Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IPM PROSPECTUS 2021

IPM PROSPECTUS 2021

Published by Godducks Website, 2020-09-15 11:10:09

Description: IPM PROSPECTUS 2021

Keywords: IPM PROSPECTUS 2021

Search

Read the Text Version

IPM 2021PROSPECTUS Ins�tute of Preven�ve Medicine สถาบันเวชศาสตรป อ‡ งกนั ศึกษา กรมควบคมุ โรค www.ddc.moph.go.th/ipm



สารบญั 1 3 Future Forward 5 About IPM 6 Organization Structure 7 11 Executive 12 Why study with us 13 ความทŒาทาย ดŒานเวชศาสตรป ‡องกัน 15 19 Courses 21 Preventive Medicine is… 24 เวชศาสตรก ารเดินทางและท‹องเทย่ี ว (TM) 25 27 ผŒขู บั เคลื่อนสาขา TM 27 รายว�ชาการฝกƒ อบรม TM Course of Structures TM 31 36 คณาจารยสาขา TM 37 กทาั้งใรนศแึกลษะตาตา‹ งอ‹ ปในระรเะทดศับปร�ญญาโท ศิษยเกา‹ TM 39 41 เวชศาสตรการจราจร (TF) 43 Course of Structures TF 47 ผูŒขับเคล่อื นสาขา TF 51 53 รายวช� าการฝƒกอบรม TF 54 55 คณาจารยสาขา TF 56 กท้างั ใรนศแึกลษะตาตา‹ ง‹อปในระรเะทดศับปรญ� ญาโท 59 61 Activities during Training 63 Field Trips 65 Elective 69 Surveillance Research Meeting Friday Extracurricular Activities Accommodation 4 Step to Apply to IPM Resident Privilege IPM Location

Future Forward หลกั สูตร ฝƒกอบรมแพทยป ระจำบาŒ น สถาบันเวชศาสตรป‡องกันศึกษา มีบทบาทและภารกิจที่สำคัญที่จะ ตอŒ งรว‹ มผลติ และพฒั นาบคุ ลากรทกุ ภาคสว‹ นของประเทศ โดยเฉพาะ ในมิติของการป‡องกันโรคที่เปšนป˜ญหาสำคญั ของประเทศ ทจ่ี ะสง‹ ผลกระทบตอ‹ สภาวะสขุ ภาพโดยรวมและเศรษฐกจิ สังคมของ ชาตใิ นแตล‹ ะป‚ มนี กั เดนิ ทางทอ‹ งเทย่ี ว เขาŒ -ออก ประเทศไทย มากกวา‹ 38 ลŒานคน ดŒวยวัตถุประสงคที่แตกต‹างกัน สรŒางรายไดŒใหŒประเทศเปšน จำนวนมาก แตก‹ ส็ ราŒ งปญ˜ หาตามมาโดยเฉพาะดาŒ นโรคและภยั สขุ ภาพ หลกั สตู รเวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี ว เปนš หลกั สตู รทพ่ี ฒั นา ข�้นมาเพ�่อผลิตแพทยผูŒเชี่ยวชาญดŒานการป‡องกันควบคุมและรักษา โรคทเ่ี กดิ จากการเดินทางและทอ‹ งเที่ยว ซึง่ ในปจ˜ จ�บันยังขาดการพฒั นา กำลงั คนเพอ่� มารองรบั ปญ˜ หาทอ่ี าจจะเกดิ ขน้� จากกจิ กรรมดงั กลา‹ วอกี เปšนจำนวนมาก ในทำนองเดยี วกนั ปญ˜ หาความสญู เสยี ทเ่ี กดิ ขน้� จากอบุ ตั เิ หตกุ าร จราจร โดยเฉพาะการจราจรทางถนน ก็เปšนอีกป˜ญหาหนึ่งของ ประเทศ ทีส่ ถาบันเวชศาสตรป‡องกนั ศกึ ษา ไดนŒ ำมาพฒั นา และจัดทำเปนš หลักสตู รผลิตแพทยผเŒู ชีย่ วชาญดŒาน เวชศาสตรก ารจราจร เพ�อ่ รองรับการแกปŒ ญ˜ หาจากการ จราจร ตง้ั แตร‹ ะดบั นโยบาย ไปจนถงึ ระดบั พน้� ทแ่ี ละ การปอ‡ งกนั รกั ษาในระดบั ปจ˜ เจกบุคคล ซงึ่ ยังมี ความตอŒ งการจากภาครัฐและภาคเอกชนอีกเปšน จำนวนมากเช‹นเดียวกัน ในนามของสถาบันเวชศาสตรป‡องกันศึกษา เรา เชื่อว‹าความเขŒาใจในเป‡าหมายและวัตถุประสงคของ หลกั สตู ร จะสามารถชกั ชวนและชน้ี ำใหแŒ พทยท่ี มองเห็นปญ˜ หาของประเทศขาŒ งตŒน สนใจเขาŒ มาศกึ ษา อบรมในหลักสตู รทง้ั สองหลกั สตู รน้ี เพอ่� ทจ่ี ะรว‹ มกนั กบั ทกุ ภาคสว‹ น แกปŒ ญ˜ หาทส่ี ำคญั มากของประเทศ จ�งไดจŒ ดั ทำหนงั สอื เล‹มน้ีข�น้ มาประชาสมั พนั ธและ สรŒางความเขาŒ ใจรวมทัง้ สราŒ งแรงบันดาลใจ ใหกŒ ับทุกๆ คน ทตี่ อŒ งการจะชว‹ ยกนั เพ�อ่ ประเทศไทยของเรา นายแพทยอภชิ าต วชิรพันธ ผŒอู ำนวยการสถาบนั เวชศาสตรป ‡องกันศึกษา 1 Ins�tute of Preven�ve Medicine

Prospectus 2 2021

Ins�tute of Preven�ve Medicine IPM DDC สถาบนั เวชศาสตรป อ งกนั ศกึ ษา กรมควบคมุ โรค ถอื เปน สถาบันดา นเวชศาสตรป อ งกนั แหง แรกของประเทศไทย ไดเ ร่ม� ดำเนินการเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 โดยมแี นวคดิ เพอ่� เปนศูนยรวมฝกอบรมแพทยประจำบานและผูเชี่ยวชาญ สาขา เวชศาสตรป องกนั แขนงตาง ๆ ซึง่ ในปจจบ� นั ไดเปดทำการอบรมใน 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรเวชศาสตรปองกัน แขนงเวชศาสตร การเดินทางและทองเทย่ี ว และหลักสูตรเวชศาสตรปองกัน แขนง เวชศาสตรการจราจร และในอนาคตยังมีแผนที่จะเปดอบรม เวชศาสตรด า นอน่ื ๆ เชน เวชศาสตรร าชทณั ฑ เพอ่� ใหป ระชาชน มีสขุ ภาพดีและมีอายยุ นื ยาว 3 Ins�tute of Preven�ve Medicine

วส� ยั ทศั น “เปน องคก รดา นเวชศาสตรป อ งกนั ทไ่ี ดร บั การยอมรบั ในระดบั นานาชาติ เพอ่� ปกปอ งประชาชนจากโรคและ ภยั สขุ ภาพ ภายในป 2569” พนั ธกจิ • ผลติ แพทยผ มŒู คี วามรคŒู วามชำนาญ ดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั • พฒั นาองคค วามรŒู วช� าการ คม‹ู อื หลกั สตู รและฝกƒ อบรมดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั • เปนš ตนŒ แบบสถาบนั ฝกƒ อบรมดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั รวมถงึ สาธติ การใหบŒ รก� ารตรวจรกั ษา ฟน� ฟส� ภาพอยา‹ งมมี าตรฐาน • เปนš ศนู ยข อŒ มลู ดาŒ นวช� าการและหอŒ งปฏบิ ตั กิ ารสำหรบั ใชอŒ าŒ งองิ ไดŒ ส คำขวัญสรรสราŒ งแพทยเ วชศาสตร“สวปศ.” ศ ว ปปอ‡ งกนั อยา‹ งมคี ณุ ภาพ ศกึ ษาวจ� ยั ใหเŒ หน็ จรง� วช� าการ/เทคโนโลยี ปฏบิ ตั คิ รอบคลมุ ลำ้ สมยั ทกุ กลม‹ุ วยั Prospectus 4 2021

Organization Structure IPM ผูอ ำนวยการ รอง ท่ปี รก� ษา ผูอำนวยการ สถาบนั กลมุ บร�หารทว่ั ไป และกพลฒั ุมฝนกาหอลบักรมสูตร และบกรก�ลามุ รววจ� ช� ยั าการ กลุมนโยบายแผน กลุมประกันคุณภาพ และพฒั นาองคกร การศึกษาและประเมินผล สถาบันเวชศาสตรป‡องกันศึกษา เปšนหน‹วยงานหลักในการฝƒกอบรมแพทยประจำบŒาน สาขาเวชศาสตรป‡องกัน แขนงตา‹ งๆ ทด่ี ำเนนิ การฝกƒ อบรม สอดคลอŒ งตามประกาศแพทยสภา ท่ี 53/2561 เรอ่� ง กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ คิ วามรคŒู วามชำนาญ ในการประกอบวช� าชพี เวชกรรม ๒๕๖๑ และประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาใหไŒ ดรŒ บั การรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพของสถาบนั ฝกƒ อบรม ตามมาตรฐานเวชบัณฑิตศึกษาของสหพันธแพทยศาสตรศึกษาโลก ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘ (Postgraduate Medical Education WFME Global Standards for Quality Improvement: the 2015 Revision) สถาบนั ฯ มง‹ุ เนนŒ การพฒั นาหลกั สตู ร ฝกƒ อบรมแพทยป ระจำบาŒ นใหมŒ คี วามเชย่ี วชาญ และทกั ษะตามสมรรถนะของ Entrustable Performance Activities (EPA) ในดาŒ น การประเมนิ ความเสย่ี ง การใหคŒ ำแนะนำ การดแู ลรกั ษา รวมถงึ การเฝา‡ ระวงั สอบสวนโรคและภยั สขุ ภาพไดอŒ ยา‹ งถกู ตอŒ งเหมาะสม และมปี ระสิทธภิ าพ โดยมีงบประมาณ ทรพั ยากรทางการศกึ ษาและบุคลากรกลุม‹ งานต‹างๆ เปšนกำลังสำคญั ในการประสาน สนบั สนนุ งาน และบรห� ารจดั การ ใหแŒ พทยป ระจำบาŒ นเกดิ การพฒั นาวช� าชพี อยา‹ งตอ‹ เนอ่ื ง การศกึ ษาวจ� ยั การสอ่ื สารปฏสิ มั พนั ธ การปฏบิ ตั งิ านแบบสหวช� าชพี ตลอดจนความรบั ผดิ ชอบ จรย� ธรรม ทศั นคตทิ ด่ี ตี อ‹ ผปŒู ว† ย ผรŒู ว‹ มงานและองคก ร 5 Ins�tute of Preven�ve Medicine

Executive นายแพทยโอภาส การยกว�นวงศ มิ.ย.2559 - ก.ย.2559 ปจจ�บนั : อธบิ ดกี รมว�ทยาศาสตรการแพทย นายแพทยสมบตั ิ แทนประเสรฐ� สุข ต.ค. 2559 – พ.ย. 2559 ปจจ�บนั : ผทู รงคณุ วฒุ กิ รมควบคุมโรค นายแพทยสุเทพ เพชรมาก ธ.ค. 2559 – ม.ค. 2560 ปจจ�บนั : ผตู รวจราชการกระทรวง เขตสขุ ภาพท่ี 6 นายแพทยธ นรกั ษ ผลพิ ัฒน ม.ค.2560 - ส.ค.2560 ปจ จ�บัน: รองอธิบดีกรมควบคมุ โรค นายแพทยเฉวตสรร นามวาท ก.ย.2560 - ต.ค.2560 ปจ จบ� ัน: หัวหนากลมุ พัฒนานกั ระบาดว�ทยา ภาคสนาม กองระบาดวท� ยา นายแพทยโ สภณ เอยี่ มศริ �ถาวร ต.ค.2560 - พ.ค.2561 ปจ จบ� นั : ผูอำนวยการกองโรคตดิ ตอ ทว่ั ไป นายแพทยสุทัศน โชตนะพันธ พ.ค.2561 - ก.ย.2562 ปจจบ� นั : ผูอำนวยการสำนักส่ือสารความเสียง และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ นายแพทยอภิชาต วชิรพนั ธ ผอŒู ำนวยการสถาบนั บำราศนราดรู และผŒอู ำนวยการสถาบนั ฯ ต.ค.2562 - ป˜จจ�บัน Prospectus 6 2021

WHY STUDY with us ทำไม ถึงควรเลือกเรย� นตอแพทยประจำบา นทสี่ ถาบันเวชศาสตรป อ งกันศกึ ษา 7 Ins�tute of Preven�ve Medicine

เรย� นรูง านดานเวชศาสตรปอ งกัน อยา งเขม ขน กบั ผูเชีย่ วชาญตวั จรง� ทส่ี ถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษา มอี าจารยผ เŒู ชย่ี วชาญดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั ระดบั ประเทศ-ระดบั โลกจากทง้ั ภายในประเทศและ ต‹างประเทศกว‹า 100 คน ผลดั เปลีย่ นหมุนเวย� นมาร‹วมฝƒกฝนงานดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั ใหแŒ กแ‹ พทยป ระจำบŒานเปšนประจำ ท‹านจะไดŒเร�ยนรูŒงานดŒานเวชศาสตรป‡องกันจากผูŒเชี่ยวชาญเหล‹านี้อย‹างใกลŒชิดในรูปแบบการบรรยายกลุ‹มเล็ก (แพทยประจำบŒาน ไม‹เกิน 10 คน) การนำเสนองานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางว�ชาการ ตลอดจนการลงมอื ฝกƒ ฝนจรง� ในภาคสนาม บรรยากาศการเรย� นท่อี บอุน เนอ่ื งจากสถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษาเปด รบั แพทยป ระจำบาŒ นตอ‹ ปก‚ ารศกึ ษาจำนวนไมม‹ าก ทำใหแŒ พทยป ระจำบาŒ นทกุ คน ไดมŒ โี อกาสแลกเปลย่ี นเรย� นรกŒู นั อยา‹ งทว่ั ถงึ มรี น‹ุ พแ่� พทยป ระจำบาŒ นคอยจบั ค‹ู 1-1 ดแู ลอยา‹ งใกลชŒ ดิ รวมทง้ั มอี าจารยท ป่ี รก� ษา อยา‹ งนอŒ ย 2 คนคอยใหคŒ ำปรก� ษาตอ‹ แพทยป ระจำบาŒ น 1 คน เพอ่� ใหกŒ ารเรย� นรงŒู านดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั เปนš ไปอยา‹ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รูปแบบการเร�ยนท่เี นน การเร�ยนรู จากประสบการณท ำงานจรง� ในภาคสนาม การเรย� นรทŒู ส่ี ถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษาเนนŒ ปรชั ญาการเรย� นรแŒู บบ Learning by doing คอื เนนŒ ใหเŒ กดิ การเรย� นรแŒู ละฝกƒ ฝนวช� า เวชศาสตรป อ‡ งกนั ผา‹ นการลงมอื ทำในสถานการณจ รง� แพทยป ระจำบาŒ นจะไดฝŒ กƒ ฝนการทำงานแกปŒ ญ˜ หาทางสาธารณสขุ ทเ่ี กดิ ขน้� จรง� ในฐานะสว‹ นหนง่ึ ของทมี งานกรมควบคมุ โรค โดยมผี เŒู ชย่ี วชาญของกรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ คอยเปนš พเ่� ลย้ี ง อยา‹ งใกลชŒ ดิ ตวั อยา‹ งกจิ กรรม อาทิ การลงพน้� ทส่ี อบสวนการระบาดของภยั สขุ ภาพ การทำงานคดั กรองผโŒู ดยสารทท่ี า‹ อากาศยาน สวุ รรณภมู แิ ละดอนเมอื ง การลงพน้� ทป่ี ระเมนิ ระบบเฝา‡ ระวงั โรคตดิ ตอ‹ ในเขตเมอื งทอ‹ งเทย่ี ว เปนš ตนŒ Prospectus 8 2021

โอกาสในการไปดูงาน และศกึ ษาตอท่ีตา งประเทศ สถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษาเปนš สว‹ นหนง่ึ ของกรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ จง� มคี วามสมั พนั ธท ด่ี กี บั หนว‹ ยงานตา‹ ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศ แพทยป ระจำบาŒ นจะมโี อกาสเดนิ ทางไปฝกƒ ฝนและแลกเปลย่ี นความรกŒู บั ผเŒู ชย่ี วชาญในสาขาตา‹ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอŒ งกบั งานดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั ของหนว‹ ยงานทง้ั ภายในประเทศ อาทิ โรงพยาบาลจฬ� าลงกรณ และสถานเสาวภา สภา กาชาดไทย, โรงพยาบาลเวชศาสตรเ ขตรอŒ น คณะเวชศาสตรเ ขตรอŒ น มหาวท� ยาลยั มหดิ ล, โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม,‹ โรงพยาบาลสงขลานครน� ทร, โรงพยาบาลวชริ ะภเู กต็ , โรงพยาบาลขอนแกน‹ , สถาบนั เวชศาสตรก ารบนิ กองทพั อากาศ, กอง เวชศาสตรใ ตนŒ ำ้ และการบนิ กรมแพทยท หารเรอ� และหนว‹ ยงานระหวา‹ งประเทศ อาทิ The Center of Disease Control and Prevention USA, the International Organization for Migration (IOM) Mission in Thailand (Mae Sot Sub office) นอกจากนใ้ี นหลกั สตู รแพทยป ระจำบาŒ นของสถาบนั จะกำหนดใหมŒ กี ารศกึ ษาตอ‹ ระดบั ปรญ� ญาโทระหวา‹ งการฝกƒ อบรม แพทยป ระจำ บาŒ นจะมโี อกาสไปศกึ ษาตอ‹ ในสาขาทเ่ี กย่ี วขอŒ งกบั สาขาเวชศาสตรป อ‡ งกนั ของตน อาทิ เวชศาสตรเ ขตรอŒ น เวชศาสตรก ารเดนิ ทาง และทอ‹ งเทย่ี ว สาธารณสขุ ศาสตร วศ� วกรรมศาสตร เพอ่� เพม� พน� ทกั ษะความรใŒู นดาŒ นทต่ี นเองสนใจ โดยมคี ณาจารยข องสถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษาและกรมควบคมุ โรคเปนš ทป่ี รก� ษาในการพจ� ารณาเลอื กเรย� น รวมทง้ั แพทยป ระจำบาŒ นทส่ี งั กดั กรมควบคมุ โรค จะมโี อกาสไดรŒ บั ทนุ การศกึ ษาจากกรมควบคมุ โรคเพอ่� ไปศกึ ษาตอ‹ ปรญ� ญาโททส่ี ถาบนั ในตา‹ งประเทศ ตำแหนง งานรองรบั หลังเรย� นจบ แพทยป ระจำบาŒ นทกุ คนทผ่ี า‹ นการฝกƒ อบรมทส่ี ถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษาจะถกู บรรจต� ำแหนง‹ ภายในกระทรวงสาธารณสขุ เปนš แพทยผ เŒู ชย่ี วชาญดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั เพอ่� ปฏบิ ตั งิ านปอ‡ งกนั โรคและภยั สขุ ภาพของประเทศไทยหลงั จบการศกึ ษา แพทยป ระจำบาŒ น ทม่ี ผี ลงานโดดเดน‹ อาจไดรŒ บั การพจ� ารณาบรรจเ� ปนš อาจารยแ พทยป ระจำสถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษาเพอ่� รว‹ มพฒั นาแพทย ประจำบาŒ นดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั และงานดาŒ นเวชกรรมปอ‡ งกนั ของกรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ ประเทศไทยตอ‹ ไป เรย� นรเู พ่�อเปนผนู ำ ในกระแสการแพทยแ หงอนาคต การแพทยใ นยคุ อนาคตจะมง‹ุ เนนŒ ดาŒ นการปอ‡ งกนั โรคมากกวา‹ การรกั ษาโรค สถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษาเปนš สถาบนั ฝกƒ อบรม เฉพาะทางทม่ี ง‹ุ เนนŒ การผลติ แพทยผ เŒู ชย่ี วชาญดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั เพอ่� ออกมาเปนš ผนŒู ำในกระแสการแพทยแ หง‹ อนาคตน้ี 9 Ins�tute of Preven�ve Medicine

IPM Prospectus 10 2021

ความทา ทาย ดา นเวชศาสตรป อ งกนั ความทาŒ ทายทส่ี ำคญั ของงานดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั คอื ลกั ษณะงาน เปนš งานทอ่ี ยเ‹ู บอ้ื งหลงั ทำใหขŒ าดความนา‹ สนใจ และ มคี า‹ ตอบแทน ในการทำงานไมส‹ งู มากนกั เปรย� บเทยี บกบั แพทยใ นสาขาอน่ื นอกจากน้ี ผลของการทำงานอาจจะจบั ตอŒ งหรอ� มองเหน็ ไดยŒ าก เนอ่ื งจากเปนš การลดความสญู เสยี การบาดเจบ็ และการเสยี ชวี ต� ซง่ึ ไมอ‹ าจทราบไดหŒ ากไมเ‹ กดิ การเจบ็ ปว† ยจรง� นอกจากน้ี ศาสตรด าŒ นน้ี ตอŒ งอาศยั ความเชย่ี วชาญในหลาย ๆ ดาŒ น เพอ่� ใหกŒ ารปอ‡ งกนั มปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นน้ั ผทŒู ม่ี าเรย� นตอŒ งเปนš ผทŒู ฉ่ี ลาด มไี หวพรบ� มปี ระสบการณ มใี จทเ่ี ปด กวาŒ ง พรอŒ มเรย� นรสŒู ง�ิ ใหมแ‹ ละสง�ิ ทส่ี ำคญั คอื มคี วามอดทน 11 Ins�tute of Preven�ve Medicine

Courses • สาขาเวชศาสตรปอ‡ งกัน แขนงเวชศาสตรก ารเดนิ ทาง TMและท‹องเที่ยว ( Travel Medicine ) • สาขาเวชศาสตรป อ‡ งกัน แขนงเวชศาสตรก ารจราจร TF ( Traffic Medicine ) Prospectus 12 2021

IS...Preven�ve Medicine เวชศาสตรป อ งกนั หรอ� Preventive Medicine คอื ศาสตรท างการแพทย แขนงหนง่ึ ทใ่ี หค วามสำคญั กบั การปอ งกนั ลดการแพรก ระจาย การตดิ ตอ และการเสยี ชวี ต� จากทง้ั โรคตดิ ตอ และโรคไมต ดิ ตอ โดยมงุ เนน การประยกุ ต ความรแู บบองคร วม เพอ่� ไมใ ห เกดิ โรคในคนหรอ� กลมุ ประชากร นอกจากนเ้ี วชศาสตรป อ งกนั ยงั มงุ เนน การสง เสรม� สขุ ภาพ ของคนเพอ่� ใหล ดความเสย่ี งของการเกดิ โรคตา ง ๆ เวชศาสตรป อ งกนั เปน สว นเสรม� มงุ เนน ลดการเจบ็ ปว ย เพอ่� ไมใ หเ ปน ภาระในการรกั ษาพยาบาล ซง่ึ เมอ่ื เกดิ การเจบ็ ปว ย มกั นำมาซง่ึ ความทพุ พลภาพหรอ� อาจเสยี ชวี ต� 13 Ins�tute of Preven�ve Medicine

Prospectus 14 2021

เวชศาสตรการเดนิ ทาง และทองเท่ยี ว Residency Training in Preven�ve Medicine (Travel Medicine) 15 Ins�tute of Preven�ve Medicine

WHY TRAVEL MEDICINE (TM) Travel Medicine เวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี ว เปนš เวชศาสตรป อ‡ งกนั แขนงหนง่ึ ทเ่ี กย่ี วขอŒ งกบั การดแู ลนกั เดนิ ทางหรอ� นกั ทอ‹ งเทย่ี วทง้ั ใน และต‹างประเทศ โดยใชŒทักษะและองคความรูŒในการประเมินความ พรอŒ มในการเดนิ ทาง การใหคŒ ำปรก� ษา แนะนำ ตลอดจนการเฝา‡ ระวงั และการสอบสวนโรคเพอ่� แกไŒ ขปญ˜ หาโรคและภยั สขุ ภาพท่ี สมั พนั ธก บั การเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี วไดŒ ความรดŒู าŒ นเวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี วเปนš สว‹ น สำคัญในการลดผลกระทบต‹อสุขภาพและภัยทางสาธารณสุข ตา‹ ง ๆ ทเ่ี กดิ แกน‹ กั เดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี ว ซง่ึ ปจ˜ จบ� นั พบวา‹ แตล‹ ะปม‚ ี นกั เดนิ ทางทอ‹ งเทย่ี วเขาŒ -ออกประเทศหลายสบิ ลาŒ นคน และมแี นวโนมŒ เพม� ขน้� ทกุ ๆ ป‚ “One of the Leading Travel Medicine Residency Program in the World” สถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษา เปนš สถาบนั แหง‹ ท่ี 2 ในประเทศไทย รวมถงึ เปนš แหง‹ ท่ี 2 ในโลก ทจ่ี ดั ฝกƒ อบรมแพทยป ระจำบาŒ นเพอ่� เปนš แพทยผ เŒู ชย่ี วชาญดาŒ นเวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี ว แพทย ประจำบาŒ นจะไดรŒ บั การฝกƒ ฝนทกั ษะและพฒั นาความรเŒู พอ่� ใหจŒ บ เปšนแพทยผูŒมีความเชี่ยวชาญดŒานเวชศาสตรการเดินทางและ ทอ‹ งเทย่ี วทม่ี าเปนš แกนหลกั ในการพฒั นานโยบายและงานวช� าการ ดาŒ นเวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี วของประเทศไทยใหเŒ ปนš ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล www.granthams�amilyprac�ce.com.au Prospectus 16 2021

วส� ัยทัศนหลกั สูตร “ผลติ แพทยใ หมŒ คี วามเชย่ี วชาญ เปนš แกนหลกั ในการพฒั นานโยบายและวช� าการดาŒ นเวชศาสตร การเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี วใหเŒ ปนš ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล” พนั ธกิจ 1. ผลติ แพทยใ หมŒ คี วามเปนš มอื อาชพี ดาŒ นเวชศาสตร การเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี วอยา‹ งมคี ณุ ภาพ 2. ใหอŒ งคค วามรดŒู าŒ นวช� าการ ดาŒ นวจ� ยั และพฒั นา วช� าการนำไปสก‹ู ารสราŒ งนวตั กรรมทเ่ี ปนš ประโยชน แกส‹ งั คมตอบสนองตอ‹ นโยบายประเทศ 3. พฒั นาใหแŒ พทยม ที กั ษะการเฝา‡ ระวงั ปอ‡ งกนั ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในนักเดินทางและ ทอ‹ งเทย่ี วไดอŒ ยา‹ งเหมาะสม ทันต‹อสถานการณ รวมทง้ั สราŒ งและพฒั นาศกั ยภาพเครอ� ขา‹ ยดาŒ นสขุ ภาพ 4. สนบั สนนุ และพฒั นาใหแŒ พทยม ที กั ษะการใหคŒ ำปรก� ษา สามารถถา‹ ยทอดความรใŒู หแŒ กป‹ ระชาชนไดอŒ ยา‹ ง ถกู ตอŒ งเหมาะสม 17 Ins�tute of Preven�ve Medicine

ชอ่ื วุฒิบตั ร ชื่อเตม็ วฒุ ิบตั รเพ่�อแสดงความรŒูความชำนาญ ในการประกอบว�ชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตรป‡องกัน (ภาษาไทย) แขนงเวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเท่ยี ว (ภาษาองั กฤษ) Diploma of the Thai Board of Preventive Medicine (Travel Medicine) ช่ือยอ‹ วว. เวชศาสตรป ‡องกนั แขนงเวชศาสตรการเดินทางและทอ‹ งเทย่ี ว Dip. Preventive Medicine (Travel Medicine) (ภาษาไทย) (ภาษาองั กฤษ) ระยะเวลาการศกึ ษา 3 ป‚ ไม‹เกิน 4 ป‚ การรับเขาŒ ศึกษา รับจำนวน 5 คนต‹อป‚ Prospectus 18 2021

ผนŒู ำการขบั เคล่อื น เวชศาสตรการเดินทางและทอ‹ งเที่ยว (Program Management Committee) นพ.อำนวย กาจ�นะ ประธานกรรมการ รศ.นพ.พรเทพ นพ.ครรชิต จนั ทวานิช รองประธาน นพ.ศุภมิตร นพ.อภิชาต ลิมปกาญจนารัตน กรรมการ นพ.สทุ ัศน นพ.บุญเลศิ ชุณหสุทธวิ ฒั น กรรมการ นพ.วช� ัย นายยทุ ธพงษ วชิรพนั ธ กรรมการ นางสาวเตอื นใจ โชตนะพันธ กรรมการ ศักดช์ิ ัยนานนท กรรมการ สติมัย กรรมการ เกยี รตยิ ทุ ธชาติ กรรมการ นุชเทยี น กรรมการและเลขานกุ าร บร�หารจัดการหลักสตู รฝกƒ อบรมแพทยป ระจำบŒาน แขนงเวชศาสตรการเดนิ ทาง และท‹องเที่ยว และกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนงานตามว�สัยทัศน พันธกิจของหลักสูตร โดยใหŒสอดคลŒองกับมาตรฐานเวชบัณฑิตศึกษาของสหพนั ธแ พทยศาสตรโลก (Postgraduate Medical Education WFMEGlobal Standards for Quality Improvement) 19 Ins�tute of Preven�ve Medicine

TRErSaIDvENeClY MTRAeINdINiGcINinPReEVENTIVE MEDICINE (TRAVEL MEDICINE) “ผลติ แพทยใ หมŒ คี วามเชย่ี วชาญ เปนš แกนหลกั ในการพฒั นา นโยบายและวช� าการ ดาŒ นเวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี ว ใหเŒ ปนš ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล” Prospectus 20 2021

รายวช� าการฝกƒ อบรม รวมระยะเวลาการฝกƒ อบรมทงั้ 3 ช้ันป‚ ช้ันป‚ละ 48 สปั ดาห ( ไมน‹ บั รวมสปั ดาหการสอบ ) 6 พน�้ ฐานและหลักการของเวชศาสตรป‡องกนั ท่วั ไป สัปดาห (Fundamental and Principle of Preventive Medicine) 4 แพทยป ระจำบาŒ น สัปดาห ชน้ั ปท‚ ี่ 1 พ้�นฐานและหลกั การของเวชศาสตรการเดินทางและทอ‹ งเทยี่ ว (Fundamental and Principle of Travel Medicine) การใหคŒ ำปร�กษาก‹อนการเดนิ ทาง 3 8 (Pre-Travel Counselling) สัปดาห สัปดาห การควบคุม ปอ‡ งกนั และรักษาโรคที่พบบ‹อยและสำคญั ของเวชศาสตรการเดินทางและทอ‹ งเทีย่ ว (Control, Prevention and Treatment of Common and Important Diseases of Travel Medicine) ทกั ษะ/เจตคติของว�ชาชีพและความรŒดู าŒ นบูรณาการ 3 (Professional Skills / Attitudes and Knowledge in Integration) สปั ดาห ปญ˜ หาทางการแพทยและสาธารณสุขทส่ี ำคัญในเวชศาสตรการเดินทางและทอ‹ งเทย่ี ว 8 (Important Medical and Public Health Problems in Travel Medicine) สปั ดาห การเฝ‡าระวัง ตรวจรกั ษา และติดตามผปูŒ †วยท่ีเปนš โรคหลังการเดนิ ทาง 8 (Surveillance, Treatment and Follow Up Patients After Travel) สปั ดาห 6 สปั ดาห ว�ทยาการระบาด การเฝ‡าระวัง สอบสวนโรคทเ่ี กี่ยวกบั การเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี ว (Epidemiology, Surveillance, Investigation of Diseases Related to Travel) 21 Ins�tute of ระเบยี บวธ� ีวจ� ัย 2 Preven�ve Medicine (Research methodology) สปั ดาห

เวชศาสตรการบนิ ท่ีเก่ยี วขอŒ งกับเวชศาสตรการเดนิ ทางและทอ‹ งเที่ยว 4 (Aviation Medicine Related to Travel Medicine) สปั ดาห แพทยป ระจำบŒาน ว�ชาเลอื ก (Elective) 8 ชนั้ ป‚ท่ี 2 สัปดาห 10 โรคเขตรอŒ นทีเ่ ก่ยี วขอŒ งกบั เวชศาสตรก ารเดินทาง สปั ดาห และท‹องเที่ยวระดับสูง (Advance Tropical Diseases Related to Travel Medicine) 24การฝƒกอบรมเวชศาสตรการเดนิ ทางและทอ‹ งเท่ยี วภาคปฏิบตั ิ 2 (Travel Medicine Training) สปั ดาห สัปดาห ทักษะ/เจตคติของว�ชาชีพและความรŒูดาŒ นบูรณาการ (Professional Skills / Attitudes and Knowledge in Integration) แพทยประจำบŒาน 48 ช้นั ปท‚ ี่ 3 สัปดาห ศึกษาหลักสตู รปร�ญญาโทสาขาสาธารณสุขศาสตร อายรุ ศาสตรเ ขตรอŒ น หรอ� สาขาเวชศาสตรการเดนิ ทาง และท‹องเทีย่ ว หร�อเทียบเท‹า (Study the Master of Science Program in Public Health, Tropical Medicine, Travel Medicine or Equivalent) Prospectus 22 2021

ระบบการจดั การศึกษา ศกึ ษาทส่ี ถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษา กรมควบคมุ โรค ซึ่งเปšนสถาบันหลัก 2 ป‚ และศึกษาต‹อในระดับปร�ญญาโทสาขา สาธารณสุขศาสตร อายุรศาสตรเขตรŒอน หร�อสาขาเวชศาสตร การเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี ว หรอ� สาขาทเ่ี กย่ี วขอŒ ง ระยะเวลาในการศกึ ษา ไมน‹ อŒ ยกวา‹ 10 เดอื น แผนและกิจกรรมการฝƒกอบรม แบง‹ ออกเปนš 6 Category รวมระยะเวลา 52 สปั ดาห (1 ปก‚ ารฝกƒ อบรม) ดงั ตอ‹ ไปน้ี กจิ กรรม จแำพนวท(กนยจิกป กจิรรกะจรรำมรบ)มาŒ ขนอง 1. กิจกรรมที่ฝƒกปฏิบัติร‹วมกันทั้ง 2 ชั้นป‚ 10 2. กิจกรรมต‹อเนื่องตั้งแต‹ชั้นป‚ที่ 1 - ป‚ที่ 2 6 3. กิจกรรมของแพทยประจำบŒานชั้นป‚ที่ 1 10 4. กิจกรรมของแพทยประจำบŒานชั้นป‚ที่ 2 8 5. ประชุมว�ชาการประจำสัปดาห (Friday Meeting) 6 6. การสอบประเมินผล และสอบซ‹อม 3 23 Ins�tute of Preven�ve Medicine

Course of Structures • ความรูŒพ�้นฐานดŒานเวชศาสตร การเดินทางและท‹องเที่ยว • ใหŒคำปร�กษาก‹อนการเดินทาง (Pre-Travel Counselling) • การควบคุม ป‡องกัน และรักษาโรค ที่พบบ‹อยและสำคัญของเวชศาสตร การเดินทางและท‹องเที่ยว • ป˜ญหาทางการแพทยและสาธารณสุข ที่สำคัญในเวชศาสตรการเดินทาง และท‹องเที่ยว • ว�ทยาการระบาดการเฝ‡าระวัง สอบสวนโรคที่เกี่ยวกับการเดินทาง และท‹องเที่ยว ระเบียบว�ธีว�จัย • เวชศาสตรการบินที่เกี่ยวขŒองกับ เวชศาสตรการเดินทางและท‹องเที่ยว • การเฝ‡าระวังสอบสวนโรค และ ตรวจรักษาโรคหลังการเดินทาง • ทักษะ/เจตคติของว�ชาชีพ 24 และความรูŒดŒานบูรณาการ Prospectus 2021

คณาจารยแขนงเวชศาสตรการเดินทางและทอ‹ งเทีย่ ว นพ. คำนวณ อึ้งชศู ักดิ์ อว.เวชศาสตรปองกัน (ระบาดว�ทยา) - ประธานคณะกรรมการกำกบั ทศิ ความรว‹ มมอื ระหวา‹ งองคก าร อนามยั โลกและกระทรวงสาธารณสขุ ดาŒ นโรคไมต‹ ดิ ตอ‹ (WHO-RTG Country Cooperating Strategies on NCDs) -กรรมการ Strategic, Technical and Advisory Group on Infectious Harzard ขององคก ารอนามยั โลกสำนกั งานใหญ‹ Introduction to Field Epidemiology นพ. ศภุ มิตร ชุณหส ทุ ธิวฒั น อว. เวชศาสตรป องกัน (ระบาดว�ทยา, เวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ งเทย่ี ว, เวชศาสตรจ ราจร) กรรมการผทŒู รงคณุ วฒุ สิ ถาบนั วคั ซนี แหง‹ ชาติ - Natural history of diseases and level of prevention in clinical preventive medicines - Principles and provision of vaccines 25 Ins�tute of Preven�ve Medicine

นพ. ว�วฒั น โรจนพท� ยากร อว. เวชศาสตรป องกัน (เวชศาสตรปอ งกันคลีนกิ ) -ผŒูอำนวยการศูนยนโยบายและการจัดการสุขภาพ คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวท� ยาลยั มหิดล -เลขาธิการ ASEAN University Network - Health Promotion Sub-Network (AUN-HPN) - Natural history of diseases and level of prevention in clinical preventive medicines - Principles and provision of vaccines นพ. โรม บวั ทอง อว.เวชศาสตรปองกนั (ระบาดว�ทยา, เวชศาสตร การเดินทางและทองเทีย่ ว) - รองผŒอู ำนวยการกองด‹านควบคุมโรคตดิ ต‹อระหว‹างประเทศ - National Professional Officer at World Health Organization (WHO) International Health Regulation (IHR) BDaVrMba, rMaPKHnust, - Director, Division of Global Migration and Quarantine Asia Field Program, US CDC - Commander in the US Public Health Service - Principles of Travel Medicine - Recommend: What should we do for traveler during travel in Thailand Prospectus 26 2021

การศึกษาตอ ในระดับปรญ� ญาโท ท้ังในและตา‹ งประเทศ แพทยประจำบŒานจะตŒองเขŒารับการศึกษาต‹อในระดับปร�ญญาโทใน สาขาสาธารณสุขศาสตร อายุรศาสตรเขตรŒอน หร�อสาขาเวชศาสตรการเดินทาง และท‹องเที่ยว โดยหลักสูตรยังเปดโอกาสใหŒแพทยประจำบŒานสามารถศึกษา ต‹อในสาขาที่เกี่ยวขŒอง มีกำหนดระยะเวลาในการศึกษาไม‹นŒอยกว‹า 10 เดือน ไดŒทั้งในและต‹างประเทศ ในกรณีที่แพทยประจำบŒานตŒองการขอรับทุนเพ�่อสนับสนุน การศึกษาต‹อ สามารถยื่นขอทุนต‹อหน‹วยงานนั้นไดŒ โดยสถาบันเวชศาสตร ป‡องกันศึกษาจะเปšนผูŒประสานงานและสนับสนุนในการดำเนินการเพ�่อ ขอรับทุน แพทยห ญงิ ปรณ� ดา วัฒนศร� แพทยหญิงวาสนิ ี ชลศิ ราพงศ แพทยประจำบŒานชน้ั ปท‚ ี่ 3 แพทยป ระจำบŒานชนั้ ปท‚ ี่ 3 ศึกษาต‹อ ณ University of Oxford , United Kingdom (UK) ศึกษาตอ‹ ณ KIT Royal Tropical Institute , Netherlands ไดŒรับทุนจาก กรมควบคุมโรค ไดŒรับทนุ จาก กรมควบคุมโรค 27 Ins�tute of Preven�ve Medicine

เสนŒ ทางอาชีพ • แพทยเวชศาสตรการเดินทางและทองเที่ยว ทำงานใน โรงพยาบาลรัฐ/เอกชน ที่มีคลินิกเวชศาสตรการเดินทาง และทองเที่ยว โดยเฉพาะภายในจังหวัดทองเที่ยวตาง ๆ • เปนอาจารยในสถาบันการศึกษา • ทำงานใหองคการระหวางประเทศ เชน WHO, US-CDC • ทำงาน ณ ชองทางเขาออกระหวางประเทศ เชน ทาอากาศยานตาง ๆ • เปนที่ปร�กษาใหกับแพทยสาขาอื่น เมื่อพบปญหาที่เกี่ยวของ กับผูเดินทางทองเที่ยว Prospectus 28 2021

ศษิ ยเ กา แพทยป ระจำบาŒ นท่ีสำเร็จการศึกษา (Alumni) ที่มาเรย� นหลักสูตร พญ. กมลทพิ ย อัศววรานนั ท ดิฉันมีความสนใจดŒานเวชศาสตรการเดินทางและท‹องเที่ยว ร‹ุนท่ี 1 (Travel medicine) มาตั้งแต‹ตอนที่กำลังใชŒทุนอยู‹ต‹างจังหวัด ดิฉันไดŒศึกษาขŒอมูลของสถาบันเวชศาสตรป‡องกันศึกษา (สวปศ.) พบว‹าเปšนหลักสูตรที่พัฒนาภายใตŒกรมควบคุมโรค มีโรงพยาบาล บำราศนราดูรซึ่งข�้นชื่อดŒานโรคติดเชื้อและดูแลโรคติดต‹ออุบัติใหม‹ เปšนสถานที่ฝƒก รวมถึงมีการบูรณาการหลายองคความรูŒเขาŒ ดวŒ ยกนั เชน‹ การดงู านทด่ี า‹ นควบคมุ โรคตดิ ตอ‹ ตา‹ ง ๆ งานดาŒ นเวชศาสตรป อ‡ งกนั และสาธารณสขุ ในกรมฯ งานระบาดวท� ยา เวชศาสตรใ ตนŒ ำ้ เวชศาสตร การบิน เวชศาสตรเขตรŒอน เปšนตŒน “ ดิฉันไดŒเล็งเห็นศักยภาพเหล‹านี้ จ�งตัดสินใจมาเร�ยนที่สถาบันโดยเปšนแพทยประจำบŒานรุ‹นแรก ที่สำคัญ สวปศ.มผี บŒู รห� ารทเ่ี ขาŒ ใจและเหน็ ความสำคญั ของการฝกƒ อบรมแพทย อาจารยแ ละเจาŒ หนาŒ ทท่ี เ่ี อาใจใส‹ ทม‹ุ เทและตง้ั ใจ ถ‹ายทอดความรูŒและประสบการณ เมื่อเวลาผ‹านไปหลักสูตรและการเร�ยนการสอนมีการปรับแกŒไขตามความ เหมาะสมและเพอ่� ใหผŒ เŒู รย� นไดปŒ ระโยชนท ส่ี ดุ จนทำใหดŒ ฉิ นั จบเปนš แพทยเ วชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทย่ี วในทกุ วนั น้ี 29 Ins�tute of Preven�ve Medicine

แขนงเวชศาสตรก ารเดนิ ทางและทอ‹ งเทยี่ ว TM (Travel Medicine) ทมี่ าเรย� นหลกั สูตร คือ ตŒองบอกเลยว‹าเปšนหลักสูตรที่เปดประสบการณใหŒกับ แพทยตัวเล็ก ๆ คนหนึ่งเปšนอย‹างมาก อย‹างแรกเลยคือประสบการณ ในการใหŒคำแนะนำนักเดินทาง ไม‹น‹าจะมีประเด็นอะไรมากมาย แต‹ขอบอกเลย จร�ง ๆ แลŒวมีประเด็นที่น‹าสนใจพอสมควร ทั้ง รายละเอียดเกี่ยวกับตัวนักเดินทาง สถานที่เดินทาง สถานการณ ในแต‹ละที่ที่จะเดินทางไป สภาพแวดลŒอมที่แตกต‹าง มีผลต‹อสุขภาพ พญ. สริ ร� กั ษ ธนะสกลุ ประเสรฐ� ของนักเดินทางอย‹างไรบŒาง แลŒวยังมีเร�่องประเด็นของวัคซีนที่จะใหŒ รน‹ุ ท่ี 1 ตัวไหนบŒาง เพราะอะไร เหตุผลประกอบ ใหŒอย‹างไร ใหŒเมื่อไร ใหŒแลŒวมีผลขŒางเคียงอย‹างไรบŒาง ฯลฯ รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวขŒอง อีกจำนวนหนึ่ง การเร�ยนที่สปวศ.จะมีการส‹งไปวนตาม Rotation ต‹างๆ ซึ่งเปšนโอกาสใหŒไดŒรูŒจักพ�่ ๆ นŒอง ๆ ทั้งในกรมควบคุมโรคเองและนอกกรมควบคุมโรค ไดŒแลกเปลี่ยนแบ‹งป˜น ประสบการณต‹าง ๆ พอเลื่อนชั้นป‚ ไดŒมีโอกาสไปเร�ยนป.โทที่คณะเวชศาสตรเขตรŒอน ที่ทำใหŒเร�ยนรูŒเร�่องราวของโรค เขตรŒอนมากมาย ไดŒรูŒจักอาจารย พ�่ ๆ เพ�่อน ๆ นŒอง ๆ อีกหลาย ๆ ท‹านทั้งคนไทยและชาวต‹างชาติ จ�ดเด‹นของการเร�ยน ที่สถาบันเวชศาสตรป‡องกันศึกษานี้คือเปšนสถาบันที่ไดŒใหŒโอกาสในการฝƒกฝนตัวเอง ในมิติของงานเชิงนโยบายซึ่งใน ส‹วนหนึ่งของการอบรมจะไดŒมีการฝƒกฝนในส‹วนของระบาดว�ทยา กองระบาดว�ทยา กองโรคติดต‹อทั่วไป ด‹านควบคุม โรคติดต‹อระหว‹างประเทศ ซึ่งหน‹วยงานต‹าง ๆ เหล‹านี้เปšนหน‹วยงานส‹วนกลางที่มีส‹วนในเชิงนโบาย เปšนการฝƒกใหŒเรา มองภาพของสุขภาพในมิติของชุมชนเพ�มเติมจากที่เคยเร�ยนมาก‹อน ซึ่งถือไดŒว‹าเปšนเร�่องที่ทŒาทายและเปšนประโยชน ต‹อคนอีกจำนวนไม‹นŒอย สถาบันบำราศนราดูรเปšนอีกหนึ่งสถานที่สำคัญที่มีบทบาทในการดูแล 30 ผูŒป†วยโรคอุบัติใหม‹เช‹น MERS, Ebola, SARS นบั เปนš อกี หนง่ึ ประสบ การณที่สำคัญ และที่ขาดไม‹ไดŒ สถาบันเวชศาสตรป‡องกันศึกษาตัว สถาบนั เองประกอบไปดวŒ ยทีมงานคุณภาพที่มีความตั้งใจเต็มเป‚›ยม และเปšนผูŒอยู‹เบื้องหลังการจัดฝƒกอบรมนี้ แมŒว‹าจะเปšนหน‹วยงานที่เพ�ง ตั้งมาไม‹นานนักแต‹ก็เปšนหน‹วยงานที่น‹ารักและมีสีสัน ขอบคุณทุกคน ทุกสิ�งตลอดระยะเวลาที่ผ‹านมา ขอบคุณสำหรับประสบการณ ความรูŒ และความรูŒสึกดีๆ Prospectus 2021

เวชศาสตรการจราจร Residency Training in Preven�ve Medicine (Traffic Medicine) 31 Ins�tute of Preven�ve Medicine

WHY TRAFFIC MEDICINE (TF) เวชศาสตรก ารจราจร เปนš เวชศาสตรป อ‡ งกนั แขนงใหมท‹ เ่ี กดิ จาก การบรู ณาการความรทŒู างดาŒ นสาธารณสขุ และวศ� วกรรมความปลอดภยั เขาŒ ดวŒ ยกนั โดยมง‹ุ เนนŒ การปอ‡ งกนั ภยั จากอบุ ตั เิ หตดุ าŒ นการคมนาคม ทง้ั ทางบก ทางเรอ� และทางอากาศ ลดความรนุ แรงจากการบาดเจบ็ ทพุ พลภาพ รวมถงึ การเสยี ชวี ต� จากอบุ ตั เิ หตทุ างการจราจร ทง้ั ทางตรงและทางออŒ ม จากสถติ อิ บุ ตั เิ หตทุ างจราจรในปจ˜ จบ� นั พบวา‹ ประเทศไทยมผี เŒู สยี ชวี ต� จากอบุ ตั เิ หตจุ ราจรในอตั ราทส่ี งู เปนš ลำดบั ตนŒ ๆ ของโลก โดยเฉพาะ อย‹างยิ�งอุบัติเหตุทางถนนในช‹วงเทศกาลสำคัญของประเทศหร�อ ชว‹ งทม่ี วี นั หยดุ ยาว ทม่ี ผี เŒู สยี ชวี ต� หลายรอŒ ยรายในระยะเวลาเพย� ง แคป‹ ระมาณ 1 สปั ดาห และแมกŒ ารดแู ลรกั ษาจะมคี ณุ ภาพทด่ี มี ากขน้� เพย� งใด กไ็ มส‹ ามารถลดอตั ราการเสยี ชวี ต� จากอบุ ตั เิ หตลุ งไดŒ หาก อาการบาดเจบ็ ทเ่ี กดิ ขน้� นน้ั มคี วามรนุ แรง ดังนั้นการลดความสูญเสีย ความพ�การและการเสียชีว�ต ตŒอง มุ‹งเนŒนในเร�่องการป‡องกันเปšนหลัก แพทยเวชศาสตรการจราจร จะตŒองมีความรูŒทั้งทางดŒานระบบสาธารณสขุ และในสว‹ นของ ว�ศวกรรมความปลอดภัยทางถนนและยานยนต เพ�่อใหŒสามารถ ออกแบบกระบวนการลดความสญู เสยี ทเ่ี กดิ จากการจราจรไดŒ อยา‹ งครบถวŒ น สถาบนั เวชศาสตรป อ‡ งกนั ศกึ ษา เปนš สถาบนั ฝกƒ อบรมแพทย ดาŒ นเวชศาสตรก ารจราจรแหง‹ แรกในประเทศไทย และแหง‹ แรกในทวป� เอเชยี ทจ่ี ดั อบรมแพทยป ระจำบาŒ นเพอ่� เปนš แพทยผ เŒู ชย่ี วชาญดาŒ น เวชศาสตรก ารจราจร แพทยป ระจำบาŒ นจะไดรŒ บั การฝกƒ ฝนทกั ษะและ พฒั นาความรเŒู พอ่� ใหจŒ บเปนš แพทยผ มŒู คี วามเชย่ี วชาญดาŒ นเวชศาสตร การจราจรทม่ี าเปนš ผนŒู ำในการตอ‹ สกŒู บั ปญ˜ หาอบุ ตั เิ หตแุ ละภยั สขุ ภาพ ทเ่ี กดิ จากการจราจรในประเทศไทย และในโลก รวมทง้ั เปนš แกนหลกั ในการพฒั นานโยบายและงานวช� าการดาŒ นเวชศาสตรก ารจราจร ของประเทศไทยใหเŒ ปนš ทย่ี อมรบั ในระดบั สากล Prospectus 32 2021

ว�สยั ทัศนห ลกั สตู ร \"ผลติ แพทยใ หม คี วามเชย่ี วชาญ ดา นการปอ งกนั ภยั จากอบุ ตั เิ หตุ ดา นการคมนาคมภายใตอ งคค วามรทู ค่ี รอบคลมุ เพอ่� ลดการสญู เสยี จากการจราจร ในปจ จบ� นั และอนาคตทจ่ี ะเพม่� ขน้� อยา งตอ เนอ่ื ง\" พนั ธกจิ 1. ผลิตแพทยผูŒเชี่ยวชาญ ที่มีความรูŒความสามารถในการป‡องกัน อุบัติเหตุจากการจราจรองครวม ครอบคุมในทุกดŒาน 2. นำเสนอองคความรูŒที่ครอบคลุมในทุกดŒาน เพ�่อต‹อยอดพัฒนา และนำมาใชŒจร�ง เพ�่อใหŒเกิดประโยชยสูงสุดต‹อสังคม 2. พัฒนาอย‹างไม‹หยุดนิ�ง กŒาวทันสถานการป˜จจ�บัน รองรับอนาคต ตอบสนองต‹อนโยบายประเทศ ในการรองรับการจราจรที่เพ�มมากข�้น อย‹างต‹อเนื่อง 3. ส‹งเสร�มใหŒแพทยพัฒนาความรูŒความสามารถ อย‹างต‹อเนื่อง เพ�่อ ถ‹ายทอดองคความรูŒพ�้นฐาน แก‹ประชาชนไดŒอย‹างมีประสิทธิภาพ สรŒางความรูŒความเขŒาใจ ลดอุบัติเหตุจากการจราจร อย‹างยั่งยืน The First Traffic Medicine Residency Program in Asia 33 Ins�tute of Preven�ve Medicine

นอกจากความรแŒู ละทกั ษะเฉพาะแขนงแลวŒ แพทยด าŒ นเวชศาสตรก ารจราจร ตอŒ งมคี วามรคŒู วามสามารถ ดาŒ นอน่ื ๆ ทส่ี าํ คญั ไดแŒ ก‹ ความสามารถในการเรย� นรเŒู พอ่� ใหมŒ กี ารพฒั นาวช� าชพี อยา‹ งตอ‹ เนอ่ื ง ความสามารถ ดาŒ นการวจ� ยั เพอ่� สราŒ งองคค วามรŒู ความเปนš มอื อาชพี การสอ่ื สารและปฏสิ มั พนั ธ การทาํ งานเปนš ทมี การปฏบิ ตั งิ าน แบบสหวช� าชพี มคี วามรคŒู วามเขาŒ ใจในระบบสขุ ภาพของประเทศ การบรห� ารจดั การกระบวนการคณุ ภาพและ ความปลอดภยั ตลอดจนความรบั ผดิ ชอบ จรย� ธรรม ทศั นคติ และเจตคตทิ ด่ี ตี อ‹ ผปŒู ว† ย ผรŒู ว‹ มงานและองคก ร รวมทง้ั มคี วามเออ้ื อาทรและใสใ‹ จในความปลอดภยั โดยยดึ ถอื ผปŒู ว† ยเปนš ศนู ยก ลาง ชอื่ วุฒบิ ัตร ชอ่ื เต็ม วฒุ บิ ตั รเพอ�่ แสดงความรŒคู วามชำนาญในการประกอบว�ชาชพี เวชกรรม สาขาเวชศาสตรป‡องกนั แขนงเวชศาสตรก ารจราจร (ภาษาไทย) (ภาษาองั กฤษ) Diploma of the Thai Board of Preventive Medicine (Traffic Medicine) ชื่อย‹อ วว. เวชศาสตรป‡องกนั แขนงเวชศาสตรก ารจราจร (ภาษาไทย) (ภาษาองั กฤษ) Dip. Preventive Medicine (Traffic Medicine) ระยะเวลาการศึกษา 3 ป‚ ไม‹เกนิ 4 ป‚ การรบั เขŒาศกึ ษา รับจำนวน 4 คนต‹อป‚ Prospectus 34 2021

ระบบการจดั การศึกษา โดยแพทยป ระจำบาŒ นฝกƒ อบรมทส่ี ถาบนั หลกั และฝกƒ อมรบทส่ี ถาบนั สมทบ โรงพยาบาลวชริ ะภเู กต็ และโรงพยาบาล ขอนแก‹น เปšนระยะเวลา 2 ป‚ และศึกษาต‹อหลักสูตรปร�ญญาโทสาขาสาธารณสุข ว�ศวกรรมการประเมินและความปลอดภัย ยานยนต หรอ� ในสาขาทเ่ี กย่ี วขอŒ งหรอ� เทยี บเทา‹ ระยะเวลาในการศกึ ษาไมน‹ อŒ ยกวา‹ 10 เดอื น 35 Ins�tute of Preven�ve Medicine

Course of Structures • Epidemiology of Traffic-related Injury and Death • Global Road Traffic Injury: Trend, Strategy, Targets and Indicators • Economic Loss fron Road Traffic Injury (RTI) and Benefit from Traffic Injury Prevention (TIP) • Trauma and Emergency Care System • Safe System Approach to Road Safety • Traffic Govermance and Management • Traffic Injury Information System • Traffic Engineering and Road Safety Audit and Traffic Accident Investigation • Traffic Behaviors Modification • Traffic Law and Regulations and other Related Legislation • Post crash management • Area for research on Road Traffic Injury (RTI) and Traffic Injury Prevention (TIP) Prospectus 36 2021

ผนŒู ำการขบั เคลอื่ น เวชศาสตรก ารจราจร ( Residency Training in Preventive Medicine ) นพ.อำนวย กาจน� ะ ประธานกรรมการ กรรมการ นพ.ว�ทยา ชาตบิ ัญชาชัย กรรมการ กรรมการ นพ.ศภุ มิตร ชณุ หสุทธวิ ัฒน กรรมการ กรรมการ นพ.อนชุ า เศรษฐเสถยี ร กรรมการ กรรมการ นพ.อภชิ าต วชริ พนั ธ กรรมการ กรรมการ นพ.ว�ชัย สตมิ ยั กรรมการและเลขานกุ าร นพ.บุญเลิศ ศักด์ิชัยนานนท นพ.ทัปปณ สัมปทณรักษ นพ.ธวชั ชยั อิม� พ�ล รศ.สายประสทิ ธิ์ เกดิ นยิ ม นพ.สทุ ัศน โชตนะพนั ธ บรห� ารจดั การหลักสูตรฝกƒ อบรมแพทยประจำบาŒ น แขนงเวชศาสตรก ารจราจร ใหสŒ อดคลอŒ งกบั เกณฑม าตรฐานเวชบณั ฑติ ศึกษาของสหพนั ธแพทยศาสตรโลก (Postgraduate Medical Education WFME Global Standards for Quality Improvement) เพ�่อขบั เคลื่อนหลกั สตู รใหเŒ ปนš ไปอยา‹ งมปี ระสิทธภิ าพ 37 Ins�tute of Preven�ve Medicine

\"ผลติ แพทยใ หมŒ คี วามเชย่ี วชาญ ดาŒ นการปอ‡ งกนั ภยั จากอบุ ตั เิ หตุ ดาŒ นการคมนาคมภายใตอŒ งคค วามรŒู ทค่ี รอบคลมุ เพอ่� ลดการสญู เสยี จากการจราจร ในปจ˜ จบ� นั และอนาคต ทจ่ี ะเพม� ขน้� อยา‹ งตอ‹ เนอ่ื ง\" Prospectus 38 2021

รายว�ชาการฝกƒ อบรม รวมระยะเวลาการฝƒกอบรมทง้ั 3 ชนั้ ป‚ ชั้นปล‚ ะ 48 สปั ดาห ( ไมน‹ ับรวมสัปดาหก ารสอบ ) 6 พน้� ฐานและหลักการของเวชศาสตรปอ‡ งกันทั่วไป สปั ดาห (Fundamental and Principle of Preventive Medicine) 4 แพทยประจำบŒาน พน�้ ฐานและหลักการของเวชศาสตรก ารจราจร สปั ดาห (Fundamental and Principle of Traffic Medicine) ชน้ั ป‚ท่ี 1 3การใหŒคำปรก� ษาระบบจราจรในมุมมองสาธารณสขุ สปั ดาห (Consultation of Traffic Systems in The Public Health Perspective) การควบคุม ปอ‡ งกัน และรกั ษาการบาดเจบ็ จากการจราจร 8 8 (Controlling, Preventing and Treating Traffic Injuries) สปั ดาห สปั ดาห ระบบคมนาคม ป˜ญหาทางการแพทยและสาธารณสขุ ท่ีสำคญั ในเวชศาสตรการจราจร (Transportation Systems, Important Medical and Public Health Problems in Traffic Medicine.) การเฝ‡าระวัง ตรวจรักษา และติดตามผบŒู าดเจ็บจากระบบจราจร 8 6 (Surveillance, Treatment and Tracking of Injured People from Traffic System) สปั ดาห สปั ดาห ว�ทยาการระบาด การเฝา‡ ระวัง สอบสวนโรคทเ่ี กยี่ วกบั การจราจร (Epidemiology, Surveillance, Investigation of Diseases Related to Traffic) 3ทกั ษะ/เจตคตขิ องว�ชาชีพและความรูŒดŒานบูรณาการ สัปดาห 2 (Professional Skills / Attitudes and Knowledge in Integration) สัปดาห 39 Ins�tute of ระเบยี บวธ� วี �จัย (Research methodology) Preven�ve Medicine

เวชศาสตรการบินท่ีเกี่ยวขŒองกับเวชศาสตรการจราจร 4 (Aviation Medicine Related to Traffic Medicine) สปั ดาห แพทยประจำบาŒ น วช� าเลอื ก (Elective) 8 ช้ันปท‚ ี่ 2 สัปดาห เวชศาสตรการจราจรระดับสูง 10 (Advance traffic medicine) สปั ดาห การฝกƒ อบรมเวชศาสตรก ารจราจรภาคปฏบิ ตั ิ 24 2 (ศลั ยกรรมทวั่ ไป ศัลยกรรมกระดูก และเวชกรรมทเ่ี กย่ี วขŒอง) สปั ดาห สัปดาห (Operative Traffic Medicine Training (General Surgery, Orthopedics and Related Medical Supplies)) ทกั ษะ/เจตคติของว�ชาชพี และความรูดŒ าŒ นบรู ณาการ (Professional Skills / Attitudes and Knowledge in Integration) แพทยป ระจำบŒาน 48 ชน้ั ปท‚ ่ี 3 สปั ดาห ปรญ� ญาโทสาขาทีเ่ ก่ยี วขอŒ ง เช‹น สาธารณสขุ วศ� วกรรม การประเมินและความปลอดภัยยานยนต (Master's Degree in Related Fields such as Public Health, Engineering, Assessment and Automotive Safety.) Prospectus 40 2021

คณาจารยแขนงเวชศาสตรก ารจราจร นพ. วท� ยา ชาตบิ ัญชาชัย, วว. สาขาศลั ยศาสตร, อว. เวชศาสตรป องกนั (เวชศาสตรจ ราจร) - ผูอŒ ำนวยการองคก ารความรว‹ มมอื ระหวา‹ ง WHO และโรงพยาบาลขอนแก‹นในดŒาน การปอ‡ งกนั อบุ ตั ิเหตุ -Policy analysis and development/ Medical Statistics -Global Status Report on Road Safety: Thailand perspective on taking action นพ. อนุชา เศรษฐเสถียร, วว. ออรโธปด กิ ส, อว. เวชศาสตรป องกัน (เวชศาสตรจ ราจร) - ผŒูทรงคุณวฒุ คิ ณะกรรมการกองทนุ เพ�่อความ ปลอดภยั ในการใชรŒ ถใชถŒ นน กระทรวงคมนาคม Method for Evaluation of Road Safety Measures 41 Ins�tute of Preven�ve Medicine

TRAFFIC MEDICINE พนั เอก นพ. สรุ จิต สุนทรธรรม, อ(อวา.ชเวีวเชวศชาศสาตสรตฉ รุก) เฉิน, อายุรศาสตร, เวชศาสตรปองกัน - ผŒูอำนวยการศนู ยแพทยภ ัยพ�บัตแิ ละฉกุ เฉินเจาŒ ฟ‡าจฬ� าภรณ Global Road Traffic Injury: Trend, strategy, Targets and Indicators พญ. ชไมพันธุ สันติกาญจน, อว. เวชศาสตรป องกนั (ระบาดว�ทยา) - ท่ีปร�กษาพเ� ศษองคก ารอนามยั โลก ภาคพ้�นเอเชียอาคเนย Epidemiology of Traffic-related Injury and Death รศ.ดร.สายประสทิ ธ์ิ เกดิ นยิ ม วศ.บ., M.Sc. Eng (Automotive Engineering), Ph.D. (Mechanical Engineering) - หัวหนŒาศนู ยว จ� ยั ว�ศวกรรมการประเมนิ และความปลอดภัย ยานยนต มหาวท� ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลŒาพระนครเหนอื Vehicle Safety Prospectus 42 2021

การศกึ ษาตอ ในระดับปร�ญญาโท ทง้ั ในและตา‹ งประเทศ ศกึ ษาตอ‹ ในระดบั ปรญ� ญาโท คณะวศ� วกรรมศาสตร หลกั สตู รวศ� วกรรมการประเมนิ และความปลอดภยั ยานยนต เพ�่อใหŒแพทยประจำบาŒ นมคี วามรเŒู รอ่� งหลกั การวจ� ยั และ เครอ่� งมอื ในการออกแบบทางวศ� วกรรม หลกั พน้� ฐานทาง ยานยนตและการประเมินคุณภาพยานยนต การยŒอนรอย อุบัติเหตุและการจำลองผูŒใชŒรถใชŒถนน รวมทั้งมาตรฐาน ยานยนตแ ละกฏระเบยี บขอŒ บงั คบั เพอ่� ประยกุ ตอ งคค วามรไŒู ปใชŒ ประโยชนในการสอบสวนโรคและภัยสุขภาพที่เกิดอุบัติเหตุใน ระบบจราจรอย‹างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยสามารถศึกษา ตอ‹ ไดทŒ ่มี หาวท� ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาŒ พระนครเหนอื หลักสูตรว�ศวกรรมการประเมินและความปลอดภยั ยานยนต เนอ่ื งจากเปนš สถาบนั การศกึ ษาทท่ี ำ MOU หรอ� มหาวท� ยาลยั ทจ่ี ดั การเรย� นการสอนในหลกั สตู ร/สาขาทเ่ี กย่ี วขอŒ ง 43 Ins�tute of Preven�ve Medicine

เสนŒ ทาง อาชพี • ผูสอบสวนอุบัติเหตุ • ทำงานในบร�ษัทเอกชน • ทำงานในบร�ษัทประกันภัย • ผูประเมินสมรรถนะของผูขับข�่ • นักบร�หารเชิงระบบ Prospectus 44 2021

Where You… LIVE LAUGH LEARN 45 Ins�tute of Preven�ve Medicine

Prospectus 46 2021

Activities during Training 47 Ins�tute of Preven�ve Medicine


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook