หอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั : ความร้เู บ้อื งตน้
หอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั --ความหมาย • องค์กรทม่ี ีทรพั ยากรสารสนเทศในรปู ดจิ ทิ ลั (digital collection) รวมทง้ั จัดบคุ ลากรทม่ี ี ความรเู้ ฉพาะเพอื่ ทาหนา้ ท่ีจัดการคอลเลค็ ชัน่ ดจิ ิทัลอยา่ งเป็นระบบ นับตัง้ แตค่ ัดเลอื ก จัด โครงสรา้ ง จัดชอ่ งทางในการเขา้ ถงึ เผยแพร่ และรกั ษาความคงสภาพ เพอื่ ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ไดแ้ มเ้ วลาจะผา่ นไป
• หอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั กบั ห้องสมดุ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ มี ความหมายใกลเ้ คยี งกนั หอ้ งสมุดดจิ ทิ ลั เปน็ ความกา้ วหนา้ ลา่ สุดของหอ้ งสมุดอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ปจั จบุ ันนิยมใชค้ าว่า ห้องสมดุ ดจิ ทิ ลั • ทรพั ยากรสารสนเทศดจิ ทิ ลั อาจเปน็ ข้อความ ภาพ เสยี ง มัลตมิ เี ดยี แผนท่ี แบบจาลอง 3 มติ ิ
สาเหตุทนี่ ามาซงึ่ การเปลย่ี นแปลง • ปริมาณสารสนเทศดจิ ทิ ัลที่เพม่ิ ขึ้นมากอยา่ งรวดเร็ว เพราะการใชเ้ วลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ เผยแพรส่ ารสนเทศ • การผลติ หนงั สอื ในรปู สง่ิ พมิ พม์ ตี น้ ทุนสงู ขึน้ ในขณะทีห่ อ้ งสมุดตา่ งๆ มงี บประมาณการจดั ซอ้ื ที่ จากัด • ปญั หาในการจดั เกบ็ และคน้ หาสารสนเทศใน หอ้ งสมดุ • ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสาร • เทคโนโลยที มี่ ีราคาตา่ ลง • โครงการวิจยั และพฒั นาดา้ นหอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ัล
ข้อดขี องหอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั • ห้องสมดุ ดจิ ทิ ลั ไม่จาเปน็ ต้องอาศยั อาคารสถานที่ ผู้ใช้สามารถเขา้ ถงึ จากทใี่ ดกไ็ ดถ้ า้ มกี ารเชื่อมตอ่ กับอนิ เทอรเ์ นต็ • ผู้ใช้สามารถเขา้ ถงึ ทรพั ยากรสารสนเทศดจิ ิทลั ได้ ตลอดเวลา 24/7 • ผู้ใชห้ ลายคนสามารถเขา้ ถงึ สารสนเทศชน้ิ เดยี วกนั ไดใ้ นเวลาเดยี วกนั • เขา้ ถงึ สารสนเทศทม่ี ีการจดั โครงสร้างระดบั ตา่ งๆ ไดโ้ ดยสะดวก เชน่ เมอื่ คน้ รายการทาง บรรณานกุ รมไดแ้ ลว้ กส็ ามารถเขา้ ถงึ เน้อื หาทเ่ี ปน็ สาระสงั เขป หรอื เอกสารเตม็ รปู ไดท้ ันที
• มรี ะบบการคน้ คนื ทเี่ ป็นมติ รกบั ผใู้ ช้ ผู้ใช้ สามารถคน้ หาสารสนเทศไดส้ ะดวกรวดเร็ว • สามารถผลติ สาเนาจากตน้ ฉบบั ไดม้ ากเทา่ ท่ี ตอ้ งการ โดยทเี่ อกสารตน้ ฉบบั ไมเ่ สยี หาย • ไม่มปี ญั หาเรอ่ื งตอ้ งเพมิ่ ขนาดพน้ื ทเ่ี ม่อื มี สารสนเทศเพม่ิ ขน้ึ เช่น ห้องสมุดรปู แบบเดมิ • สามารถเชอื่ มโยงไปสสู่ ารสนเทศชนิ้ อื่นๆ หรอื ห้องสมดุ ดจิ ทิ ลั แหง่ อน่ื • คา่ ใชจ้ า่ ยในการบารงุ รกั ษาหอ้ งสมุดดจิ ทิ ลั นอ้ ย กว่าการบารงุ รกั ษาหอ้ งสมุดทเ่ี ป็นอาคาร
ข้อเสีย • ปญั หาลขิ สทิ ธิ์ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี ชว่ ยใหก้ ารนาขอ้ มลู ไปใช้ / การเผยแพรข่ อ้ มลู เกดิ ขนึ้ ได้โดยงา่ ย โดยไมไ่ ดข้ ออนุญาตจาก ผเู้ ขยี น • คอมพวิ เตอรท์ เ่ี ชอ่ื มโยงกบั อนิ เทอรเ์ น็ตมจี านวน มากมายมหาศาล จงึ อาจทาใหค้ วามรวดเรว็ ใน การเขา้ ถงึ ลดลง • ค่าใช้จา่ ยเบอ้ื งตน้ ในการทาหอ้ งสมดุ ดจิ ิทลั สงู มาก
• ในการส่งสารสนเทศปรมิ าณมหาศาล โดย เฉพาะทเ่ี ปน็ มลั ตมิ เี ดยี จาเปน็ ตอ้ งมแี บนดว์ ธิ ที่ กว้าง • ผู้ใช้บางคนพบวา่ การอ่านจากกระดาษสบาย ตากวา่ การอ่านจากจอคอมพวิ เตอร์ • เทคโนโลยที ก่ี า้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ อาจทาให้ ห้องสมดุ ดจิ ทิ ลั ลา้ สมยั เร็ว ผใู้ ช้ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลทเี่ ก็บรกั ษาไว้
องคป์ ระกอบของหอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั ในแงข่ องการจดั โครงสรา้ งสารสนเทศและคน้ คนื ห้องสมดุ ดจิ ิทลั มอี งค์ประกอบ ดงั นี้ 1) คอลเลคชนั ดจิ ทิ ลั 2) กระบวนการจดั เกบ็ สารสนเทศ 3) บริการสารสนเทศ 4) ผู้ใช้ 5) เทคโนโลยี
1) คอลเลคชันดจิ ทิ ลั • เอกสารหรอื สารสนเทศทห่ี อ้ งสมุดเกบ็ รวบรวม ไว้ เปน็ สารสนเทศทผี่ ้ใู ชต้ อ้ งการคน้ คืน • เป็นเอกสารฉบบั เตม็ หรือ ตัวแทนเอกสาร (เชน่ รายการบรรณานกุ รม สาระสงั เขป) • อยูใ่ นรปู ดจิ ทิ ลั คือ เปน็ ไฟลข์ อ้ ความ ไฟลเ์ สยี ง ไฟลภ์ าพ เวบ็ เพจ็ เปน็ ตน้
1.1 รปู แบบของเอกสาร คอลเลก็ ชนั ดจิ ิทลั อาจ เป็นเอกสารทอี่ ยใู่ นรปู แบบดจิ ทิ ลั ตง้ั แตเ่ ริ่มผลิต หรือเรยี กวา่ เกดิ ในรปู ดิจทิ ลั (born digital) หรือ เอกสารทจี่ ัดทาในรปู ดจิ ทิ ลั และสิง่ พมิ พค์ วบคู่กนั ไป เช่น วารสารทจี่ ดั ทาในรปู eJournal และ กระดาษ 1.2 ราคาของเอกสาร เอกสารอาจเผยแพรโ่ ดยไม่ คิดมูลคา่ หรือมคี า่ ธรรมเนยี มลกั ษณะตา่ งๆ เช่น คา่ บอกรบั เปน็ สมาชกิ ค่าใช้ตอ่ คร้ัง
1.3 การเปลย่ี นแปลงเนือ้ หา เนือ้ หาของเอกสาร อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ อาจเปล่ยี นแปลงไดโ้ ดยสะดวกรวดเรว็ จงึ นยิ มแบง่ เอกสารออกเปน็ 2 ประเภท คือ เอกสารทม่ี ี เนื้อหาคงท่ี (fixed document) และเอกสารทม่ี ีเน้ือหา เปลี่ยนแปลงไดง้ า่ ย (fluid document) 1.4 การประเมินคณุ คา่ เอกสาร ท้งั ดา้ นเนอื้ หา ผ้จู ดั ทา การเขา้ ถงึ การใหบ้ รกิ าร ลิขสทิ ธิ์ ความเสถยี รของ เนือ้ หา 1.5 อายขุ องเอกสาร เอกสารมชี ่วงอายสุ าหรบั การใช้ ประโยชนต์ า่ งกนั เอกสารทม่ี อี ายสุ น้ั อาจถกู ลบทง้ิ ไป อย่างงา่ ยดาย ทั้งท่แี ท้จรงิ แล้วอาจมคี ณุ คา่ ต่อ การศกึ ษา เช่น จดหมายโตต้ อบระหวา่ งนกั วจิ ัย
2) กระบวนการจดั เกบ็ สารสนเทศ 2.1 การจดั เก็บสารสนเทศเชงิ กายภาพ เอกสาร อิเลก็ ทรอนกิ สร์ ายการหนงึ่ อาจประกอบดว้ ย เอกสารหลายประเภท เช่น ขอ้ ความ ภาพลักษณ์ เสยี ง เปน็ ตน้ หอ้ งสมดุ ตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ จะเก็บ รวมกนั ทงั้ หมดในทเ่ี ดยี วกนั หรือเกบ็ แยกจากกนั ตามประเภทของสารสนเทศ ถา้ เกบ็ แยกกนั ต้องมี ระบบเชอื่ มโยงหรอื ดรรชนีทช่ี ีใ้ หร้ วู้ า่ เปน็ เอกสาร รายการเดียวกัน
2.2 การจดั เกบ็ ตวั แทนสารสนเทศ ทรพั ยากร สารสนเทศในหอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั มที ง้ั ทอ่ี ยภู่ ายใน หอ้ งสมุด และแหลง่ สารสนเทศจากภายนอก เช่น บริษัทผใู้ หบ้ รกิ าร หอ้ งสมดุ จึงตอ้ งจดั โครงสรา้ ง สารสนเทศเพอื่ ใหค้ น้ คนื ได้ พร้อมทงั้ จัดทา link เพื่อเชอื่ มโยงระหวา่ งผใู้ ชก้ บั แหลง่ สารสนเทศ ภายนอก ห้องสมุดตอ้ งตรวจสอบ link ตา่ งๆ ตลอดเวลาเพอื่ ให้มั่นใจวา่ ผู้ใชส้ ามารถเขา้ ถงึ ได้ ทันทที ตี่ อ้ งการ
3) บริการสารสนเทศ บริการสารสนเทศจัดข้นึ เพอ่ื ช่วยใหผ้ ู้ใช้เข้าถงึ สารสนเทศทตี่ อ้ งการได้ แบ่งออกเปน็ 2 งาน คอื 3.1งานบรกิ ารเทคนคิ หรอื งานวเิ คราะหส์ ารสนเทศ ซ่งึ ครอบคลมุ การคดั เลอื ก การจัดหมวดหมู่ การทา รายการ การทาเมตาเดตา้ การทาดรรชนี/สาระสงั เขป เพื่อเปน็ เครอ่ื งมอื ชว่ ยค้นเนอื้ หาสารสนเทศใน ฐานขอ้ มลู 3.2 งานบริการผ้ใู ช้ ครอบคลุมงานท่ีประสานและ ตดิ ต่อกบั ผใู้ ช้ เช่น การคน้ หา การเผยแพร่ การคน้ คนื การจดั สง่ การสงวนรกั ษา เป็นตน้
4) ผู้ใช้ ผ้ใู ช้ คอื กล่มุ เป้าหมายทจี่ ะใชป้ ระโยชนจ์ าก หอ้ งสมดุ ดจิ ิทลั ดงั นนั้ ในการออกแบบและพฒั นา ห้องสมุดดจิ ทิ ลั จาเปน็ ตอ้ งพจิ ารณาความตอ้ งการ และลกั ษณะของผใู้ ช้ ประเภทของหอ้ งสมดุ ดิจิทลั แบง่ ตามกลมุ่ ผ้ใู ช้ - ห้องสมดุ ดจิ ิทลั เพอ่ื การสาธารณะ (public digital library) - หอ้ งสมุดดจิ ิทลั เพอื่ การเฉพาะ (private digital library)
5) เทคโนโลยี • เทคโนโลยมี คี วามสาคัญกบั หอ้ งสมดุ ดจิ ิทลั อยา่ ง ย่ิง กลา่ วไดว้ า่ เป็นโครงสรา้ งทเี่ ชอ่ื ม องค์ประกอบตา่ งๆของหอ้ งสมดุ ดจิ ิทลั เขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ใหส้ ามารถดาเนนิ งานและจัดบรกิ าร ไดโ้ ดยอาศยั อปุ กรณ์ ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ และ เครอื ขา่ ยระดบั ทอ้ งถน่ิ ภูมภิ าค และสากล
