Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย

Published by most25149, 2021-12-12 15:24:22

Description: ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย

Search

Read the Text Version

ความสัมพันธ์ระหว่าง วรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย

วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ ยกย่องกันว่าดีมีสาระและมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คําว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของ วรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้ง วรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 วรรณคดีเป็น วรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดีมีคุณค่าสามา รถทําให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจมีความคิด เป็นแบบแผนใช้ภาษาที่ไพเราะ นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะการฟ้อนรําหรือความรู้ แบบแผนของการฟ้อนรำเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ ขึ้นด้วยความประณีตงดงามให้ความบันเทิงอัน โน้มน้าวอารมณ์และความรู้สึกของผู้ชมให้คล้อย ตามศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วยเพื่อส่งเสริมให้เกิด คุณค่ายิ่งขึ้น

ความรู้อื่นๆในหัวข้อที่ได้รับ นาฏศิลป์ถือเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันล้ำค่า ของมนุษยชาติ ควรที่มนุษย์ควรรู้จัก เข้าใจ ศึกษา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง แก่ผู้อื่น และแก่สังคมโดยส่วนรวม โดย พิจารณาว่า นาฏศิลป์มีส่วนใดบ้างในการ ดำเนินชีวิตของมนุษย์ ทั้งที่เป็นกิจกรรมส่วน ตัวและส่วนรวมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มนุษย์ ได้ใช้นาฏศิลป์เป็นกิจกรรมส่วนสำคัญส่วนหนึ่ง ของการดำรงชีวิตในเวลาปกติ และในโอกาส พิเศษอยู่ตลอดเวลา

ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับนาฏศิลป์ไทย ความรู้แบบแผนของการฟ้อนรำ เป็นสิ่งที่ มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม ให้ความบันเทิง อันโน้มน้าวอารมณ์และ ความรู้สึกของผู้ชมให้คล้อยตาม ศิลปะ ประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และ การขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิด คุณค่ายิ่งขึ้น หรือเรียกว่า ศิลปะของการ ร้องรำทำเพลง วรรณคดีไทยไม่ใช่ วัฒนธรรมทางหนังสือฝ่ายเดียว แต่เป็น ศิลปะซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กับคีตศิลป์ และนาฎศิลป์ ยากที่จะสามารถแยกออกจาก กันได้

การอนุรักษ์ สืบสานและเผยแพร่ 1.ร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปัญญาให้เหมาะสม กับยุคสมัยและเกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิต ประจำวัน 2.ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพร่และ แลกเปลี่ยนภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอย่างกว้าง ขวาง 3.การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการ สืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาของชุมชนต่างๆ เพื่อจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้อง ถิ่นอย่างต่อเนื่ อง

จัดทำโดย นางสาว สายธาร ปานเกิด ม.4/6 เลขที่ 38


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook