหโปรแกรมมองเหน็ เปนวัตถชุ ้นิ เดียว จะทาํ ใหง ายตอ การทํางาน ไม วาจะเปนการแกไ ข หรือคัดลอก โดยปกตจิ ะนิยมใชใ นสรางช้ินงานทีม่ ีการใชงานบอยๆ หรอื จํานวนมากๆ เชน บลอ็ กรปู เสา ฐานราก ประตู หนา ตา ง เคร่ืองสุขภณั ฑ ฯลฯ ซงึ่ ขึ้นอยูกบั ความตอ งการของผใู ช วาจะ กาํ หนดส่ิงใดใหเปนบลอ็ ก การใชงาน เม่อื เลือกคําสั่ง โปรแกรมจะแสดงหนา ตา ง Block Definition วธิ ใี ชง าน (ไมจ ําเปน ตองเรียงตามลาํ ดบั ) 1. ต้ังชื่อบลอ็ ก {ควรใชช่ือที่สือ่ ความหมายถึงบล็อกนัน้ ๆ เพ่อื ใหส ะดวกตอการเรียกใชงานใน ภายหลัง} 2. กําหนดจุดอา งอิง {ขึน้ อยูก บั ตําแหนง การนาํ ไปวางของบลอ็ ก เชน ตอ งการวางโดยอา งองิ กับจดุ กง่ึ กลางของรปู หรอื มมุ ของรูป เปน ตน } 3. เลือกวตั ถทุ ีต่ องการ ในปจ จุบัน ตามเวปไซตข องเคร่ืองใชตางๆทเี่ กี่ยวกับงานเขยี นแบบ มักจะมไี ฟลแบบของงานนั้นๆ ใน รูปของไฟล AutoCAD ใหส ามารถ download ไปใชใ นงานแบบไดเ ลย เชน สุขภณั ฑ “ อเมริกัน สแตนดารด ” http://www.americanstandard.co.th/product.asp?ID=2&ProductID=1&lang=th

61  Insert Block ใชส ําหรับเรียก บลอ็ กทมี่ ีอยูม าใชงาน การใชง าน เมื่อเลือกคําส่ัง โปรแกรมจะแสดงหนา ตา ง Insert หากตอ งการเรียกบลอ็ กท่ีมีอยใู นไฟล ใหทําการเลอื กท่ชี องหมายเลข 1 หมายเลข 2 สาํ หรับนาํ ไฟลง านอื่นเขา มาใชงานรว มกับงานปจจบุ นั ซ่ึงสามารถนาํ ไฟลบลอ็ ก หรอื ไฟลแ บบ กไ็ ด

62 การสรางบล็อกและการใชงาน Attribute การกําหนด Attribute ใหก ับบล็อก คอื การนําขอ มูลตัวอกั ษรแบบปรบั เปลีย่ นไดเพิ่มเขาไปใน บลอ็ ก ซ่ึงจะมขี อแตกตา งจากการเพิม่ ตวั อกั ษรปกตเิ ขา ไปในบล็อกเพราะเม่อื เรียกใชง านจะไมสามารถแกไ ข ขอมูลแบบปกติไดตองทาํ การ explode กอน แตถาเปน บล็อกแบบกาํ หนด Attribute เม่ือทําการ เรียกใชง าน โปรแกรมจะยอมใหผ ใู ชงานปรบั เปลยี่ นขอความดงั กลาวได ซ่ึงสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชง านได หลากหลาย เชน กําหนดใหก ับขอความของฐานราก ซึง่ ขนาดเทา กนั แตต ําแหนง ทีว่ างตา งกนั ก็สามารถ แกไ ขขอ ความที่ระบุตําแหนง ดังกลาวได หรอื แปลนไฟฟาทใี่ ช circuit breaker หลายๆขนาดและ จําเปน ตอ งเปลี่ยนขอความระบุขนาดของ circuit breaker ก็สามารถประยกุ ตใ ชไ ดเปน ตน การใชงาน 1. สรางรปู ทตี่ องการทําเปน Block โดยคํานึงถงึ Layer ทีจ่ ะใชเพ่อื ใหงายตอ การจดั การ เชน ถาตอ งการปด Layer ของแนวเสน Guide line หรือ Layer ตัวอักษร Layer เหลา นน้ั ทอ่ี ยูในบลอ็ กก็ควรท่จี ะปดไปดวย เปน ตน 2. เรียกคาํ ส่ัง Make block ตั้งชือ่ ของบล็อก ควรตงั้ ช่อื ไหส ื่อถึงงานทีท่ ํา เชน CB ใชแทนชื่อบลอ็ กของ circuit breaker หรอื ใชช อ่ื เต็ม เพื่อสะดวกตอการเรยี กใชง านในภายหลัง  การกําหนดจุดอา งอิง โดยปกติจะข้ึนอยกู ับจุดทต่ี องการนําไปวาง เชน เสา โดยทัว่ ไปจะใชจดุ กงึ่ กลางของเสาเปนจุดทน่ี ํา block ไปวาง เพราะหากมกี ารปรบั เปล่ียนขนาดเสาใหม ระยะหางระหวา ง เสาจะไมมกี ารเปลย่ี นแปลง

63 เลือกวัตถทุ ีต่ อ งการสรา งเปน บล็อก เรยี กคาํ สั่ง define Attributes เขยี นรายละเอยี ดของขอความเพื่อเปน แนวทางในการใชงาน รายละเอียดของ Attribute Tag คือ ช่อื ของขอ มูล Prompt คอื ขอความท่ีแสดงที่ Command Prompt Value คือ คาเรม่ิ ตนของขอมลู หรือ กําหนด Attribute โดยใช Block editor โดยเลือก  Open in block editor ขณะทําการสราง block โปรแกรมจะเขาสู Mode Block Editor เลอื ก Define Attribute จะไดหนาตา ง Attribute Definition เหมอื นวิธีแรก

64 การนําไปใชง านและการแกไขขอมูล 1. เมื่อเลอื กคาํ ส่ัง Insert block และใชงานตามขน้ั ตอนปกติ โปรแกรมจะใหผูใชส ามารถท่ีจะแกไ ข ขอความทอ่ี ยใู นบล็อกได โดยเปลี่ยนที่ Command line ดงั ตวั อยาง 2. หลงั จากทวี่ างบลอ็ กแลว สามารถแกไขตัวหนังสือของ Block อนั เดยี วกัน ไดโดยอสิ ระตอ กนั ใน แต Block โดย Double click ท่ี Block ท่ีตอ งการจะแกไขตวั หนังสือ จะมหี นาตา ง Enhanced Attribute Editor สามารถแกไ ขขอ ความตางๆได ตามรูป โดยแกไ ขท่ี Value :

65 คาํ ส่ังทใี่ ชในการวัดระยะและคํานวณหาพ้ืนท่ี คําส่ัง Distance ใชหาความยาวของเสนตรง โดยเลือกจุดปลายทงั้ สองของเสน โปรแกรมจะแสดงขนาดของเสน ตามหนว ยทต่ี ัง้ ไว คําส่ัง Area ใชห าพ้ืนทแี่ ละเสน รอบรปู ของรูปหลายเหลีย่ ม โดยเลือกจุดตางๆของรปู ปด โดยเลือกตามลําดับจนกระท่งั ครบทุกจดุ โปรแกรมจะแสดงขนาด พน้ื ที่ (Area) และเสนรอบรปู (Perimeter) สวนท่แี รเงาคือพื้นที่ทคี่ ํานวณ การใชง าน Area ในกลุมคําสง่ั ยอย [ Object / Add / Subtract ] Object เลอื กวัตถุทเ่ี ปน เสนตอ เนือ่ งรูปปด Command: _area Specify first corner point or [Object/Add/Subtract]: o Select objects: Area = 119.7694, Circumference = 38.7952 Add รวมพ้นื ทขี่ องวัตถุ Command: _area Specify first corner point or [Object/Add/Subtract]: a Specify first corner point or [Object/Subtract]: o (ADD mode) Select objects: Area = 119.7694, Circumference = 38.7952

66 Total area = 119.7694 (ADD mode) Select objects: Specify first corner point or [Object/Subtract]: o (ADD mode) Select objects: Area = 53.3955, Perimeter = 30.0356 Total area = 173.1649 (ADD mode) Select objects: Subtract หาผลตางของพื้นท่วี ตั ถุ Command: _area Specify first corner point or [Object/Add/Subtract]: a Specify first corner point or [Object/Subtract]: o (ADD mode) Select objects: Area = 119.7694, Circumference = 38.7952 Total area = 119.7694 (ADD mode) Select objects: Specify first corner point or [Object/Subtract]: s Specify first corner point or [Object/Add]: o (SUBTRACT mode) Select objects: Area = 53.3955, Perimeter = 30.0356 Total area = 66.3739 (SUBTRACT mode) Select objects: การเปล่ียนคุณสมบตั ิของวัตถอุ ยางงาย Match Properties ใชสําหรบั เปล่ยี นวัตถใุ หม ีคณุ สมบัตเิ หมอื นกัน การใชงานโดย 1. เรยี กคําสั่ง Match Prooerties 2. เลอื กวัตถทุ ่ตี องการใหเ ปนตนแบบ 3. เลอื กวตั ถทุ ่ีตองการเปล่ียนคุณสมบัติ โดยคุณสมบตั จิ ะเปลี่ยนตามตน แบบ เชน Line- type Layer color เปน ตน

การใชงาน DesignCenter 67 DesignCenter เปนเคร่อื งมอื ซง่ึ ใชสาํ หรบั แลกเปลยี่ น ขอ มูลตางๆ ระหวางไฟลงานแบบ เชน Block, Layer, Dimension Style เปน ตน การใชงานโดยทาํ การเปด ไฟลข อมูลตนแบบ เลือก วัตถุทีต่ องการเชน Block ผใู ชส ามารถเลอื ก Block ทตี่ องการทจ่ี ะนํามาใช โดยวิธี drag and drop

68 การนํารปู ภาพแทรกในงานแบบ ในบางครงั้ จําเปนตองนํารูปภาพมาประกอบในงานแบบ เพือ่ ใหง านแบบท่ไี ดมคี วามสมบูรณยิ่งข้นึ เชน รูปภาพตราสญั ลกั ษณข องหนว ยงาน รปู ภาพสถานที่ตางๆ โดยผใู ชส ามารถนาํ รปู ภาพดังกลาวมาวางใน งานแบบได ซึ่งการใชง านมหี ลายวิธี ในทน่ี ้ีจะขอแนะนาํ อยู 3 วธิ ีคอื 1. เลือกแทรกรปู โดยการ เลือก Insert… Raster Image หรอื คาํ สง่ั image  หากมีการลบหรอื แกไ ขไฟลรปู ภาพตน แบบ ไฟล AutoCAD ตางๆทเ่ี คยใชร ปู ภาพดงั กลาว โดยใช คาํ สั่ง Insert Raster Image จะไดรบั ผลกระทบดวย 2. การคัดลอกรูปภาพจากโปรแกรมอื่นๆ เชน โปรแกรม Paint, ACDsee หรือโปรแกรมที่ สามารถแกไขไฟลร ูปภาพได แลว ทําการวางแบบปกติ (Paste) ในไฟล AutoCAD โดย เลอื ก Menu bar…Edit…Pasteหรือใช Right-Click จากนั้นทําการเลอื กตําแหนง 3. การคัดลอก แลวทาํ การวางแบบพิเศษ (Paste Special) โดยเลือก Menu bar…Edit…Paste special หากตอ งการระบุตําแหนง ขนาด มุมของรูป ใหท าํ การ เลือก Image Entity จากนั้นจะสามารถปอนคาตางๆ ตามตอ งการได การแทรกรปู ภาพดวยวธิ ีท่ี 2 และ 3 รูปภาพจะเปนสว นหน่ึงของไฟล

69 การสรา ง Title Block และการประยุกตใชงาน Title block จะมีรปู แบบเฉพาะองคก ร โดยทวั่ ไปจะประกอบดวย  ชอ่ื โครงการ  ชือ่ องคก ร,สัญลกั ษณ  ชื่อผูเ ขียนและผูตรวจสอบ  บันทกึ การเปล่ียนแปลง  มาตราสว นท่ใี ช  หมายเลขแบบ  และอนื่ ๆ ในการทาํ งานจะนิยมสรางเก็บไวเ ปนตน แบบ และนํามาใชง านโดยใชว ธิ ี Insert Block หรือ ใชวธิ ีอางองิ จากไฟลต นแบบ โดยใชค ําสง่ั Xref โดยพิมพ xref ท่ี command line หรอื ใชเ มนูบาร Insert External Reference จากนั้นเลอื กไฟลท่ตี อ งการ  การใชงานดวยวิธีน้ี หากมีการแกไขไฟลต น แบบ ไฟลท ี่ถกู link อยจู ะถูกแกไขไปดวย เชน หากมี การแกไขช่อื วิศวกรผตู รวจสอบในไฟลตน แบบ ไฟลตางๆที่ใช Title Block ดังกลาวดวยคาํ ส่งั xref จะ ถกู แกไขไปดว ยเม่อื มกี ารเรยี กใชงาน หรือถา หากมีการเลื่อนยายไฟลต นแบบหรอื ถกู ลบ ไฟลตางๆที่เคย ใช Title Block ดังกลา วดวยคําสง่ั xref เม่อื ถกู เรียกใชภ ายหลงั จะมีปญ หาในการแสดง Title Block คลา ยกบั การใชคาํ สั่งแทรกรูป Insert Raster Image

70 ตัวอยา ง Title Block

71 การเขียนภาพ Isometric บนระนาบ 2 มติ ิ ในโปรแกรม AutoCAD โดยใชค ําสง่ั Snap การใชงาน เมอ่ื เลือกคาํ สั่ง โปรแกรมจะแสดงขอความท่ี command line Command: snap Specify snap spacing or [ON/OFF/Rotate/Style/Type] <10.0000>: s { เลือก s เพ่ือกาํ หนด Style ของ Ucs } Enter snap grid style [Standard/Isometric] <I>: I { เลือก I เพ่อื เลอื ก Isometric หรอื s เลอื ก standard } Specify vertical spacing <10.0000>: 1 { กาํ หนดระยะหา งของการ snap } หรอื เลอื ก Isometric snap จาก Snap type ในการใชงานจะใชรวมกับคําสั่ง Isoplane หรอื ใชคยี ล ดั โดยกด F5 หรอื Ctrl+E และคําสัง่ Orthogonal หรือใชค ยี ล ัด โดยกด F8 เพือ่ ชวยในการเขียนเสนตามแกน ของ Isometric การเขียน วงกลม บนระนาบ Isometric โดยใชคําสง่ั Ellipse การใชงาน เมือ่ เลือกคาํ ส่ัง โปรแกรมจะแสดงขอความที่ command line Command: _ellipse Specify axis endpoint of ellipse or [Arc/Center/Isocircle]: i { เลือก I เพอื่ เลอื กเขยี นวงกลมบนระนาบ Isometric } Specify center of isocircle: { กาํ หนดจุดศูนยกลางของวงกลม } Specify radius of isocircle or [Diameter]: { กําหนดรศั มีของวงกลม หากตองการกําหนดเปนเสนผา นศูนยกลาง ใหพ มิ พอกั ษร D แลว จึงบอกขนาดทต่ี องการ } การบอกขนาดในรูป Isometric จะใชการบอกขนาดแบบ Aligned เพอื่ ให dimension line ขนานไปกับแนวเสน

72 การจดั ใหทศิ ทาง extension line ของ dimension ใหไ ปทศิ ทางเดียวกับแบบ ใชค าํ ส่ัง Oblique การใชง าน  เลอื กคาํ ส่ัง Oblique จาก menu bar  เลือก dimension ท่ตี องการปรับแตง  เลอื กแนวเสน ท่ีตอ งการใหเปนทิศทางของ extension line การพิมพตัวอักษรใน Isometric view โดยใชก ารหมนุ และมุมเอยี งของตวั อักษร ตามรูป

73 การประยกุ ตใชงานการเขียนรูป 3 มิติ ในการเขยี นแบบงานโยธา ตวั อยา ง การเดนิ ทอ สุขาภบิ าล-ประปา ( รูปประกอบ จากแบบบา นประหยดั พลังงาน กระทรวงพลังงาน )

74 คาํ สั่งชวยในการแบงเสน โปรแกรมจะชว ยแบงเสน ตามท่ีตองการ โดยมี 2 คาํ ส่ังคอื คําสั่ง Divide ใชในการแบงเสนใหไ ดจํานวนชวงเทา ๆกัน ตามจาํ นวน ท่ีตอ งการ เมือ่ เรียกคาํ สงั่ จะปรากฏท่ี command line ดงั น้ี Command: _divide Select object to divide: { เลือกเสน ท่ีตอ งการ } Enter the number of segments or [Block]: 10 { หากตอ งการแสดงจุดในแตละชวงดว ย point ใหใสจ ํานวนทต่ี องการ หากตองการ แสดงจดุ ที่แบงเปน block ใหพิมพ B หรือ block จากน้ันโปรแกรมจะใหใสชอ่ื block ที่ตอ งการแสดง แลว จึงใสจาํ นวน }  โดยปกติคาเรม่ิ ตน ของ จดุ (point) จะเปน (.) ซึง่ จะไมส ามารถมองเหน็ ไดเ พราะจะถูกแนวเสนทับ อยู ผูใ ชตองทําการแกไ ขรูปแบบของจุด(.) ใหเปน รูปแบบอนื่ เชน โดยปรบั เปลย่ี นที่ Point style คําสั่ง Measure ใชในการแบงเสนใหไดค วามยาวแตละชวง ตามระยะ ท่ีตองการ เมอื่ เรยี กคําสั่ง จะปรากฏท่ี command line ดงั น้ี Command: _measure Select object to measure: { เลอื กเสนท่ตี องการ } Specify length of segment or [Block]: 10 { หากตอ งการแสดงจดุ ในแตละชวงดว ย point ใหใสจาํ นวนทตี่ อ งการ หากตองการ แสดงจุดท่แี บงเปน block ใหพ มิ พ B หรือ block จากน้ันโปรแกรมจะใหใสช่ือ block ทีต่ องการ แลวจงึ ใสจาํ นวน }

75 การใชง านตารางใน AutoCAD สามารถประยุกตใชง านในการทาํ ตารางรายประกอบแบบ หรือตารางคาํ นวณตางๆได วิธกี ารใชง านดังนี้ เลอื กเมนู Draw เลอื ก Table.. หรอื เลือกที่ Toolbar สามารถต้งั รปู แบบตาราง โดยเลือก Table style name การปรับแตงตาราง

76 การใชส ตู รคํานวณในตาราง การทํางานเหมือนกับการคํานวณในตาราง Excel 1. เลือก cell ทตี่ อ งการใสสูตรคํานวณ 2. Right-Clickโปรแกรมจะแสดงแถบคาํ ส่ัง ใหเลือก Insert Field… 3. เลอื ก Field category เปน All แลว เลอื ก Field names: Formula 4. เลือกสูตรทีต่ อ งการใช เชน ตอ งการหาผลรวม เลือก Sum จากนั้นโปรแกรมจะใหเลือก cell ที่ ตองการหาผลรวม 5. เลอื กรูปแบบของตัวเลข โดยท่ัวไปใช Decimal และเลือก จํานวนทศนยิ ม (Precision) 6. กด OK เพอื่ ยนื ยัน หรือหากตอ งการแกไขสตู รสามารถพิมพไดท ชี่ อ ง Formula เชน ตองการคา 80% ของผลรวม สามารถคูณดว ยคา 0.8 ในชอง Formula แลว กด Evaluate จากนน้ั กดยนื ยัน

77 ตัวอยา งการทาํ งาน (รูปประกอบ จากแบบบานประหยดั พลงั งาน กระทรวงพลังงาน )

78 ตัวอยางการทํางาน

เรียบเรยี งโดย ประสทิ ธิชัย ดาํ เนินฐิตกิ ิจ 79 การพิมพง าน การพิมพง าน ในโปรแกรม AutoCAD จะเรยี กวา Plot สวนโปรแกรมอ่นื ๆจะเรยี กวา Print ซึง่ การ Plot มีอยูห ลายวธิ ี ขึ้นอยกู บั ลกั ษณะของงาน เชน งานเขียนแบบกอสรา ง งานเขียนแบบเครื่องกล และขนึ้ อยกู ับความถนดั ของบุคคลเปนหลัก โดยทั่วไปจะมีการใชง านอยู 2 วิธี 1. การ plot ใน Model หรือ Model Space 2. การ plot ใน Layout หรือ Paper Space 1. การ plot ใน Model หรือ Model Space การ plot งานแบบ จากหนา จอ Model ซึ่งเปนหนา จอทใ่ี ชทํางานปกติ โดยจะเขียนแบบ และกําหนด รายละเอยี ดตางๆของแบบใหเ สร็จสมบูรณ แลว จงึ ทาํ การสั่ง plot ซง่ึ สามารถใชไดกบั AutoCAD ทกุ version โดยมีขนั้ ตอนการทํางานดังนี้ การใชค ําสั่ง plot ( ไมจ าํ เปนตองเรยี งตามลําดับ ) เม่อื เรียกคําส่ัง Plot โปรแกรมจะแสดงหนา ตา งดังรูป การปรบั แตงทาํ ไดดงั น้ี 1. Printer/plotter เลอื กชนิดของเครือ่ ง plot ทต่ี อ งการ 2. Paper size เลือกขนาดกระดาษทต่ี อ งการพมิ พ เชน A4, A3 …..A0 ( ขึ้นอยกู บั ชนิดของ เครอ่ื งพมิ พวารองรับกระดาษไดขนาดเทา ไร ) 3. Plot area ตวั เลอื กรปู แบบการเลอื กขอบเขตของงานทตี่ อ งการ plot ซงึ่ จะมี 5 ตวั เลือก

80  Display เลือกขอบเขตการ plot เทา กบั ผลท่ีแสดงบนจอคอมพวิ เตอรขณะน้ัน  Extents เลอื กขอบเขตการ plot โดยเลือกพ้ืนทที่ ง้ั หมดของไฟลงาน  Layout เลือกขอบเขตการ plot ตาม layout จะใชก ับการ plot ท่ี Layout  Limits เลือกขอบเขตการ plot ตาม limits ทีต่ ้ังคา ไว จะแสดงเฉพาะใน model  window เลอื กขอบเขตการ plot โดยผใู ชส ามารถกาํ หนดไดเอง จะใชกับการ plot ที่ Model  โดยทั่วไปจะใชว ิธี window และ layout 4. Plot scale เลอื กมาตราสวนทีต่ องการ ( ขน้ึ อยกู ับลกั ษณะงานท่ีทํา เชน งานทางดา นเครื่องกล งานเขยี นแบบบาน ) หากตอ งการ plot ใหเตม็ หนา กระดาษ โดยไมคาํ นึงถึง scale ใหผใู ชเ ลือก  Fit to paper เพอื่ ส่ังใหโ ปรแกรมขยายพื้นทีก่ าร plot ใหเต็มหนา กระดาษที่เลอื ก จากการใช คาํ ส่งั น้ี ผูใชส ามารถนํา scale ท่ีเครอื่ งคาํ นวณได และนํามาปรับ ใหเขา กับ scale มาตรฐานได  Center the plot เพอื่ ใหโ ปรแกรมจัดใหการ plot อยกู ึง่ กลางของหนากระดาษ 5. เลอื ก เพ่ือปรับแตง Option เพ่มิ เติม 6. Drawing orientation ถา ตอ งการปรับแตงรปู แบบการวางกระดาษ แบบแนวตั้ง (Portrait) หรอื แนวนอน (Landscape) 7. Plot style table เลือกรูปแบบของการ plot ทีต่ อ งการ ปกติ เลอื ก monochrome เพือ่ plot ขาว-ดาํ หรอื อาจเลือกตั้งคาความหนาของเสน โดยเลอื ก Edit และทําการต้ังคาดังน้ี Pen # ตั้งทกุ สีทีใ่ ชใ นแบบ เปน หมายเลข 7 เพ่ือกาํ หนดใหพ ลอ็ ตเปน สดี ําทัง้ หมด Lineweight เทากับความหนาของเสนท่ีตอ งการ เชน สีแดง 0.13 มม. สีเขียว 0.3 มม.

81 8. Preview… ดตู วั อยางการพิมพ 9. เลอื ก OK เพื่อสงั่ พมิ พงาน  ผใู ชงานสามารถบันทึกคาตา งๆ ของ Plot Style ในการ Plot เกบ็ ไวเ ปนไฟล สําหรบั ใชกับการ plot งานครง้ั ตอ ๆไปได และยังสามารถคดั ลอกเพือ่ นาํ ไปใชก ับคอมพิวเตอรเ ครอ่ื งอน่ื ๆ โดยไมตอ งทําการ ปรับแตง ใหม โดยปกตโิ ปรแกรมจะบันทึกไฟล xxx.ctb ไวท่ี folder Plot Style ซ่งึ จะถกู บนั ทึกไวต ามรูป

82 2. การ plot ใน Layout หรือ Paper Space การ plot จากโหมด Layout ผูใชสามารถสราง จํานวน Layout ไดตามตองการและสามารถกาํ หนด ขนาดกระดาษ รปู แบบการวาง ในแตละ Layout ไดอ ยา งอิสระ ซ่ึงคอ นขา งจะงายตอการจัดการ แต ผูใชงานจะตองมคี วามรูพ้ืนฐานในการใชงานคําสัง่ Viewports ดว ย ( ดูเพิม่ เตมิ จาก คําสง่ั ทนี่ าสนใจ ทา ยเอกสาร ) สามารถสราง Layout ไดเหมือนกับการสราง sheet ในโปรแกรม Excel โดยวิธกี ารดงั น้ี  เลอื ก Insert… Layout… New Layout ตามรูป  Right-Clickบริเวณ Tap Layout จะได pop-up menu ตามรูปดานลา ง เลอื ก 1 (New Layout) ถาตองการสราง Layout เพิ่ม เลอื ก 2 (Move or Copy) หากตองการยายหรอื สราง Layout จากตนแบบที่ไดทําการ ปรับแตง ไวแลว ซ่ึงจะได Dialog Box ดงั รูปหนา ถดั ไป

83 การ plot จากโหมด Layout สามารถประยุกตใชง านไดอ กี หลายวิธี ในที่นี้ขอแนะนํา 3 วิธี คือ 2.1 Plot แบบทว่ั ไป โดยไมก ําหนดมาตราสวน ลกั ษณะการใชงานจะคลายการ plot บน Model ในการ plot แบบที่ 1 การใชงานโดย 1.1 เขา สูโหมด Layout 1.2 สราง Viewports 1.3 Double Click ในพ้นื ท่ขี อง Viewports 1.4 ยอ หรือขยายรปู ใหไ ดขนาดตามตองการ 1.5 ส่ัง plot โดยเลือกชนดิ ของ เคร่ือง Plot 1.6 เลือก Plot Area แบบ Layout หากตอ งการกําหนดขอบเขตเองใหเ ลอื กแบบ window และตง้ั Plot scale  Fit to paper 1.7 หากตองการแสดงตัวอยางการ plot เลือก preview 1.8 จากนัน้ Right-Click และเลือก Plot

84 2.2 Plot แบบกําหนดมาตราสว น 2.1.1 ผูใ ชจ ะตองทําการปรบั ตั้งขนาดกระดาษ โดย Right-Click บรเิ วณ Tab Layout จะได pop-up menu ตามรปู เลอื ก Page Setup Manager 2.1.2 เลอื ก Layout ทตี่ อ งการปรบั แตง และเลือก Modify จะได dialog box หนาตาPage setup ซึ่งมีหนาตาคลา ยกับ Plot 2.1.3 เลือกชนิดของ Printer/Plotter

85 2.1.4 เลือกขนาดกระดาษและรปู แบบการวางกระดาษท่ีตองการ 2.1.5 ต้งั คา scale เปน 1000 mm. = 1 unit 2.1.6 ทําการสราง Viewports ตามตอ งการ 2.1.7 การตั้ง scale กอนการ plot ทาํ ไดโดย เลอื กทีเ่ สนของ viewport จากน้ัน Right-Click เลือก Properties จาก pop-up menu

86 2.1.8 เลือก Viewport และกําหนด scale ได ตามตองการ เชน หากตอ งการ plot งานใหมมี าตราสวน 1 ตอ 100 ลงใน กระดาษทต่ี ้งั คาไว เลือก standard scale 1:100 (ตามรูป)ในทํานอง เดยี วกัน หากตอ งการ งานแบบท่ีมขี นาด 1ตอ 50 เลอื ก 1:50 เปน ตน 2.1.9 เรยี กคาํ สั่ง Plot 2.1.10 เลือกชนิดของ Printer/plotter 2.1.11 Plot area ตัวเลือก Layout 2.1.12 หากตองการปรบั ขนาดเสนหรอื กาํ หนดสีเลือก เพอื่ ปรบั แตง Option 2.1.13 Plot style table เลือกรปู แบบของการ plot (ดูเพมิ่ เตมิ จากการ Plot ใน Model หนา ที่ 87 ) 2.1.14 Preview… ดตู ัวอยางการพิมพ 2.1.15 เลือก OK เพื่อสงั่ พมิ พงาน  การใชงานการ Plot ดวยวธิ นี ้ี ผูใชจะตองใสร ายละเอยี ด พรอ มทัง้ บอกขนาดตางๆของแบบ ใหค รบถว นเสยี กอน จงึ จะทําใหการใชง านงายข้ึน

87 2.3 Plot แบบหลายมาตราสวน การประยกุ ตใชงาน plot แบบหลาย scale สามารถนําไปใชงานไดหลากหลายตามความตองการ การใชง านทาํ ไดโ ดยสราง Viewport ตามขนาด และจํานวนที่ตอ งการ เชนตองการสรา งงานแบบ ทม่ี ี มมุ มองของแบบขนาด 1/100 , 1/50 และ 1/20 ในแผนงานเดียวกนั การทาํ งานมขี ั้นตอนพอสรุปไดดงั นี้ 3.1 เขียนงานแบบ ทตี่ องการ 3.2 ปรบั ต้งั ขนาดกระดาษเหมือนวิธกี อ นหนา 3.3 สรา ง Viewport จาํ นวน 3 Viewports 3.4 กําหนดมาตราสวนของทัง้ 3 Viewports เปน 1:100, 1:50, และ 1:20 ทําเหมอื นวิธี กอนหนา 3.5 ใสรายละเอียดขอ ความตา งๆและ บอกขนาด ในโหมดของ Layout เพ่ือไมใหมีผลกระทบ ระหวางมุมมองตางๆ 3.6 ส่งั plot งานแบบ ขนาดกระดาษมาตรฐานระบบเมตรกิ A4 210x297 A3 297x420 A2 420x594 A1 594x841 A0 841x1189 หนว ยเปน มลิ ลิเมตร ตัวอยา ง การกาํ หนดมาตราสว นในการเขียนแบบและการ plot แบบกอสราง ซ่งึ โดยท่ัวไปจะใชหนวย เมตร เปนหลัก ตวั อยา งเชน เสามีขนาด 0.40 เมตร แทนคาในโปรแกรมเปน 0.4 หนว ย span เสา 5 เมตร แทนคาในโปรแกรมเปน 5 หนว ย วดั ขนาดของ Title block (A4) ได ประมาณ 21x29 หนวย (โดยใหเทียบกับขนาดของกระดาษ A4 ใน หนว ย เซนตเิ มตร) ทาํ การ plot โดยเลอื กหนว ย mm. กาํ หนดมาตราสว น 1000 mm. = 100 หรือ 10 : 1 จะไดงานแบบในมาตราสวน 1 : 100  หากตอ งการเปลย่ี นมาตราสว น ใชวิธียอ-ขยาย Title Block เชน ถา ขยาย 2 เทา จะไดแบบ จริง มาตราสวน 1:200 หรอื วิธียอ -ขยาย งานแบบ แลว คิดมาตราสว นในทางกลบั กัน

88 คําส่ังทนี่ า สนใจ (เพ่มิ เติม) คําสั่ง Viewports การสรา ง viewports ใน Layout เพอ่ื ใชสาํ หรบั Plot งานแบบ น้นั ลักษณะการนาํ ไปใชง าน จะคลายกับวา ผูใชท ําการเจาะชอ งของกระดาษเขียนแบบ และมองไปทีง่ านที่ทาํ ระยะของการมองถงึ งาน หากมีระยะตางกนั กจ็ ะทําใหเห็นงานมีขนาดตางกนั เปรยี บเสมือนวา plot งานดวยมาตราสวน (scale) ท่ีตา งกัน ซ่ึงหากเจาะกระดาษเขียนแบบหลายๆชอ ง และแตล ะชอ งมีระยะการมองไมเ ทา กันกจ็ ะทําใหง าน แบบท่ไี ด มีการ plot แบบหลาย scale ในงานแผน เดยี วกัน วธิ ีใชงาน เรยี กคําสงั่ viewports จากเมนู View… Viewports… โดยทวั่ ไปจะเลอื ก 1 viewport แลว ทาํ การสรางเปนชอ งสเี่ หล่ียม ท่ี Layout ยงั มีอีก 2 คําส่ังทน่ี าสนใจคอื  Polygonal Viewport การใชง านคือทาํ การวาดรูปทรงหลายเหลยี่ มใน Layout เพ่ือทาํ เปน Viewport  Object ใชส าํ หรบั ทาํ Viewport รูปทรงตา งๆ เชน วงกลม วงรี รูปหลายเหล่ยี ม โดย รูปที่สรางขน้ึ มานัน้ จะตองเปน รูปปด จงึ จะสามารถทาํ ได การใชงานโดย o สรา งรูปปดที่ตองการบน Layout o เลือกคําส่ัง Viewports o เลอื กคําสั่ง object และทําการเลอื กรปู ท่ีสรางไว โปรแกรมก็จะทํารูปน้ันเปน Viewport เมอื่ ทําการสรา ง Viewport เสร็จแลว สามารถจัดการงานแบบในสวนของ Viewport และ Layout ไดด งั นี้

89  การเขา สโู หมด Viewport โดย Double Click ในสวนพ้นื ท่ีของ Viewports โดยสังเกตได จาก แนวเสน ขอบของ Viewport จะเปน เสน หนา และ UCS จะมลี ักษณะตามรูป จากนั้นจะสามารถ เลอื่ นงานแบบ ดว ยคําสงั่ PAN หรอื ยอ-ขยายงานแบบ ดวยคาํ ส่ัง Zoom ได  หากตอ งการออกจาก Viewport กลบั คนื สโู หมดของ Layout สามารถทําไดโ ดย Double Click ท่บี ริเวณรอบๆ Viewport สงั เกตไดจากเสนของ Viewport จะเปนเสน บาง และ UCS จะมลี ักษณะตามรูป

90 กลมุ คําสั่ง Express ใน AutoCAD เวอรช ั่นใหมๆ ยังมชี ดุ คําส่งั เพ่ือชว ยใหการเขียนแบบสะดวกย่งิ ข้ึน โดยผใู ชจะตอง ติดต้ังโปรแกรมเพิ่มเตมิ เอง โดยเลอื กตดิ ตง้ั แบบ Custom แลวเลอื กตดิ ต้ัง Express tool จะปรากฏชุดคําสั่ง Express ท่ี เมนูบาร ซงึ่ จะมีกลุม คําสั่งทเ่ี พ่ิมเติมขนึ้ มาเพื่อชวยใหก ารเขียนแบบสะดวกยิง่ ขนึ้ เชน กลุมคําส่ัง Text  Explode Text การทําใหแ นวเสน ของตวั อกั ษรกลายเปนเสน ธรรมดาทวี่ างตัวเปน รูป ตวั อักษร  Arc-Aligned Text การเขียนตัวอักษรใหว างตวั ตามสว นโคง เปน ตน กลุมคําสั่ง Draw  Break-Line Symbol สรางเสน Break-Line  Super Hatch ใชสรา ง Hatch จากรูปภาพ บลอ็ ก เปนตน  และกลมุ คําสงั่ อื่นๆ

91 NOTE