การพฒั นา/สรา้ งคอลเลค็ ชนั ดจิ ทิ ลั • ท่ีมาของคอลเล็คชนั ดจิ ิทลั ในองค์กรสารสนเทศ – ภายในองคก์ ร คอลเลก็ ชน่ั อาจจะอยู่ในรปู ดจิ ิทลั มา ต้งั แต่เดมิ หรือตอ้ งแปลงจากรูปอนาล็อกให้อยใู่ นรปู ดจิ ทิ ลั โดยต้องพจิ ารณากระบวนการจดั เกบ็ การ ใหบ้ รกิ าร และกฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ ง – ภายนอกองคก์ ร เอกสารดิจทิ ัลท่ีไดจ้ ากภายนอก องคก์ รมกั อยใู่ นรปู ดจิ ทิ ัลแลว้ โดยแยกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ • ตัวแทนสารสนเทศ (ข้อมูลบรรณานกุ รม ดรรชนี/ สาระสงั เขป เมตะดาตา) • เอกสารฉบบั เตม็ (วารสาร หนังสอื พิมพ์ หนังสอื )
การแปลงทรพั ยากรสารสนเทศใหอ้ ยใู่ นรปู ดจิ ิทลั • อาศัยเทคโนโลยที มี่ สี มรรถนะสงู ได้แก่ ฮารด์ แวร์ สแกนเนอรแ์ บบตา่ งๆ เชน่ สาหรบั ถา่ ยกระดาษ สไลด์ ไมโครฟอรม์ กลอ้ งถ่ายภาพ ดิจิทัลประเภทตา่ งๆ • การกาหนดโครงสรา้ ง การจัดหมวดหมู่ ทา รายการ เพอ่ื สรา้ งตวั แทนสารสนเทศ ซึ่งจะชว่ ย ให้ผู้ใชส้ ามารถค้นหาสารสนเทศดจิ ิทลั ท่ี ตอ้ งการได้
การพมิ พ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ • การพมิ พอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ เน่ืองจากความกา้ วหน้าดา้ น ICT ทาใหม้ ีการผลติ จัดเก็บ และเผยแพรส่ ารสนเทศอิเล็กทรอนกิ ส์อย่าง กว้างขวาง การพมิ พ์อเิ ล็กทรอนิกสม์ ีความสาคญั กบั การเผยแพรส่ ารสนเทศทางวิชาการ มีประเดน็ สาคญั ที่ควรศกึ ษา 3 ประเดน็ คือ 1) ลักษณะการ เผยแพรส่ ารสนเทศทางวชิ าการในรปู ดจิ ิทัล 2) ปญั หาการเผยแพร่สารสนเทศทางวชิ าการในรปู ดจิ ทิ ัล 3) การควบคมุ ทางบรรณานุกรมกบั การ เขา้ ถึง สิง่ พมิ พท์ างวชิ าการในรปู ดจิ ทิ ัล
ลกั ษณะการเผยแพรส่ ารสนเทศทางวชิ าการ ในรูปดจิ ทิ ลั 1) คณุ ภาพของสง่ิ พมิ พท์ างวชิ าการ การพมิ พ์ อิเลก็ ทรอนิกส์เปิดโอกาสใหน้ กั วชิ าการสามารถ ผลติ และเผยแพร่ เอกสารผา่ นเครือขา่ ย อนิ เทอรเ์ นต็ ทงั้ ทเี่ ปน็ ผลงานเดย่ี ว และรว่ มกับผูอ้ น่ื โดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานที่ ทาใหม้ รี ะยะแรกมี ข้อวจิ ารณเ์ รอื่ งคุณภาพโดยเปรยี บเทยี บกับการ เผยแพรส่ ิ่งพมิ พใ์ นรปู กระดาษ แตต่ อ่ มาไดม้ ีการ นากระบวนการพจิ ารณาคณุ ภาพมาใช้ รูปแบบ ของสิง่ พมิ พจ์ ึงไมเ่ ปน็ ปัญหาอกี ตอ่ ไป
เอกสารกอ่ นการตีพมิ พแ์ ละเผยแพร่ • ปัจจุบนั นกั วชิ าการและนกั วจิ ยั สามารถเผยแพร่ ผลงานของตนทาง www ไดก้ อ่ นการตพี มิ พ์ ทา ใหฉ้ บับทเ่ี ผยแพรแ่ ละฉบับทตี่ พี มิ พแ์ ตกตา่ งกนั เพราะฉบบั ทต่ี พี มิ พไ์ ดร้ บั การปรบั ปรงุ แกไ้ ข และ เปน็ ลขิ สิทธิ์ของสานักพมิ พ์ ผูเ้ ขยี นจึงมอิ าจ นามาเผยแพรซ่ า้ บน www อีก
เอกสารทตี่ พี มิ พ์เผยแพรด่ ้วยตนเอง • เปน็ การเผยแพรส่ ง่ิ พมิ พว์ ชิ าการผา่ น www สว่ นตวั หรือ www ของหนว่ ยงาน การตพี มิ พ์ เผยแพรใ่ นลกั ษณะน้ไี มไ่ ดผ้ ่านกระบวนการ พจิ ารณาคณุ ภาพ ผใู้ ช้จึงตอ้ งประเมนิ คณุ ภาพ กอ่ นการนาไปใชป้ ระโยชน์
ปรมิ าณส่งิ พมิ พว์ ชิ าการในรปู ดจิ ทิ ลั • จากการสารวจจานวนสง่ิ พมิ พท์ างวิชาการ พบว่า ปี 2006 มีวารสารวชิ าการประมาณ 21,000 ชื่อเรือ่ ง จัดพิมพบ์ ทความประมาณ 1.4 ลา้ นบทความตอ่ ปี • อัตราวารสารวชิ าการใหมเ่ พมิ่ ขนึ้ เฉล่ียปลี ะ 3.5% • อตั ราบทความวชิ าการใหม่เพม่ิ ข้นึ เฉลยี่ ปลี ะ 3% • วารสารใหมๆ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ • วารสารทมี่ อี ยเู่ ดมิ สว่ นใหญผ่ ลติ ในรปู กระดาษ ควบคกู่ บั อเิ ล็กทรอนิกส์ • อนมุ านไดว้ า่ สง่ิ พิมพว์ ชิ าการในรปู ดจิ ทิ ลั เพม่ิ ปริมาณขน้ึ
ปัญหาของการเผยแพรส่ ารสนเทศทางวชิ าการ ในรปู ดจิ ิทลั 1. ความคงทน หมายถงึ การทีเ่ วบ็ ไซต์/เวบ็ เพจหนึ่งๆ ยงั คงอยเู่ มอื่ ต้องการดู หรือ คน้ หาสารสนเทศ จาก การศกึ ษา พบวา่ สารสนเทศ/สง่ิ พมิ พบ์ น www โดยทวั่ ไปมคี วามคงทนตา่ มเี ว็บไซต์/เวบ็ เพจ จานวนไม่นอ้ ยทส่ี ญู หายไป 2. เสถียรภาพ หรือ ความคงที่ หมายถงึ เอกสาร/ สารสนเทศที่อยใู่ น www ยงั มเี นือ้ หาคงเดมิ หรอื ไม่ เพราะการปรบั ปรุงแกไ้ ขโดยผเู้ ขยี นทาไดง้ า่ ยดาย มาก ปญั หาดงั กลา่ วทาใหเ้ กดิ ปญั หาแกผ่ ู้ใช้ / ผอู้ ้างอิง เอกสารดจิ ิทัล
การควบคุมทางบรรณานกุ รม • เปน็ เครอื่ งมอื สาคญั ในการระบุ/เขา้ ถงึ สงิ่ พมิ พ์ • นกั วชิ าการเสนอใหป้ รบั ปรุงวธิ ีการควบคมุ ทาง บรรณานกุ รมสงิ่ พมิ พว์ ชิ าการในรปู ดจิ ทิ ลั • เสนอใหก้ าหนดมาตรฐานการลงรายการเน้ือหา ซึง่ ไดแ้ ก่ เมตาดาตา เพอื่ ให้มีการควบคุมทาง บรรณานกุ รมอยา่ งมีคณุ ภาพ ดาเนนิ การดว้ ย ระบบอตั โนมัติ
ทมี่ า https://blogs.cul.columbia.edu/butler/2014/04/17/sente-for-pdf- management-on-the-mac-and-ipad-1-capturing-and-organizing-pdfs/
ตัวอย่างหอ้ งสมดุ ดิจทิ ลั • Smithsonian Libraries: Digital Library http://library.si.edu/digital-library • International Children’s Digital Library http://en.childrenslibrary.org/ • Project Gutenberg https://www.gutenberg.org/ • Digital Library for SchoolNet https://web.ku.ac.th/schoolnet/
Digital Curation • การคดั เลอื ก (selection) อนุรักษ์ (preservation) บารงุ รกั ษา (maintenance) และเกบ็ รวบรวม จัดระบบ (archiving) สารสนเทศดจิ ิทลั • บารงุ รกั ษาและเพม่ิ คณุ คา่ ให้กบั สารสนเทศดจิ ิทัลที่ เกบ็ ไวใ้ นคลังเพอ่ื การใชป้ ระโยชนใ์ นปจั จบุ ันและ อนาคต • องค์กรตา่ งๆ ตอ้ งการบคุ ลากรเพอ่ื ทาหนา้ ที่ Digital Curation เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพสารสนเทศสาหรบั การปฏบิ ตั ิงานและวางแผนขององคก์ ร
รายละเอยี ดของงาน Digital Curation • กาหนดกรอบแนวปฏิบตั ิ: สารสนเทศดจิ ทิ ลั ประเภท ใดบา้ งทตี่ ้องสรา้ งขนึ้ และจัดเกบ็ (เชน่ websites สง่ิ พิมพ์ดิจทิ ัล อเี มล์) • สร้าง/ผลติ สารสนเทศดิจทิ ลั และทา metadata เพื่อให้ ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถงึ ได้ • การเขา้ ถงึ และการใช้ กาหนดวา่ สารสนเทศประเภทใด ท่ผี ใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถงึ โดยเสมอภาค ประเภทใดทต่ี อ้ ง ระบสุ ทิ ธผ์ิ ใู้ ช้ • ประเมนิ และคดั เลอื กสารสนเทศเฉพาะท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั สถาบนั / องคก์ ร
• จาหน่ายออก คัดเลือกสารสนเทศดิจทิ ลั ที่ไม่เปน็ ประโยชนต์ อ่ องคก์ รเพอื่ จาหนา่ ยออก • สง่ สารสนเทศดจิ ทิ ลั ไปจดั เกบ็ ไวใ้ นคลงั • การอนรุ กั ษ์ มีมาตรการในการจดั การอนรุ กั ษ์ • ประเมินสารสนเทศดิจทิ ัลท่ีเกบ็ รกั ษาไว้ เพ่อื ให้แนใ่ จ ได้ว่าสารสนเทศน้ันยงั เปน็ ประโยชนต์ อ่ องคก์ ร • การจดั เกบ็ คานึงถงึ ความปลอดภัยของสารสนเทศ • ตรวจสอบอยู่เสมอวา่ ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ ถงึ สารสนเทศนนั้ ไดต้ ลอดเวลา • การแปลงสภาพ สารสนเทศดจิ ทิ ลั ท่ีเกบ็ ไวอ้ าจแปลง สภาพเปน็ รปู แบบอน่ื ๆตามความต้องการ / ความจาเปน็ ขององคก์ ร
บรรณานกุ รม สมพร พุทธาพทิ ักษ์ผล (2554) “หอ้ งสมุดและทรพั ยากรสารสนเทศดจิ ิทลั ” ใน ประมวลสาระชดุ วชิ า การจดั โครงสรา้ งสารสนเทศและการคน้ คนื เลม่ 2 หนว่ ยท่ี 12 นนทบุรี สาขาศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. “Data Curation.” Wikipedia. Retrieved from https://en.wikipedia.org/wiki/Digital_curation “Digital Library: Advantages and Disadvantages.” Retrieved from http://www.sscasrh.org/sri-sri-ayurveda-college/index.php/articles- by-doctors/item/320-digital-library-advantages-and- disadvantages#.Vp2brk8ppiw
สารสนเทศดจิ ทิ ลั ท่ี LAIC จดั บริการ • ฐานขอ้ มลู เชงิ พาณชิ ย์ – ฐานขอ้ มลู บทความวารสาร – ฐานข้อมลู วทิ ยานพิ นธ์ – ฐานขอ้ มลู หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ • ฐานขอ้ มลู ท่ี LAIC พฒั นาขน้ึ เอง – ฐานขอ้ มลู บตั รรายการ OPAC – ฐานข้อมลู วทิ ยานพิ นธ์ – ฐานขอ้ มลู วิจยั มธบ – ฐานขอ้ มลู บทความอาจารย์ มธบ – และอืน่ ๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: