บทท่ี 1 : ธรรมชาตขิ องส่ิงมชี ีวติ และ การศึกษาชีววทิ ยา SLD : Smart Learning Diagram 1. บทนํา ชีววทิ ยา (Biology) 1.1 ความหมายของชีววทิ ยา ชีววทิ ยา ภาษาองั กฤษใชค้ าํ วา่ Biology มาจากภาษากรีกโบราณ 2 คาํ คือ Bios + Logos โดย Bios แปลวา่ ส่ิงมีชีวติ , Logos แปลวา่ ความคิดและเหตผุ ล ดงั น้ัน Biology จึงหมายถึง การศึกษาท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ส่ิงมีชีวติ ดว้ ยเหตุและผล ถา้ มองในแง่คาํ ศพั ทภ์ าษาไทย คาํ วา่ ชีววทิ ยา เป็ นคาํ สมาส มาจากคาํ 2 คาํ คือ ชีว+วทิ ยา ชีว แปลวา่ ชีวติ และ วทิ ยา แปลวา่ วชิ าความรู้ ดงั น้นั ชีววทิ ยา จึงหมายถึง \"วชิ าท่ีวา่ ดว้ ยการศึกษาเก่ียวกบั สิ่งมีชีวติ \" นนั่ เอง . . Q : 1. ขอ้ ใดเป็นความหมายของวชิ าชีววทิ ยาที่ถูกตอ้ งท่ีสุด 1. เป็ นวชิ าที่ศึกษาท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ส่ิงมีชีวติ ทุกชนิด 2. เป็นวิชาแขนงหน่ึงของวชิ าวิทยาศาสตร์ 3. เป็ นวิชาท่ีศึกษาท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ส่ิงมีชีวิตดว้ ยเหตแุ ละผล 4. เป็นวชิ าที่ศึกษากระบวนการรวมถึงโครงสร้างของส่ิงมีชีวิต Q : 2. วิชา ชีววิทยา มีส่วนประกอบท่ีสาํ คญั คือ 1. ความรู้เกี่ยวกบั ส่ิงมีชีวติ 2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. ความรู้เก่ียวกบั เคมี 4. ขอ้ 1 และ 2 ถูก © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 2 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 1.2 ความสําคญั ของชีววทิ ยา 1.2.1 ด้านโภชนาการ เช่น การปรุงอาหารอยา่ งไรใหม้ ีประโยชน์ ไดส้ ารอาหารครบถว้ น อะไรกินได้ กินไม่ได้ สารอาหารไหนท่ีนาํ ไปปรุงอาหารแลว้ เสื่อมสภาพ รวมไปถึงการถนอมอาหาร ฯลฯ 1.2.2 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่นการป้องกนั โรค การรักษาเยยี วยา ฯลฯ 1.2.3 การควบคมุ ศัตรูพืชและสัตว์ เช่น การกาํ จดั ศตั รูพชื โดยใหผ้ ลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ มนอ้ ยที่สุด 1.2.4 การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการป้องกนั มลภาวะของสิ่งแวดล้อม 1.2.5 การพฒั นาประเทศในทุก ๆ ด้าน ไมว่ า่ จะเป็ นดา้ นเศรษฐกิจ ซ่ึงดูแลว้ กไ็ ม่น่าจะเกี่ยวกบั วชิ า ชีววทิ ยา แทจ้ ริงแลว้ ทุกดา้ นสมั พนั ธก์ นั หมด ยกตวั อยา่ งเช่น การปลูกผลไมโ้ ดยใชค้ วามรู้ทางชีววทิ ยา สามารถเพิ่ม ผลผลิตมีกาํ ไรได้ ก็นบั วา่ ความรู้ทางชีววทิ ยา กส็ ามารถไปพฒั นาทางดา้ นเศรษฐกิจของประเทศชาติ ไดเ้ หมือนกนั รูปจาก : http://www.kroobannok.com/news_pic/p26109171241.jpg รูปจาก : http://www.tnews.co.th/html/read.php?hot_id=1200.jpg จากรูป การผ่าตดั และการกรีดยางพารา ลว้ นใช้ความรู้ ดา้ นชีววิทยาทงั้ ส้ิน Q : 3. เทคโนโลยชี ีวภาพ มีประโยชนท์ างดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข อยา่ งไร ก. การผลิตวคั ซีนป้องกนั ไขห้ วดั สายพนั ธุใ์ หม่ 2009 ข. การผลิตยาเพนิซิลลิน ค. การใชล้ ิ้นหวั ใจเทียม ง. การผลิตกระบอกและเขม็ ฉีดยา 1. ก ข ค 2. ก ข ง 3. ก ค ง 4. ข ค ง Q : 4. ขอ้ ใดเป็นคาํ นวณโดยนาํ ความรู้ทางชีววิทยามาใช้ 1. การคาํ นวณความเป็นไปไดข้ องลกั ษณะของลูกที่เกิดจากพอ่ และแม่ตาบอดสี 2. การคาํ นวณจาํ นวนรอบของกงั หนั น้าํ ท่ีพดั น้าํ เขา้ ไร่องนุ่ 3. การคาํ นวณความเร็วของน้าํ ในแมน่ ้าํ ที่ไหลจากเข่ือนแก่งเสือเตน้ 4. การคาํ นวณงานท่ีคนถือของข้ึนบนั ไดไป 5 เมตร Q : 5. เทคโนโลยชี ีวภาพ มีประโยชน์ทางดา้ นพลงั งาน อยา่ งไร 1. การผลิตแอลกอฮอลจ์ ากยสี ต์ 2. การรณรงคไ์ ม่สร้างมลพิษในอากาศ 3. การใชก้ าํ จดั แมลงโดยไม่ใชส้ ารเคมี 4. การกาํ จดั ยงุ ลาย Q : 6. ขอ้ ใดเป็นประโยชน์ขอ้ หน่ึงของการศึกษาชีววิทยา 2. ทาํ ใหป้ รุงสารเคมีในการผลิตน้าํ ยาลา้ งจานไดถ้ ูกตอ้ ง 1. ทาํ ให้รู้วิธีแกไ้ ขเบ้ืองตน้ เวลาเกิดบาดแผล 4. ถกู ทุกขอ้ 3. ทาํ ให้ประเมินความเร็วการวิ่งของสุนขั ไดแ้ มน่ ยาํ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 3 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร Q : 7. ปรากฏการณ์ทางชีววทิ ยาขอ้ ใดท่ีเป็นผลมาจากการกระทาํ ของมนุษย์ 1. น้าํ ทะเลเน่า เพราะปลาในทะเลตาย เนื่องจากมีน้าํ มนั เคลือบผิวน้าํ 2. สตั วไ์ มม่ ีท่ีอยอู่ าศยั เพราะเกิดไฟป่ า 3. มนุษยแ์ ละสตั วล์ ม้ ตายเป็นจาํ นวนมาก เนื่องจากสึนามิพดั ชายฝ่ัง 4. การเปลี่ยนจากใบเป็นหนามของตน้ กระบองเพชร Q : 8. ปรากฏการณ์ทางชีววทิ ยาขอ้ ใดท่ีไม่ไดเ้ ป็นผลมาจากการกระทาํ ของมนุษย์ 1. แมลงมีภูมิคุม้ กนั ที่แขง็ แรงต่อยาฆา่ แมลงท่ีออกใหม่เร่ือยๆ 2. ภูเขาน้าํ แขง็ ท่ีข้วั โลกละลาย เร็วข้ึนเรื่อยๆ ทุกปี 3. ตน้ ไมต้ ายที่ทบั ถมอยใู่ ตด้ ิน เปล่ียนจากเน้ือไมก้ ลายเป็นหิน 4. การสูญพนั ธุข์ องสตั วส์ งวน หลายๆชนิด Q : 9. ขอ้ ใดเป็นอาชีพท่ีเก่ียวขอ้ งกบั วิชาชีววทิ ยาโดยตรง 1. อาจารยส์ อนวชิ าชีววทิ ยา 2. นกั พนั ธุวศิ วกรรม 3. ผบู้ ริหารหา้ งขายผลไม้ 4. รัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1.3 ชีวจริยธรรม “ ชีวจริยธรรม (Bioethics)” หมายถึง การปฏิบตั ิตอ่ สิ่งมีชีวติ อยา่ งมีคุณธรรม ไม่ทาํ ร้าย หรือทาํ อนั ตรายตอ่ สตั ว์ หรือมนุษยท์ ่ีจะทดลองคน้ ควา้ หาขอ้ มูลต่างๆ เพอ่ื การศึกษาหรือวจิ ยั - ในกรณีศึกษาโครงสร้างภายในของร่างกายสตั ว์ เราจาํ เป็นตอ้ ง ผา่ ส่วนของร่างกายน้นั ๆ เราอาจใชส้ ตั วท์ ี่ตายแลว้ หรือมนุษยท์ ี่เสียชีวติ แลว้ (ในท่ีน้ีเรียกวา่ อาจารยใ์ หญ่) หรือถา้ หากจาํ เป็นตอ้ งดูการทาํ งานขณะท่ีมีชีวติ อยู่ กต็ อ้ งหลีกเล่ียง การกระทาํ ท่ีอนั ตรายตอ่ สตั วใ์ หม้ ากท่ีสุด หลีกเล่ียงการทรมานสตั ว์ (ตามขอ้ กาํ หนดในจรรยาบรรณการใชส้ ตั วท์ ดลอง) - ตระหนกั ตอ่ คุณค่าของสตั วท์ ี่นาํ มาทดลอง ซ่ึงเราตอ้ งใชส้ ตั วจ์ าํ นวนท่ีนอ้ ยท่ีสุดเพื่อใหไ้ ดค้ วามรู้ใหม้ ากที่สุด - ใชค้ วามรู้ในทางที่ดีงาม ถูกตอ้ ง ไม่ขดั ต่อกฎหมาย เช่น การผลิตอาวธุ ชีวภาพ การใชส้ ารเคมีฆ่าคน - มีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม เช่น ทดลองยากบั มนุษย์ แลว้ ตอ่ มามนุษยค์ นน้นั เกิดโรคหรือเสียชีวติ ดงั น้นั ก่อนท่ีจะทาํ การทดลองเราตอ้ งคาํ นึงถงึ ความเส่ียงที่จะตามมาดว้ ย ตวั อยา่ งถดั ไปเช่น การทดลองโคลนน่ิงมนุษย์ ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กิดปัญหาครอบครัวตามมาได้ นิยามของคาํ ต่างๆ - จรรยาบรรณ หมายถึง หลกั ความประพฤติอนั เหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพท่ี กล่มุ บุคคล แตล่ ะสาขาวชิ าชีพประมวลข้ึนไวเ้ ป็นหลกั เพือ่ ใหส้ มาชิกในสาขาวชิ าชีพน้นั ๆ ยดึ ถือปฏิบตั ิ เพอื่ รักษาชื่อเสียง และส่งเสริมเกียรติคุณ ของสาขาวชิ าชีพของตน - สัตว์ทดลอง หมายถึง สตั วท์ ี่ถกู นาํ มาเพาะเล้ียงในท่ีกกั ขงั สามารถสืบสายพนั ธุไ์ ดซ้ ่ึงมนุษยน์ าํ มาใชเ้ พ่อื ประโยชนใ์ นเชิงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ุกสาขา - ผ้ใู ช้สัตว์ หมายถึง ผใู้ ชส้ ตั วใ์ นงานวจิ ยั งานทดสอบ งานสอน และงานผลิตชีววตั ถุ ในเชิงวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยที ุกสาขา ข้อมูลนยิ ามของคาํ ต่างๆ อ้างองิ จาก : จรรยาบรรณการใชส้ ตั วเ์ พื่องานทางวิทยาศาสตร์ โดย คณะทาํ งานร่าง “จรรยาบรรณการใชส้ ตั ว”์ และ คณะอนุกรรมการกาํ กบั ดแู ลและส่งเสริมการปฏิบตั ิตาม “จรรยาบรรณการใชส้ ตั ว”์ สภาวจิ ยั แห่งชาติ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 4 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร รูปจาก : http://www.siam1.net/article-6290.html รูปจาก : http://www.nomsod.com/content/7271 รูปจาก : SCI Cover Story วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พ.ค. 2551 Q : 10. ขอ้ ใดกล่าวถึง ความหมายของ ชีวจริยธรรม ไดถ้ ูกตอ้ งที่สุด 1. การมีความเมตตาตอ่ สตั วท์ ี่จะนาํ มาทาํ การทดลอง 2. การปฏิบตั ิต่อส่ิงมีชีวิตอยา่ งมีคุณธรรม เพ่ือการศึกษาหรือวจิ ยั โดยไม่ทาํ อนั ตรายต่อสตั ว์ ถา้ ไมจ่ าํ เป็น 3. หลกั ความประพฤติอนั เหมาะสมของนกั ชีววทิ ยา โดยแสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบตั ิงาน 4. การใชส้ ตั วท์ ดลอง จาํ นวนที่น้อยท่ีสุดเพ่ือให้ไดค้ วามรู้ใหม้ ากที่สุด เพือ่ ลดความสูญเสีย Q : 11. วนั หน่ึงมีคนมาให้แพทยท์ าํ แทง้ ประเด็นใดท่ีแพทยค์ วรจะคาํ นึงเป็นอนั ดบั แรก 1. การทาํ แทง้ น้นั ผิดกฎหมาย 2. การทาํ แทง้ น้นั ผิดศีล และ จรรยาบรรณ 3. การทาํ แทง้ น้นั จะทาํ อนั ตรายแก่ผทู้ าํ แทง้ ได้ 4. การทาํ แทง้ น้นั เป็นเรื่องน่าเศร้าของสงั คมไทย Q : 12. รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข ของบประมาณกวา่ แสนลา้ นในการวิจยั ผลิตวคั ซีนป้องกนั โรคไขห้ วดั ใหญ่สายพนั ธ์ ใหม่ แตน่ ายกรัฐมนตรีไมใ่ ห้ เพราะตอ้ งนาํ เงินจาํ นวนน้ีไปดาํ เนินนโยบายอื่น อะไรเป็นสิ่งแรกที่นายกรัฐมนตรีควรตระหนกั 1. ชีวิตคนมีคา่ มากกวา่ ผลประโยชนอ์ ื่น 2. ถา้ ให้งบแก่กระทรวงสาธารณสุข แลว้ เกรงวา่ จะมีการทุจริตคอรับชนั ภายในกระทรวง 3. ถา้ ให้งบแก่กระทรวงสาธารณสุข แลว้ เกรงวา่ งบประมาณประเทศจะไมพ่ อใช้ 4. นโยบายอื่นท่ีทาํ อยนู่ ้ี กบั ชีวติ คน อะไรสาํ คญั กว่ากนั Q : 13. ขอ้ ใดเป็นปัญหาท่ีสาํ คญั ที่สุด ที่เป็นผลมาจากการโคลนน่ิงมนุษย์ 1. ปัญหาประชากรลน้ โลก 2. ปัญหาครอบครัว 3. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ 4. ปัญหาลูกท่ีเกิดมาพกิ ารไม่สมประกอบ Q : 14. หากทา่ นทาํ สตั วท์ ดลองสตั วต์ าย ระหวา่ งการทาํ การทดลอง อะไรเป็นประเดน็ แรกที่ท่านจะคาํ นึง 1. เราทาํ ผดิ กฎจรรยาบรรณการทดลองสตั วร์ ึเปล่า 2. เราทาํ อะไรผิดพลาดไปหรือไม่ 3. สตั วท์ ดลองเกิดมาเพ่ือทดลองอยแู่ ลว้ ตายไปกเ็ บิกตวั ใหม่ 4. สตั วน์ ้นั ช่างอ่อนแอเสียจริงๆ Q : 15. การนาํ ขอ้ มลู ของใครมานาํ เสนอน้นั ควรจะตอ้ งอา้ งอิงผคู้ น้ พบไวด้ ว้ ยเพราะเหตใุ ด 1. เพ่อื ใหเ้ กียรติแก่ผคู้ น้ พบขอ้ มูลน้นั ๆ 2. เพอ่ื ส่งเสริมใหผ้ คู้ น้ พบมีรายไดม้ ากข้ึน 3. เป็ นมารยาทของผนู้ าํ เสนอ 4. ถกู ท้งั ขอ้ 1 และ 3 Q : 16. ขอ้ ใดถือวา่ เป็นชีวจริยธรรม 2. การหลีกเลี่ยงการทรมานสตั ว์ 1. คาํ นึงถึงผลกระทบที่เป็นผลเสียที่เกิดจากการวิจยั ของเรา 4. ถูกทุกขอ้ 3. การนาํ ความรู้จากการทดลองมาใชใ้ นทางที่ดีงาม © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 5 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 1.4 สาขาของวชิ าชีววทิ ยา ชีววทิ ยาเป็ นวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ ประกอบดว้ ยสาขามากมาย เช่น - Acarology วทิ ยาเห็บไร (ศึกษาเกี่ยวกบั เห็บและไร) - Anatomy กายวภิ าคศาสตร์ (ศึกษาเกี่ยวกบั โครงสร้างส่วนต่างๆของส่ิงมีชีวติ ) - Bacteriology แบคทีเรียวิทยา (ศึกษาเก่ียวกบั แบคทีเรีย) - Biochemistry ชีวเคมี (ศกึ ษาเกี่ยวกบั โครงสร้างของสารชีวโมเลกลุ ในสิ่งมีชีวิต) - Biotechnology เทคโนโลยชี ีวภาพ (ศึกษาและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยดี า้ นชีววทิ ยา) - Botany พฤกษศาสตร์ (ศึกษาเก่ียวกบั พืช) - Cytology เซลลว์ ิทยา (ศึกษาเก่ียวกบั เซลล)์ - Ecology นิเวศวทิ ยา (ศึกษาเก่ียวกบั ความสัมพนั ธส์ ิ่งมีชีวติ ดว้ ยกนั และสิ่งมีชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม) - Entomology กีฏวิทยา (ศึกษาเก่ียวกบั แมลง) - Embryology คพั ภวิทยา (ศึกษาเกี่ยวกบั ตวั ออ่ นของสิ่งมชี ีวติ ) - Ethology พฤติกรรมศาสตร์ (ศึกษาเก่ียวกบั พฤติกรรมของสตั ว)์ - Evolution ววิ ฒั นาการ (ศกึ ษาเก่ียวกบั การเจริญเปล่ียนแปลงของสิ่งมีชีวิตจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั ) - Genetics พนั ธุศาสตร์ (ศึกษาเกี่ยวกบั การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของสิ่งมีชีวิต) - Helminthology พยาธิวิทยา (ศึกษาเก่ียวกบั หนอนพยาธิชนิดต่างๆ) - Icthyology มีนวิทยา (ศึกษาเก่ียวกบั ปลา) - Malacology วทิ ยาหอย (ศึกษาเกี่ยวกบั หอย) - Mammalogy วทิ ยาสตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนม (ศึกษาเกี่ยวกบั สตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยนม) - Microbiology จุลชีววทิ ยา (ศึกษาเก่ียวกบั จลุ ินทรีย)์ - Morphology สัณฐานวิทยา (ศกึ ษาเก่ียวกบั ลกั ษณะรูปร่าง โครงสร้างของร่างกาย) - Mycology เห็ดราวทิ ยา (ศึกษาเก่ียวกบั เห็ดรา) - Nutrition โภชนาการ (ศกึ ษาเกี่ยวกบั สารอาหาร และความสาํ คญั ของสารอาหาร) - Ornithology ปักษีวทิ ยา (ศกึ ษาเกี่ยวกบั นก) - Paleontology บรรพชีวนิ วิทยา (ศึกษาเก่ียวกบั ซากโบราณ) - Parasiology ปรสิตวทิ ยา (ศึกษาเก่ียวกบั ปรสิตของสิ่งมชี ีวติ ) - Phycology สาหร่ายวทิ ยา (ศึกษาเก่ียวกบั สาหร่าย) - Physiology สรีรวทิ ยา (ศึกษาเกี่ยวกบั หนา้ ที่การทาํ งานของอวยั วะในร่างกาย) - Protozology โพรโตซวั วทิ ยา (ศึกษาเกี่ยวกบั โพรโตซวั ) - Taxonomy อนุกรมวิธาน (ศึกษาเกี่ยวกบั การจดั หมวดหมู่ การต้งั ช่ือและการเรียกช่ือสิ่งมีชีวติ ) - Virology ไวรัสวทิ ยา (ศกึ ษาเก่ียวกบั ไวรัส) - Zoology สัตววทิ ยา (ศึกษาเกี่ยวกบั สตั ว)์ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผู้ใดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 6 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร Q : 17. การปราบศตั รูพชื โดยใชแ้ มลงเป็นการนาํ ความรู้ทางชีววิทยาสาขาใดมาใช้ 1. สตั ววทิ ยา 2. กีฏวิทยา 3. คพั ภวิทยา 4. นิเวศวิทยา Q : 18. การคาํ นวณความเป็นไปไดข้ องลกั ษณะสีของลูกนกที่เกิดจากแม่นกสีขาวกบั พอ่ นกสีดาํ ตอ้ งใชค้ วามรู้ทางชีววิทยาสาขาใด 1. สตั ววิทยา 2.ปักษีวทิ ยา 3. สรีรวทิ ยา 4. พนั ธุศาสตร์ Q : 19. ชีววิทยาสาขาใด ท่ีศึกษาเก่ียวกบั ความสมั พนั ธส์ ิ่งมีชีวติ ดว้ ยกนั และสิ่งมีชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม 1. ววิ ฒั นาการ 2. พฤติกรรมศาสตร์ 3. นิเวศวิทยา 4. อนุกรมวิธาน Q : 20. สาขาของวชิ าชีววทิ ยาสาขาใดที่ศึกษาเกี่ยวกบั หอย 1. Phycology 2. Zoology 3. Malacology 4. Ethology Q : 21. การนาํ ความรู้ชีววทิ ยาไปประยกุ ตก์ บั ความรู้วชิ าธรณีวทิ ยา จะตอ้ งใชค้ วามรู้สาขาใดของชีววิทยามากท่ีสุด 1. สตั วว์ ิทยา 2. บรรพชีวินวิทยา 3. ชีวเคมี 4. สณั ฐานวทิ ยา Q : 22. ถา้ เราตอ้ งการศึกษาของวฏั จกั รของไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ อยา่ งลึกซ้ึง เราควรเลือกเรียนวชิ าชีววิทยาสาขาใด 1. Nutrition 2. Taxonomy 3. Cytology 4. Ecology Q : 23. ถา้ นกั เรียนคน้ พบส่ิงมีชีวติ ใหม่ แต่ไมร่ ู้วา่ จะจดั เขา้ สู่ Kingdom ไหน Phylum ไหน นกั เรียนควรศึกษาวชิ าชีววิทยาสาขาใด 1. Physiology 2. Taxonomy 3. Paleontology 4. Ecology 2. ลกั ษณะของส่ิงมีชีวติ รูปจาก : http://www.salem.k12.va.us/staff/jwright/vocabulary/binary_fission.html ส่ิงมชี ีวติ (Organism) มีลกั ษณะพิเศษที่แตกตา่ งกบั ส่ิงไม่มีชีวติ ซ่ึงเกณฑใ์ นการแยกสิ่งมีชีวิตออกจาก ส่ิงไมม่ ีชีวติ สามารถนาํ มาสรุป ได้ 7 ประการ ไดแ้ ก่ 2.1 สิ่งมชี ีวติ มกี ารสืบพนั ธ์ุ (Reproduction) ซ่ึงลกั ษณะน้ีเป็นลกั ษณะที่สาํ คญั ท่ีสุดของสิ่งมีชีวติ เป็ นกระบวนการเพมิ่ จาํ นวนของส่ิงมีชีวติ ชนิดเดียวกนั เพ่อื ดาํ รงรักษาเผา่ พนั ธุไ์ ว้ ถา้ สิ่งมีชีวติ ไม่สืบพนั ธุ์ก็จะสูญพนั ธุ์ การสืบพนั ธุ์มี 2 แบบ คือ การสืบพนั ธ์แบบอาศยั เพศ และการสืบพนั ธแ์ บบไม่อาศยั เพศ 2.1.1 การสืบพนั ธ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction) 2.1.1.1 Binary Fission คือ การแบ่งเซลลอ์ อกเป็น 2 ส่วน พบในสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดียว เช่น Amoeba, Paramecium ฯลฯ รูปจาก : http://2.bp.blogspot.com/_v8gSg3GrNOQ/TFmZ3cY5HwI/A AAAAAAAAD0/xaRY_Ff365g/s1600/large_white-cells.jpg © 2015 All Rights Reserveรูปd.จาwกw: hwtt.pH:/o/wnwgwR.escainenOcneplihnoeto..ccoomm/medรiaูป/1จ5า7ก4:79h/vttipew://sciformix.com/printer.php?q=paramecium-reproduction&page=5 สงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 7 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 2.1.1.2 Budding คือการแตกหน่อเป็นการสร้างตวั ออ่ นแลว้ จึงทาํ ใหต้ วั ออ่ นเจริญเติบโตเอง การ สืบพนั ธุแ์ บบน้ี พบมากในสตั วช์ ้นั ต่าํ ท่ีมีโครงสร้างไมซ่ บั ซอ้ น เช่น ยสี ต์ ไฮดรา แต่กพ็ บไดบ้ า้ งในพืชบางชนิดเช่น กลว้ ย ไผ่ เป็ นตน้ รูปจาก : http://www.labtechindia.net/budding-in-hydra-1612.html รูปจาก : http://www.digitalhit.com/posters/p/3973620 รูปจาก : รูปจาก : http://tampabay365.com/budding-cactus/ http://scienceforums.com/gallery/image/2032-yeast-cells-showing-budding/ 2.1.1.3 Regeneration คือการงอกใหม่ การงอกใหมเ่ กิดจากมีการถูกตดั ชิ้นส่วน แลว้ ทาํ ใหช้ ิ้นส่วนน้นั เจริญเป็ นตวั ใหม่ เช่น การตดั ดาวทะเลเป็ น 3 ส่วน แลว้ ละส่วน ก็จะงอกใหม่ เป็ นดาวทะเล 3 ตวั รูปจาก : รูปจาก : http://www.shikshaservices.com/content/getSubMenuContent http://www.superstock.com/stock-photos-images/1566-403397 รูปจาก : http://www.kudalaut.eu/en/dph/3832/Photos-Sale/Starfish /HOW%20DO%20ORGANISMS%20REPRODUCE/193 2.1.1.4 Sporulation เป็ นการสืบพนั ธุโ์ ดยการที่เซลลแ์ บ่งนิวเคลียสแบบไมโตซิสหลาย ๆ คร้ัง จนได้ นิวเคลียสเกิดข้ึนจาํ นวนมากแลว้ แบ่งไซโตพลาสซึมมาห่อหุม้ รอบ ๆ เป็ นเซลลข์ นาดเลก็ แตล่ ะเซลลเ์ รียกวา่ “สปอร์” เม่ือ สปอร์แก่เตม็ ท่ีจะปลิวไปโดยอาศยั ลม หรือลอยไปกบั กระแสน้าํ เมอ่ื มีสภาพแวดลอ้ มเหมาะสมกจ็ ะงอกเจริญเป็ นหน่วยชีวติ ใหม่เหมือนหน่วยชีวติ ท่ีใหก้ าํ เนิด พบในส่ิงมีชีวติ ช้นั ต่าํ เช่น รูปจาก : http://regentsprep.org/regents/biology/units/reproduction/asexual.cfm รูปจาก : http://www.commanster.eu/commanster/Plants/Ferns/Ferns/Dryopteris.carthusiana.html © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 8 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 2.1.1.5 Gemmule Formation เป็ นการสืบพนั ธุแ์ บบหน่ึงอยใู่ นร่างกายของพอ่ แม่ จะเจริญเป็ นสิ่งมีชีวติ ตวั ใหม่ไดเ้ มื่อถูกปลอ่ ยออกมานอกร่างกายพอ่ แม่ พบในสิ่งมีชีวติ จาํ พวกฟองน้าํ ซ่ึงจะเกิดในฟองน้าํ จืดและฟองน้าํ ทะเล บางชนิด โดยการสร้างเจมมูลมีปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งคือแสงและอุณหภมู ิ เมื่อตวั แมต่ ายไป เจมมูลยงั คงอยรู่ อดได้ ซ่ึงจดั เป็ น ลกั ษณะการดาํ รงพนั ธุ์แบบหน่ึง การฟักตวั ของเจมมลู ไม่เก่ียวขอ้ งกบั ฤดูกาล แตเ่ ชื่อวา่ เกิดจากความตอ้ งการภายในและ ความตอ้ งการอาหาร รูปจาก : สถาพร วรรณธนวิจารณ์ และธญั ญรัตน์ ดาํ เกาะ รูปจาก : http://educationally.narod.ru/freshwaterlife1photoalbum.html 2.1.1.6 Fragmentation คือการขาดออกเป็ นทอ่ นๆ โดยธรรมชาติ นนั่ คือ พร้อมที่จะขยายเผา่ พนั ธุ์ เช่น การ fragmentation ของ Spirogyra สาหร่ายสีเขียว เป็ นตน้ 2.1.2 การสืบพนั ธ์แบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction) 2.1.2.1 การปฏสิ นธิ (Fertilization) คือการรวมตวั ของเซลลส์ ืบพนั ธข์ องเพศผแู้ ละเพศเมีย ทาํ ใหเ้ กิด ส่ิงมีชีวติ ชนิดใหม่ สิ่งมีชีวติ ช้นั สูงทวั่ ๆไป รูปจาก : Conflicting evidence for effect of tobacco on IVF outcomes รูปจาก : http://www.webmd.com/baby/slideshow-fetal-development by Sarah Guy, MedWireNews, 5/24/2201.10..2.2 Conjugation การสืบพนั ธุแ์ บบการจบั คูก่ นั เพอื่ แลกเปลี่ยนสารพนั ธุกรรม จากน้นั จึงแยกกนั และ แบ่งเซลลเ์ พิ่มจาํ นวนตามปกติ ซ่ึงสารพนั ธุกรรมที่วา่ น้นั ไม่สามารถแยกไดว้ า่ เป็ นเพศเซลลส์ ืบพนั ธ์ผหู้ รือเพศเมีย พบใน พารามีเซียม ราดาํ สาหร่ายสไปโรไจรา รูปจาก : http://biodidac.bio.uottawa.ca/Thumbnails/ PROT018B-GIF.htm รูปจาก : http://faculty.clintoncc.suny.edu © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 9 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 2.1.3 การสืบพนั ธ์แบบกง่ึ อาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ 2.1.3.1 Parthenogenesis กระบวนการที่สิ่งมีชีวติ เกิดข้ึนมาไดจ้ ากไขท่ ี่ไมถ่ ูกผสม หรือการท่ีไขไ่ มถ่ ูก ผสมเจริญเป็ นตวั ได้ ตามกระบวนการก่อนเป็ นไขจ่ ะตอ้ งผา่ นกระบวนการ meiosis เป็นขบวนการสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์ ถือวา่ เป็ นการสืบพนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ แต่เป็ นคร่ึงเดียวเพราะขาดกระบวนการปฏิสนธิ พบในสิ่งมีชีวติ ไดแ้ ก่ ผ้ึง มด ตอ่ แตนตวั ผู้ แมลงสาบบางชนิด เพล้ียออ่ นไมไ้ ผ่ Parthenogenesis จดั เป็นก่ึง Sexual เพราะมีการสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์ มี 2 แบบ คือ - Natural Parthenogenesis เกิดในธรรมชาติ พบใน ผ้ึง มด ต่อ แตน ในตวั อยา่ งน้ีจะยกตวั อยา่ งเป็ นผ้งึ ไขไ่ ม่ผสมมี n เดียว จะเป็นตวั ผู้ ส่วนไข่ที่ไดร้ ับการผสมจะมี 2n จะเป็ นตวั เมีย ส่วนใหญเ่ ป็ นผ้งึ งาน แต่จะมีบางตวั อาจจะ เป็ นผ้งึ นางพญา ซ่ึงข้ึนกบั หอ้ งที่นางพญาไปวางไข่ ถา้ เป็ นหอ้ งส่ีเหล่ียมเลก็ ๆ Worker พ่ีเล้ียงกจ็ ะเล้ยี งใหเ้ ป็ นผ้ึงงาน แตถ่ า้ เป็ นหอ้ งรูปไข่ ผ้ึงงานก็จะเล้ียงใหเ้ ป็นนางพญา ถา้ เป็ นผ้ึงตวั ผนู้ ้นั เกิดจากที่ไมผ่ สมกม็ ี n เดียว ถา้ ผ้ึงตวั เมียเกิดจากไขท่ ่ีผสม จะมี 2n เหมือนกบั มด ต่อ แตน นอกจากน้นั พบในพวก Rotifer เป็ นสตั วช์ ้นั ต่าํ และพบในแย้ ซ่ึงเป็ นสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั Parthenogenesis : - Artificial Parthenogenesis ไมเ่ กิดโดยธรรมชาติ เป็ นการกระตนุ้ โดยมนุษย์ โดยอาจใชเ้ ขม็ แทงหรือใชส้ ารเคมี เช่น หอยเมน่ กระตนุ้ ใหไ้ ขห่ อยเมน่ ที่ไมผ่ สม กระตนุ้ ใหเ้ จริญเป็ นตวั ได้ โดยไมต่ อ้ งผสมกบั สเปิ ร์ม การทาํ เช่นน้ีหาก เปรียบเทียบกบั พชื จะเรียกวา่ Parthenocarpy หรือเรียกในผลที่เกิดมาวา่ Parthenocarpic Fruit ในกรณีของพชื น้นั ผลท่ีเกิด จะไมม่ ีเมลด็ น้นั เอง ***ระวงั !! การสืบพนั ธุข์ อง ปลวก ไม่ใช่ การสืบพนั ธุแ์ บบ Parthenogenesis เหมือน ผ้ึง มด ตอ่ แตน รูปจาก : Pednoi Family รูปจาก : Apichat Ammauy ข้อมูลการสืบพนั ธ์ุ Parthenogenesis : ตาํ รา ชีววทิ ยา สตั ววทิ ยา 2 หน้า 11 โดยคณะกรรมการโครงการตาํ ราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลู นิธิ สอวน. ที่ปรึกษา โดย รศ. ดร.อษุ ณีย์ ยศยง่ิ ยวด , ผแู้ ต่งเล่ม 2 โดย รศ.สีมา ชยั สวสั ด์ิ ผศ.ผสุ ดี ปริยานนท์ และ ผศ. ดร. มาลินี ฉตั รมงคลกลุ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผู้ใดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 10 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร Q : 24. คุณสมบตั ิใดเป็นเกณฑท์ ่ีสาํ คญั ที่สุด ในการตดั สินวา่ เป็นสิ่งมีชีวติ หรือไม่ 1. มีการเจริญเติบโต 2. สามารถสืบพนั ธุ์ได้ 3. มีการตอบสนองต่อส่ิงเร้า 4. สามารถเคล่ือนท่ีไปอีกท่ีหน่ึงไดด้ ว้ ยตนเอง Q : 25. การสืบพนั ธุ์ แบ่งเป็น 2 แบบ ตามหลกั สากลไดว้ า่ อยา่ งไร 1. การสืบพนั ธุ์แบบใช้ อสุจิ กบั แบบใชไ้ ข่ 2. การสืบพนั ธุ์แบบแบ่งเป็นสองส่วน กบั แบบแบ่งเป็นหลายส่วน 3. การสืบพนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ กบั แบบไมอ่ าศยั เพศ 4. การสืบพนั ธุ์แบบปฏิสนธิภายใน กบั แบบปฏิสนธิภายนอก Q : 26. ขอ้ ใดไม่ใช่การสืบพนั ธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศ 1. Regeneration 2. Binary Fission 3. Conjugation 4. Sporulation Q : 27. ขอ้ ใดเป็นการสืบพนั ธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศ 1. Parthenogenesis 2. Conjugation 3. Fertilization 4. Gemmule Formation Q : 28. Parthenogenesis เป็นการสืบพนั ธุ์ที่พบในสตั วป์ ระเภทใด 1. ววั ควาย 2. มด ผ้งึ 3. ชา้ ง มา้ 4. สุนขั แมว Q : 29. Conjugation เป็นการสืบพนั ธุ์ที่พบส่ิงมีชีวติ ประเภทใด 1. สิ่งมีชีวิตที่มีเพศเดียว 2. ส่ิงมีชีวติ ท่ีมีสองเพศภายในตวั เดียวกนั 3. สิ่งมีชีวติ ท่ีมีสามเพศในตวั เดียวกนั 4. ส่ิงมีชีวิตที่ไมม่ ีเพศ Q : 30. Binary Fission เป็นการสืบพนั ธุล์ กั ษณะใด 2. การแตกหน่อ แลว้ สลดั ออกมา 1. การสร้างตวั อ่อนไวภ้ ายในแลว้ จึงคลอดออกมา 4. การซ่อมแซมส่วนที่ขาดไปจนเตม็ ตวั 3. การแบ่งเซลลเ์ ป็น 2 ส่วน Q : 31. เหตุใด นกั วทิ ยาศาสตร์จึงจดั วา่ ไวรัส และไวรอยด์ เป็นสิ่งมีชีวติ 1. เพราะ สามารถทาํ อนั ตรายแก่มนุษยไ์ ด้ 2. เพราะ สามารถแพร่พนั ธุ์ได้ 3. เพราะ ตอ้ งอาศยั ในเซลลส์ ่ิงมีชีวติ ในการเจริญเติบโต 4. เพราะ เป็นสิ่งมีชีวิตเหมือน แบคทีเรีย และ อะมีบา 2.2 สิ่งมชี ีวติ มกี าร Metabolism คือกระบวนการเคมที ุกอยา่ งท่ีเกิดข้นึ ภายในสิ่งมีชีวติ โดยใชเ้ อนไซมเ์ ป็ นตวั เร่งปฏิกิริยา ซ่ึงสามารถจาํ แนก ออกเป็ น 2 ประเภทใหญๆ่ ไดด้ งั น้ี 2.2.1 Anabolism เป็นส่วนหน่ึงของ กระบวนการสร้างและสลายโมเลกลุ อาหาร ในการดาํ รงอยขู่ อง สิ่งมีชีวติ ท่ีสร้างใหส้ ารประกอบมีขนาดใหญ่ข้ึน เช่น การสงั เคราะห์โปรตีนจากกรดอะมิโน การสะสมไกลโคเจนใน กลา้ มเน้ือและตบั จากกลูโคส เป็ นตน้ 2.2.2 Catabolism เป็นส่วนหน่ึงของ กระบวนการสร้างและสลายโมเลกลุ อาหาร ในการดาํ รงอยู่ ของส่ิงมีชีวติ เป็ นการสลายโมเลกลุ จากใหญใ่ หเ้ ลก็ ลง พร้อมกบั ไดพ้ ลงั งานออกมาดว้ ยในรูปสารที่เรียกวา่ ATP © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 11 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร Q : 31. ขอ้ ใดเป็นกระบวนการ Metabolism ท่ีเป็น Anabolism 1. กระบวนการการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง 2. การยอ่ ยโปรตีน 3. การขบั ถ่ายของเสีย 4. ถูกทุกขอ้ Q : 32. ขอ้ ใดเป็นกระบวนการ Metabolism ท่ีเป็น Catabolism 3. การดูดซึมน้าํ และแร่ธาตุ 4. ผิดทกุ ขอ้ 1. การหายใจระดบั เซลล์ (Cellular respiration) 2. กระบวนการสร้างสารพนั ธุกรรม Q : 33. การสงั เคราะห์สารประกอบที่มีขนาดเลก็ ลง ไดแ้ ก่ การสร้างสารพลงั งานสูง ในรูป ATP น้นั เรียกวา่ อะไร 1. Catabolism 2. Anabolism 3. Ametabolism 4. Enabolism Q : 34. ขอ้ ใดเป็นกระบวนการ Metabolism ที่เป็น Catabolism 2. กระบวนการสร้างสารพนั ธุกรรม 1. การยอ่ ยอาหาร 4. ขอ้ 1 และ 3 ถูก 3. กระบวนการเปล่ียนแป้ง ไกลโคเจน ไปเป็นน้าํ ตาล กลูโคส Q : 35. ขอ้ ใดเป็นกระบวนการ Metabolism ที่เป็น Catabolism 2. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่อนั ตราย 1. กระบวนการเปลี่ยนกลูโคสไปเป็น ไพรูเวท และ ATP 4. ผิดทกุ ขอ้ 3. การมีความรู้สึกร้อน หนาว .. 2.3 สิ่งมชี ีวติ มกี ารเจริญเตบิ โต และมพี ฒั นาการ การเจริญเติบโต หมายถึง “การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นขนาดรูปร่าง ปริมาณ ทาํ ใหม้ ีจาํ นวน เพิ่มข้ึนหรือมีการ ขยายมากข้ึน” พฒั นาการ หมายถึง “กระบวนการของการเจริญเติบโตท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งเป็ นระบบ ระเบียบ - ทางชีววทิ ยาการเจริญเตบิ โต (Biodevelopment) ตอ้ งมี 3 ลกั ษณะประกอบเขา้ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ 1. การเพิ่มจาํ นวนเซลล์ (Cell Multiplication) 2. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ (Cell Differentiation) 3. การเกิดอวยั วะและรูปร่างของส่ิงมีชีวติ (Organogenesis and Morphogenesis) รูปจาก : http://www.bothong.ac.th/Biology3/112.html -- เวบ็ ไซดข์ องโรงเรียนบ่อทองวงษจ์ นั ทร์วทิ ยา © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผู้ใดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 12 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร Q : 36. การเจริญเติบโต และพฒั นาการ มีลกั ษณะอยา่ งไร 1. การที่มีจาํ นวนเซลลเ์ พิ่มข้ึน มีการขยายมากข้ึน อยา่ งเป็นระบบ 2. การที่ส่ิงมีชีวิตสามารถปรับตวั ต่อสิ่งแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. การเปล่ียนแปลงของสรีระ ในทางที่ดีมากข้ึนในรุ่นลูก 4. ขอ้ 2 และ 3 ถูก Q : 37. ถา้ มองในแง่ของการเจริญเติบโต การที่ Spermatid เปล่ียนรูปเป็น Spermatozoa เป็นการการเจริญเติบโตลกั ษณะใด 1. Organogenesis 2. Cell Differentiation 3. Morphogenesis 4. Cell Multiplication Q : 38. Amoeba แบ่งเซลล์ เป็น 2 เซลล์ เป็นการเจริญเติบโตหรือไม่ 1. เป็น เพราะ มีการเพิม่ จาํ นวนเซลล์ จาก 1 เซลล์ เป็น 2 เซลล์ 2. ไม่เป็น เพราะ ถือวา่ เป็นการสืบพนั ธุ์ มากกวา่ แง่ของการเจริญเติบโต 3. เป็น เพราะ ถึงจะมีก่ีแลว้ กต็ าม ทา้ ยสุดแลว้ มวลสุทธิกม็ ากกวา่ เดิม ถือเป็นการขยายขนาดเซลล์ 4. ไมเ่ ป็น เพราะ อะมีบาไมม่ ีการเปล่ียนแปลงรูปร่างและเกิดอวยั วะใหม่ . 2.4 ส่ิงมชี ีวติ มกี ารตอบสนองต่อสิ่งเร้า สิ่งมีชีวติ ตอ้ งมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพื่อการเจริญเติบโต หรือเพือ่ กิจกรรมตา่ งๆในเซลล์ รวมไปถึงการหลบ ภยั อนั ตรายจากส่ิงอนั ตรายต่างๆ การตอบสนองน้ีเอง ทาํ ใหส้ ่ิงมีชีวติ สามารถปรับตวั กบั ส่ิงแวดลอ้ มตา่ งๆ ได้ รูปจาก : รูปจาก : http://www.bloggang.com/data/suandokmai/picture/1112395663.jpg http://www.klongdigital.com/gallery/detail.php?pic=../images_webboard3/id_34598_13.jpg 2.5 ส่ิงมชี ีวติ มกี ารรักษาสมดุลภายในตนเอง (Homeostasis) สิ่งมีชีวติ ต่างๆ เมื่อทาํ กิจกรรมต่างๆ กจ็ ะใชห้ รือจะสร้างสารเคมีชนิดหน่ึงๆ เม่ือเกิดการสะสมมากๆ กต็ อ้ ง หาทางกาํ จดั ออก หรือถา้ ขาดแคลนก็ตอ้ งหาเขา้ มาเพิม่ ยกตวั อยา่ งเช่น คนวงิ่ ออกกาํ ลงั กายอยา่ งหนกั เกิดการใชอ้ อกซิเจน ปริมาณมาก ทาํ ใหข้ าดออกซิเจนไมพ่ อ และร่างกายมีการเผาผลาญสารอาหารเพื่อสร้างพลงั งานทาํ ใหม้ ีคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดข้ึนจาํ นวนมาก จึงตอ้ งการกาํ จดั ออก ร่างกายจึงมีกลไก เพิม่ อตั ราการหายใจเพือ่ เพมิ่ การนาํ เขา้ ออกซิเจนและกาํ จดั คาร์บอนไดออกไซด์ เป็ นตน้ . ตวั อยา่ งการรักษาสมดุล กเ็ ช่น การรักษาสมดุลน้าํ -เกลือแร่ การรักษาสมดุลกรด-เบส การรักษาสมดุลอุณหภมู ิ การรักษาสมดุลออกซิเจน-คาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 13 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 2.6 ส่ิงมชี ีวติ มลี กั ษณะจําเพาะ (Specific Traits) สิ่งมีชีวติ ตอ้ งมีลกั ษณะจาํ เพาะ ทาํ ใหเ้ ราแยกไดว้ า่ สิ่งมีชีวติ น้ีเป็ นส่ิงมีชีวติ ชนิดไหน เช่น เมื่อเราเห็นววั กร็ ู้วา่ ส่ิงมีชีวติ น้ีคือววั เป็ นตน้ การมีลกั ษณะจาํ เพาะทาํ ใหบ้ ทบาทสิ่งมชี ีวติ ในสิ่งแวดลอ้ มน้นั แตกตา่ งกนั ไป 2.7 ส่ิงมชี ีวติ มกี ารจัดระบบ (Organization) สิ่งมีชีวติ ทุกชนิดประกอบดว้ ยหน่วยที่เลก็ ท่ีสุดคือ อะตอม (Atom)โดยหลายๆอะตอมรวมกนั เป็ น โมเลกลุ (Molecule) ซ่ึงโมเลกลุ เหลา่ น้นั กจ็ ะรวมเป็ นออร์แกเนลล์ (Organelle) ของเซลลเ์ พื่อทาํ หนา้ ที่ระดบั เซลล์ หลายๆออร์ แกเนลลร์ วมกนั เป็นเซลลต์ ่างๆ ซ่ึงมีหลายชนิดแตกตา่ งกนั ไป เซลลเ์ หล่าน้นั กร็ วมตวั กนั เป็ นเน้ือเยอ่ื (Tissue) เน้ือเยอ่ื ตา่ งๆก็ จะรวมตวั เป็นอวยั วะ (Organ) ซ่ึงทาํ หนา้ ท่ีแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะอวยั วะ หลายๆอวยั วะ รวมกนั เพ่ือทาํ งานอยา่ งเป็ นระบบ (System) เช่น ตบั ลาํ ไส้ กระเพาะ ก็จะรวมกนั ทาํ หนา้ ท่ีเป็ นระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหลายๆระบบกจ็ ะรวมกนั เป็ น ตวั สิ่งมีชีวติ (Organism) หลายสิ่งมีชีวติ ชนิดเดียวกนั เราจะเรียกวา่ ประชากร(Population) ประชากรของหลายสิ่งมีชีวติ เรา เรียกวา่ กลุม่ ของส่ิงมีชีวติ (Community) กลุม่ ของสิ่งมีชีวติ หลายกลุ่มสิ่งมีชีวติ เราจะเรียกวา่ ระบบนิเวศ (Ecosystem) และ ระบบนิเวศท้งั หมดในโลกรวมกนั เราจะเรียกวา่ ระบบนิเวศโลก หรือ โลกของสิ่งมีชีวติ (Biosphere) หรือจะเรียกวา่ ชีวภาค © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผู้ใดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 14 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร Q : 39. โครงสร้างดงั รูปถือเป็นการจดั ระบบโครงสร้างระดบั ใด 1. Tissue 2. Organ 3. System 4. Organism Q : 40. โครงสร้างดงั รูปถือเป็นการจดั ระบบโครงสร้างระดบั ใด 1. Organism 2. Population 3. Community 4. Ecosystem Q : 41. โครงสร้างดงั รูปถือเป็นการจดั ระบบโครงสร้างระดบั ใด 1. Cell 2. Organ 3. Organelle 4. Organ Q : 42. โครงสร้างดงั รูปถือเป็นการจดั ระบบโครงสร้างระดบั ใด 1. Ecosystem 2. Organ 3. System 4. Organism Q : 43. ขอ้ ใดเรียงการจดั ระบบโครงสร้างของส่ิงมีชีวิต (Specific Organization) ท่ีไมถ่ ูกตอ้ งจากเล็กไปใหญ่ 1. Organism Population Ecosystem 2. Cell Organism Biosphere 3. Organ Organism System 4. Organ System Organism Q : 44. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกนั มาอยรู่ วมกนั มากๆ เราจะเรียกวา่ อะไร 1. ประชาชน 2. ประชากร 3. ฝงู ส่ิงมีชีวติ 4. ฝงู ชน Q : 45. โครงสร้างดงั รูปถือเป็นการจดั ระบบโครงสร้างระดบั ใด 1. Organism 2. Population 3. Community 4. Ecosystem © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผู้ใดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 15 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร Q : 46. ภาพดงั กล่าวแสดงวา่ สิ่งมีชีวิตมีคุณสมบตั ิประการใด 1. การเจริญเติบโต 2. การปรับตวั 3. การสืบพนั ธุ์ 4. ขอ้ 1 และ 3 ถูก Q : 47. ภาพดงั กล่าวแสดงวา่ สิ่งมีชีวิตมีคุณสมบตั ิประการใด 1. การมีวิวฒั นาการ 2. การปรับตวั 3. การเจริญเติบโต 4. การสืบพนั ธุ์ Q : 48. ภาพดงั กล่าวแสดงวา่ สิ่งมีชีวิตมีคุณสมบตั ิประการใด \\ 2. การปรับตวั 3. การสืบพนั ธุ์ 4. ขอ้ 1 และ 3 ถกู 1. การเจริญเติบโต Q : 49. ภาพดงั กล่าวแสดงวา่ ส่ิงมีชีวิตมีคุณสมบตั ิประการใด 1. การมีววิ ฒั นาการ 2. การปรับตวั 3. การเจริญเติบโต 4. การสืบพนั ธุ์ Q : 50. ภาพดงั กล่าวแสดงวา่ สิ่งมีชีวติ มีคุณสมบตั ิประการใด 1. การปรับตวั 2. การตอบสนอง 3. การเจริญเติบโต 4. การมีระบบโครงสร้าง Q : 51. ภาพดงั กล่าวแสดงวา่ สิ่งมีชีวติ มีคุณสมบตั ิประการใด 1. การปรับตวั 2. การตอบสนอง 3. การเจริญเติบโต 4. การมีระบบโครงสร้าง © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 16 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 3. รากศัพท์ชีววทิ ยา ศพั ทใ์ นชีววทิ ยามกั จะมีรากศพั ทม์ าจากภาษาละติน และกรีกโบราณ ท้งั น้ีเพราะเป็ นภาษาที่ตายแลว้ ซ่ึงจะไม่มีการ เปล่ียนแปลงของภาษา ทาํ ใหไ้ มต่ อ้ งเปลี่ยนไปมา และนบั เป็นศพั ทท์ ่ีใชก้ นั ทวั่ โลก ศพั ทใ์ นชีววทิ ยาคาํ ๆ หน่ึง ถา้ นอ้ งๆ ไมเ่ คยรู้ไม่เคยเจอ อาจสามารถเดาความหมายจากรากศพั ทต์ ่อไปน้ี A amnio- fetal envelope arc- arch B C amoeb- change arch(ae/i)- ancient a(n)- without amphi- both arct(i/o)- north, bear baca- small berry caduci- temporary ab- away from amplex- clasping are- space baccatus- berried caec- blind abduc- lead from ampulla- flask areni- sandy baena- walking caerul- sky blue acanth- prickle amygdala- almond arg(en/lyr)- silver balan- acorn caespit- tufted acer- without horns shaped organ arthro- joint barb- beard calam- reed, aspen acetabul- vinegar cup amyl- starch artic- jointed basi- at the bottom calc- stone aceto- acid an- without artio- even-numbered bat(is) skate, ray calli- beautiful acin- cluster of grapes ana- up, back, again arundin- reed-like bdella- sucker callos callous acri- acrid, sharp anatol- east asc- sac bell- pretty calor- heat acro- summit, top Anagallis- delightful asper- rough bi- two calyx cup, chalice actin- ray anchus- bend, bay aspid- shield bi(ola)- life camp- field acust- of hearing andr- male ast(e)r- star blast- germ campanula bell ad- towards anemo- wind astrag- dice (originally bore- north cani- dog adipo- fat angi- vessel a knuckle bone) botry- small bunch of cap(it)- head adventit- coming to angul- angle ater, atra- black grapes capill- hair aegopod- goat-foot angusti- narrow Atlas= a bov- ox capsella- small box aestiv- summer ankylo- stiff jointed Titan(mythical giant) brachi- arm card- heart affer- carrying to annu- annual who supported the brachy- short carin- keel agrest- rural, wild anomo- lawless, world on his shoulders brady- slow cam- flesh agro(st)- field irregular atr(ium)- vestibule branch- gill carotid- producing al(i)- wing anser- geese Atropos= one of the brevi- short stupor alb- white ante- before Fates who cut the brizo- to nod carp- seed, wrist allant- sausage antho- flower thread of life bromo- oats, broom, cary- nut allium garlic anthro- human aur- ear, gold shadow cata- down alopec- fox anti- against, opposite austral- southern bronch- windpipe cauda- tail altissim- tall antr- cave auto- self bucca- mouth cavity cav- hollow alve- pit, socket apo- separate, from aux- grow bulbos- bulbous centi- hundred ambly- blunt aqua- water avi- bird bulla- bubble, flask ceph(al)- head ambul- walk aguilin- eagle-beaked axi- axis bullat- wrinkled cera(s)(t)- horn ammo- sand arach- spider azyg- unpaired buno- hill cerc- horns, lobes, arbor- tree bursa- pouch, purse short tail © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 17 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร cerebro- brain columella little column cycl- circular E fasc(ic)- bundle cerv- neck com- with cyno- dog fatuus- foolish, useless ch(e)ir- hand commis- sent out cyst- capsule echino- spiny feli- cat chaero- to please communis- colonial cyt- cell echis- viper fer- carry chaet- bristle commutat- changed eco- house ficar- fig-like chamae- on ground compact- compact D ecto- outside fil- thread chel- turtle compress- flattened effer- carrying away fistul- hollow, tube cheno- goose con- with dactyl- finger effusus- loosely flacc- flabby chiasm- crossing conch- shell dasy- shaggy spreading flav- yellow chil- lip condyl- knuckle deci- ten ejacul- throw out flexu- wavy chlamy- outer garment cono- cone decid- falling off elasmo- plate, flat flocculus- lock of wool chlor- green contra- opposite decuss- cross banding elat- tall fluitans- floating choan- funnel convolvo- to entwine deka- ten -ell- diminutive foen- hay chondr- cartilage copro- dung delph- womb embio- living foetid- foul smelling chord- cord cora(xlg)- raven delphis- dolphin embol- thrown in foli- leaf chorion membrane corb- basket demi- half endo- inside fontan- fountain chrom- colour cord- heart dendr- tree engy- narrow foramen- opening chrys- golden corium- leather dent- tooth ensi- sword fornix- vault chyl- fluid corn- horn derm- skin entolenter- inside fovea- shallow round chym- juice coron- crown dero- persisting eo- dawn, east depression cili- eyelash corp- body desmo- band epi- upon fruticans- shrubby ciner- ashen, grey cort- bark deut- second equi- horse, equal fund- to pour cipit- head cost- rib dextro- right erect- upright furc(ul)- fork circum- around cotyl- cup di(a)- two erythr- red cirr- tentacle crani- skull dia- through esculent- edible G (originally curl) crass- thick didym- twin ethm- sieve cl(e)ist- closed crep- shoe digit- finger eu- well, very gal- milk clad- branch cribi- sieve dino- terrible eury- wide gale- weasel clast- broken cric- ring diplo- double ex- out of gall- of France clav- key crispus curled dipso- thirst exiguus- slender gangli- knot cleid- key crist- crest dissect- deeply cut exo- outside gano- shining cleithr- bar, key crosso- fringe, tassel dodeca- twelve extens- draw out gast(e)r- stomach, clin- bed, recline cru(rals)- shank don't- tooth extra- beyond pouch cloaca sewer cruci- cross-like dors- back extrins- coming from gemin- twins coccus berry, grain crypt- hidden drom- quick running gemm- bud cochl- shell cten- comb dubi- doubtful F genu- knee, joint coel- hollow cune-wedge dulci- sweet geranium- crane col(on) large intestine cusp- lance, point duo- two fab- bean gerro- shield coll- neck cuti- skin dur- hard falc- sickle-shaped gladi- sword collat- borne together cyan- blue fallax- false glen- socket glia- glue © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 18 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร glom(er)- half of yam holo- complete, whole iso- equal ling- tongue mer- part glo(ss/tt)- tongue homo- man, same iter- passage lip- fat meso- middle glut- sticky homal- flat lith- stone meta- after gl(uly)c- sweet hormon- that which J log(y)- discourse micro- small glypt- carved, excites loph- crest milli- thousand engraved hortens- of gardens jug- yoked together lumen- cavity min- smaller gnaph- wool humus- ground jungoljunc- to bind luna- moon minim- smallest gnath- jaw hyal- glassy lupus wolf mirabile- wonderful goni- angle hydr- water K lute- yellow miss- sent gono- seed hyemal- winter lymph- clear water mito- thread gracil- slender hyo- U-shaped ket- ketone lysis- loosen mixi- mingle gram- of grass hyper- above kilo- thousand moll- soft gymn- naked hypo- beneath M monil- string of beads gyn- woman L mono- one gyr- turning I macr- large montan- of mountains labi- lips macula- spot morph- form H ichthy- fish labyrinth- tortuous magni- large motor- mover -ida- like passage maj- greater multi- many haem- blood -idae- ending of lacer- torn mala- cheek mural- walls hal- salty zoological family lacrim- tears malleus- hammer, muri- mouse hallu(x/ci)- big toe names lact- milk mallet myo- muscle, mouse hamat- hook ileum- twisted lacuna- space mamma- breast myri- countless haplo- single, simple impar- unpaired laevo- left mandib- lower jaw myx- mucous hasta(t)- spear-tip in- in, not lagena- flask manu- hand myz- sucker shape -in- diminutive lamella- leaf, layer maritim- of the sea hect- hundred -inae- ending of lan(at)- wool marsupium- pouch N heira- hawk zoological sub-family lanceol(at)- lance- masseter- chewer helios- sun names shaped mast- nipple na(rls)- nose helminth- worm incarnat- flesh lati- broad mat(e)ri- mother necro- dead helo- wart coloured lecith- egg yolk maxi- large necto- swimming hemi- half incis- cutting in lemm- skin, husk maxill- jaw nema- hair hepa(r/t)- liver incus- anvil lens- lentil, bean maxim- greatest nemoral- in woods hepta- seven inermis- unarmed leo(n)- lion meatus- passage neo- new hetero- different inflexis- rigid lepid- scale medi- medium nephr- kidney hex- six infra- under lepto- slender medull- marrow neur- nerve hibem- winter inter- between leuc- white mega- large nictitat- winking hippo- horse intra- within levator- lifter mel(l)i- honey nigr- black hirsut- hairy iod- violet lign- wood melan- black non- not hispid- bristly -iola- diminutive ligul- strap-shaped menin(x,g)- membrane nona- nine histri- actor iris- rainbow lin- line meno- moon noth- spurious © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 19 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร notho- southern operculum- little cover per(i)- through, plum- feather pusill- very small noto- back, south ophi- snake beyond pneu(mo/st)- air, lung pygo- rump nu(clx)- nut ophthalmo- eye peregrin- foreign pod- foot pyl- gate nuch- back of neck opistho- behind peri- around pogo- beard pyo- pus nucle- little nut opoter- either persic- peach polio- grey pyro- heat, fire nud- naked or- mouth petr- rock polit- polished pyrus- pear nulli- none orbi- circle phaeo- dark poll(ex)- thumb nutans- nodding orch- testicle phag- eat poly- many Q oriental- Eastern phalan(g/x)- close pons- bridge O ornith- bird formation of troops porc- pig quadr- four ortho- straight phalar- shining porphyr- purple quarter- four obtect- concealed os(ti)- mouth phanero- visible porta- gate quin(t/que)- five obturat- closed os(s/t)- bone pher- carry post- after obtusi- blunt ostrac shell phil- love potam- river R occiden- Western ot- ear phloe- tree bark potero- drinking cup occip- back of head ovi- sheep phor- carry praeco- early rach- spine oct- eight ovo- egg pho(s/to)- light pratens- in meadows radi- root odont- tooth oxys, oxus- sharp, phragm- fence pre- before ram- branching odor- fragrant pointed phren- diaphragm, prim- first ran- frog oecious- house of mind pro- in front of rapa- turnip oed- swollen P phyl- tribe proct- anus raph- seam oen- wine phyll- leaf procumbens- lying flat rect- straight oesoph- gullet pachy- thick physa- bladder profund- deep reflex- bent back officinal- used in palae- old physio- nature proliger- bear ren- kidney medicine palli(um)- mantle phyto- plant offspring repens- crawling -oid- like pallid- pale pil- hair prom- first reptans- crawling olecran- skull of palustri- in marshes pinea- pine cone proso- front retic- network elbow pan- ali pinnat- feather-shaped prostratus- lying flat retina- little net oleo- oily par(a)- near pisum- pea prot- first retro- behind, olfact- smelling parie- wall pisc- fish prunus- plum backward oligo- few parvi- little plac- plate, tablet psamma- sand rhabd- rod oliva- olive patella- small dish plagio- oblique pseud- false rhach- spine omaso- paunch patens- spreading plan- flat psycho- mind rhage- tear, rent oment- fat skin pect(or)- chest platy- flat, broad psychro- cold rhin- nose, snout omm- eye pectin- comb-like plec(o/t)- twist, pluck pter- wing, fern rhiz- root omo- shoulder ped- foot, child plesio- near ptyal- sahva rhodo- red omphalo- navel pellucid- shining pleth- full pubescens- downy rhynch- snout onto- existing through pleur- side pubi- sexually mature -rrh- flow oo- egg pene- almost plex- interwoven pulmo- lung rode- gnaw op(t)- eye pent- five plica- fold pungens- pungent rogos- wrinkled © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 20 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร rostr- beak, prow simi- monkey syn- with trachy- rough verd- green rota- tum, wheel sinus- hollow, bay syrin(glx)- pipe trago- goat veris- true rub(e)r- red sipho- tube sys- with trans- across verm- worm rumen- throat sol- sun trapez- four sided, vern- spring soma- body T table versi- various S somni- sleep trema- hole vesic- blister specios- showy tachy- fast tremulans- trembling vesper- evening, sacchar- sugar sperm- seed tact- touch tri- three western saccul- little sac sphen- wedge taenia- ribbon trich- hair vill- shaggy hair, sacr- sacred sphinct- closing talus- ankle trivialis- trivial velvet sagitta- arrow spinos- spiny tapetum- carpet troch- wheel virens- green sal- salt spondyl- vertebra tard- late trop- turning visc- organs of body sanguini- bloody squalid- squalid tarsus- ankle troph- feed cavity sapon- soapy squam- scale tect- covered tussi- cough vita- life sarc- flesh squarros- spreading at tegmen- covering vitell- yolk sativus- cultivated tips tel (e/o)- far, end U vitr- glass saur- lizard stae(rlt)- fat teleo- complete vora- devour scala- ladder sta(silt)- standing temno- cut uliginosus- in marshes vulgaris- common scalene- uneven steg- covering tenacul- holding -ul- diminutive vulp- fox scaph- anything stell- star tentor- spread like a ulo- wooly hollow, bowl, ship steno- narrow tent ultra- above X schizo- split stereo- solid tenuis- slender umbilic- navel scler- hard steril- sterile ter(ti)- three un- one xanth- yellow scop- gaze, small owl, stern- breastbone teres- round unc- hook xen- stranger broom, shadow stom- mouth tetr- four ungui- nail, claw xer- dry scut- shield strat- layer textilis- of textiles ungul- hoof, claw xiphi- sword scyph- cup strept- twisted thalam- chamber, bed urens- bum xyl- wood seba- tallow, wax strictus- upright, stiff thalass- sea uro- tail sect- cut strigos- having stiff theca- case urs- of bears Z segetum- in cornfields bristles thel- nipple, female utricul- little skin bag selen- moon stroph- turning therm- heat uv(ela)- grapes zo- animal sella- saddle, seat styl- column thero- breast, mammal zon- girdle semi- half sub- below thyreo- large shield V zyg- yoke sept- seven, wall sucr- sugar tinctori- of dyes ser(olu)- any body sulc- furrow torn- cut vagina- sheath fluid super- beyond tomentos- densely vagus- wandering serot- late supin- lying back woolly vas- vessel serrat- saw-toothed supra- above torpe- numb velum- veil set- hair sutur- seam toxo- arrow, dart ven- vein sex- six sym- with trab- beam ventr- belly ท่ีมารากศพั ท์ : http://www.biology.ualberta.ca/courses.hp/zool250/Roots/roots.A-C.htm © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 21 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 4. การศึกษาชีววทิ ยา 4.1 คุณลกั ษณะของนักวทิ ยาศาสตร์ทด่ี ี 4.1.1 เป็ นคนช่างสังเกต ช่างคดิ ช่างสงสัย : คุณสมบตั ิขอ้ น้ีสาํ คญั ท่ีสุด คุณสมบตั ิขอ้ น้ีของ นกั วทิ ยาศาสตร์ทาํ ใหเ้ กิดแนวคิดตา่ งๆนานามากมายในโลกน้ีมาแลว้ การสงั เกตของนกั วทิ ยาศาสตร์น้นั ตอ้ งสงั เกตใน สิ่งที่มีประโยชน์ ถา้ สงั เกตคนในเชิงจบั ผดิ คน อยา่ งง้ีเคา้ ไมเ่ รียกวา่ นกั วทิ ยาศาสตร์ 4.1.2 เป็ นคนมเี หตุมผี ล : นกั วทิ ยาศาสตร์ตอ้ งมีเหตมุ ีผล ไมเ่ ช่ืออะไรง่ายๆ ถา้ มีคนบอกวา่ แมวบินได้ ก็คงไม่เชื่อ ถา้ ยงั ไมไ่ ดพ้ ิสูจน์จริงม้ยั (ที่พี่ยกตวั อยา่ ง แมวบินได้ จะไดเ้ ห็นภาพชดั ๆ ) 4.1.3 เป็ นคนมคี วามพยายามและอดทน : การทดลองบางอยา่ งอาจยงุ่ ยาก ซบั ซอ้ น หรือใชเ้ วลานานในการพสิ ูจน์หรือทาํ การทดลอง นกั วทิ ยาศาสตร์ท่ีมีชื่อเสียงระดบั โลก อยา่ ง โทมสั อลั วา เอดสิ ัน เคยกล่าวในบทสมั ภาษณ์ไวว้ า่ “คาํ ว่าอจั ฉริยะในความคดิ ของผม ประกอบด้วยพรสวรรค์เพยี ง 1% ส่วนอกี 99% มาจากความพยายาม” 4.1.4 เป็ นคนมีความคดิ ริเริ่ม : ตอ้ งมิทกั ษะสร้างสรรคใ์ นการคดิ ความรู้ใหม่ หรือนาํ ของเดิมมา ประยกุ ตใ์ หเ้ กิดความรู้ท่ีเป็ นประโยชนต์ ่อมวลมนุษยไ์ ด้ รวมไปถึงการคิดริเริ่มออกแบบการทดลองที่สะดวก ง่าย เหมาะสมแก่การทดลองตรวจสอบสมมุติฐาน และแมน่ ยาํ ท่ีสุด 4.1.5 มีความรับผดิ ชอบ ซื่อสัตย์ท้งั ในการคดิ และการกระทาํ : ขอ้ น้ีก็สาํ คญั มาก เวลาทาํ การ ทดลองตา่ งๆ ถา้ ไมไ่ ดผ้ ลตามท่ีคาดไว้ เวลาบนั ทึกกต็ อ้ งบนั ทึกตามน้นั อยา่ ลาํ เอียง เพราะมนั จะทาํ ใหผ้ ิดพลาดและ เสียเวลายอ้ นมาทาํ ใหม่ ทาํ ใหเ้ สียเวลาและไมเ่ กิดประโยชน์ 4.1.6 ใจกว้างพร้อมยอมรับความคดิ เห็นผู้อื่น 4.1.7 เป็ นคนทาํ งานอย่างมรี ะบบ 4.1.8 ทาํ งานร่วมกบั ผ้อู ื่นได้ Q : 52. ในขอ้ ต่อไปน้ี สถานการณ์ในขอ้ ใด ที่แสดงวา่ บคุ คลผนู้ ้นั มีความเป็นนกั วิทยาศาสตร์สูงสุด 1. ศาสตราจารยใ์ นมหาวิทยาลยั กาํ ลงั ตรวจสอบผลการวจิ ยั ของนกั วิทยาศาสตร์รุ่นนอ้ ง 2. อาจารยก์ าํ ลงั สอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กบั นกั เรียนอยา่ งจริงจงั 3. นกั ศกึ ษากาํ ลงั ผา่ ตดั ไสเ้ ดือนในหอ้ งปฏิบตั ิการ 4. เกษตรกรกาํ ลงั ใชส้ มุนไพรชนิดตา่ ง ๆ ฉีดพน่ ตน้ ไมเ้ พื่อทาํ ลายแมลงศตั รูพืช Q : 53. ขอ้ ในต่อไปน้ีเป็นเหตุผลท่ีนกั วทิ ยาศาสตร์จะตอ้ งมีคุณสมบตั ิความซื่อสตั ยต์ อ่ ผลการทดลอง 1. จะไดไ้ ม่ผดิ พลาด 2. จะไดไ้ ม่เสียเวลายอ้ นทาํ ใหมท่ ้งั หมด 3. จะไดใ้ ห้ผอู้ ่ืนยอมรับ 4. จะไดค้ ิดอะไรไดด้ ีข้ึน Q : 54. โทมสั อลั วา เอดิสนั นกั ประดิษฐท์ ่ีสาํ คญั ของโลก ผลงานเช่น หลอดไฟ เครื่องอดั เสียง คุณสมบตั ิที่น่ายกยอ่ งที่สุด คือ 1. เป็ นคนใจกวา้ งยอมรับความคิดเห็นผอู้ ื่น 2. เป็นคนซื่อสตั ย์ มีความรับผดิ ชอบ 3. เป็ นคนมีความพยายามและอดทน 4. เป็นคนมีน้าํ ใจ อธั ยาศยั ดี © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 22 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 4.2 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process) การสืบแสวงหาความรู้ใหม่ๆน้นั มีหลกั การในการคน้ ควา้ ซ่ึงหลกั การเหลา่ น้ีมีข้นั ตอนตา่ งๆ ไมว่ า่ จะ เป็ น การสงั เกต การต้งั ปัญหา การต้งั สมมติฐาน การทดลอง การวเิ คราะหข์ อ้ มลู น้นั เราเรียกเคร่ืองมือช่วยในการ คน้ ควา้ เหลา่ น้ีวา่ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Process) 4.2.1 ข้ันตอนของกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย 5 ข้นั ตอน คือ การสงั เกต(Observation), การต้งั ปัญหา (Statement of the problem) , การต้งั สมมตุ ิฐาน (Formulation of Hypothesis), การทดสอบสมมติฐาน (Test Hypothesis) และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู (Data Analysis) *** ในหวั ขอ้ น้ีถา้ อ่านไม่รุ้เร่ือง ใหไ้ ปดูตวั อยา่ งทา้ ยหวั ขอ้ เพ่อื เพิ่มความเขา้ ใจมากข้ึน*** 4.2.1.1 การสังเกต (Observation) : ซ่ึงเป็ นคุณสมบตั ิเฉพาะตวั ของนกั วทิ ยาศาสตร์ ทาํ ใหเ้ กิดความ อยากรู้อยากเห็น อยากรู้ในสิ่งท่ีเห็นทาํ ใหเ้ กิดปัญหาตามมา การสงั เกตเป็ นการใชป้ ระสาทสมั ผสั ท้งั 5 หรืออยา่ งใด อยา่ งหน่ึง ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ปาก และการสมั ผสั กบั สิ่งท่ีจะสงั เกต การสงั เกตน้นั หา้ มอยา่ ความคิดเห็นส่วนตวั ใส่ลงไป ไมว่ า่ จะเห็น ไดย้ นิ หรือสมั ผสั ได้ อะไรกต็ อ้ งบนั ทึกอยา่ ง ที่มนั เกิดข้ึน เชน่ เราเจอขนมปังท่ีเน่าบูดมีสีดาํ เรากบ็ นั ทึกวา่ ขนมปังทเ่ี น่าบูดมสี ีดาํ แตถ่ า้ เราไปบนั ทึกวา่ ขนมปังทเ่ี น่าบูดมสี ีดาํ เน่ืองจากมเี ชื้อราเกาะอยู่ไม่ควรนาํ มารับประทาน ประโยคหลงั ไม่ใช่การสงั เกต เพราะมี ความเห็นส่วนตวั อยใู่ นประโยคดว้ ย 4.2.1.2 การต้งั ปัญหา (Statement of the problem) : การต้งั ปัญหาน้นั เกิดไดจ้ ากการสงั เกต เพราะ ความสงสยั ของตวั นกั วทิ ยาศาสตร์เอง “ปัญหา” คือประโยคท่ีเราถามเพือ่ จะหาคาํ ตอบ เป็ น เป็ นสิ่งสาํ คญั ท่ีสุดของ กระบวนการวทิ ยาศาสตร์ นกั ฟิ สิกส์ระดบั โลกชื่อวา่ Albert Einstein ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ “การต้งั ปัญหาน้นั สําคญั กว่าการ แก้ปัญหา” เพราะวา่ ถา้ สามารถกาํ หนดปัญหาไดอ้ ยา่ งชดั เจนแลว้ ผตู้ ้งั ปัญหายอ่ มมองเห็นลู่ทางท่ีจะคน้ หาคาํ ตอบได้ เรา นบั วา่ การต้งั ปัญหา เป็ นความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์อยา่ งแทจ้ ริง Q : 55. ขอ้ ใดถูกตอ้ งเก่ียวกบั การสงั เกต 1. การสงั เกตเป็นคุณสมบตั ิที่สาํ คญั ที่สุดของนกั วิทยาศาสตร์ 2. การสงั เกตทาํ ให้เกิดความอยากรู้อยากเห็น และเกิดการต้งั ปัญหาตามมา 3. การบนั ทึกขอ้ มูล ตอ้ งไม่ใส่ความเห็นของตนเองไปดว้ ย 4. ถูกทุกขอ้ Q :56. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การสงั เกต 1. ตึกเรียนมี 19 ช้นั ลกั ษณะทรงสี่เหล่ียม 2. เดก็ คนน้ีหนา้ ตาดี พแี่ บมบูน่าจะชอบ 3. แมวตวั ที่เห็นมีสีดาํ ขาส้นั หางยาว 4. หอ้ งเรียนน้ีมีหนา้ ตา่ ง 10 บาน เกา้ อ้ี 4 ตวั Q : 57. อาหารจานน้ี (ก) มีแตงกวาอยู่ 7 ชิ้น (ข) มีสีสนั สวยงามตา (ค) และรสชาติอร่อยมาก (ง) ประโยคดงั กล่าวไม่ไดบ้ นั ทึกโดยการสังเกต วลีใดท่ีบ่งบอกวา่ เป็นประโยคท่ีไม่ใช่มาจากการสงั เกต 1. ก ข 2.ก ง 3.ข ค 4.ค ง Q :58. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งเกี่ยวกบั การต้งั ปัญหา 1. การต้งั ปัญหา จะทาํ ใหร้ ู้คาํ ตอบแมน่ ยาํ ไดใ้ นอนาคต 2. การต้งั ปัญหา จะตอ้ งมีความรู้อยา่ งมากในการกาํ หนดปัญหา 3. การต้งั ปัญหา เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นของนกั วทิ ยาศาสตร์ได้ 4. ถูกทุกขอ้ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 23 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร 4.2.1.3 การต้งั สมมตฐิ าน (Formulation of Hypothesis) : สมมติฐาน คือ คาํ ตอบที่อาจเป็นไปได้ การต้งั สมมติฐานเป็ นการพยายามหาคาํ ตอบหรือคาํ อธิบายไวล้ ว่ งหนา้ แตถ่ ึงยงั ไง สมมติฐานที่เราต้งั ข้ึนมาอาจจะจริง หรือไม่จริงก็ได้ เพราะยงั ไงมนั กเ็ ป็ นแคก่ ารคาดคะเน และจะเป็ นคาํ ตอบที่ยอมรับถกู ตอ้ ง เมื่อมีการพิสูจน์ หลายคร้ัง จนเป็ นทฤษฏี การต้งั สมมติฐานมกั ใชค้ าํ วา่ ถ้า...ดังน้ัน.... ซ่ึงเราอาจจะไม่ใช่กไ็ ด้ แลว้ แตเ่ หตุ ซ่ึงหลกั การในการต้งั สมมติฐาน ตอ้ งเขา้ ใจง่าย และตอ้ งมีแนวทางแนะหนทางที่จะตรวจสอบไดด้ ว้ ยวา่ จริงเทจ็ เพยี งใด และในการคน้ หาคาํ ตอบของ ปัญหาใดๆ อาจต้งั สมมติฐานไวห้ ลายๆ สมมติฐาน เผ่อื การทดลองของเราไปเป็นไปตามคาดคะเน จะไดไ้ มต่ อ้ งเริ่ม ใหม่ เพียงแตน่ าํ สมมติฐานท่ีไดต้ ้งั ไปแลว้ ไปตรวจสอบเท่าน้นั 4.2.1.4 การทดสอบสมมตฐิ าน (Test Hypothesis) : ข้นั ตอนน้ีเป็ นการตรวจสอบสมมติฐานที่เราต้งั ไว้ อาจแค่หน่ึง หรือมากกวา่ หน่ึง สมมติฐานก็ได้ เพ่ือพิสูจน์ความจริงของสมมติฐานวา่ ถูกตอ้ งหรือไม่ วธิ ีการตรวจสอบสมมติฐานมีอยู่ 2 วธิ ี คือ การสงั เกต กบั การทดลอง โดยส่วนมาก การทดลองจะใชเ้ ป็ นวธิ ีพสิ ูจน์ ความจริงมากท่ีสุดทางวทิ ยาศาสตร์ การทดลอง ตอ้ งมีการวางแผนลว่ งหนา้ วา่ มีข้นั ตอนอยา่ งไร มีวสั ดุอะไรบา้ ง จะหาคาํ ตอบไดอ้ ยา่ งไร วเิ คราะห์ อยา่ งไร และตอ้ งกาํ หนดคา่ ตวั แปรตา่ งๆที่จะเป็ นปัจจยั ตอ่ การเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ระหวา่ งการทดลอง ตวั แปร (Variable) มี 3 ชนิด คือ - ตวั แปรต้น หรือ ตวั แปรอสิ ระ คือ ปัจจยั ท่ีทาํ ใหเ้ กิดผลการทดลองน้นั ๆ - ตวั แปรตาม คือ ปัจจยั ท่ีเกิดมาจากตวั แปรตน้ เม่ือตวั แปรตน้ เปลี่ยนไป คา่ ตวั แปรตามก็จะเปลี่ยนดว้ ย - ตวั แปรควบคมุ คือ ปัจจยั อื่นๆ ท่ีนอกเหนือจากตวั แปรตน้ ที่มผี ลต่อการทดลอง ทาํ ใหก้ ารทดลอง ผดิ พลาดไป ดงั น้นั ในการทดลองหน่ึงๆ ถา้ เราจะเปรียบเทียบการทดลองใดๆ เราจะตอ้ งต้งั กลุ่มการทดลองไว้ 2 กลุ่ม คือ กลุม่ ควบคุม และกลุ่มทดลอง โดยที่คา่ ควบคุมตวั แปร ซ่ึงมีผลทาํ ใหก้ ารทดลองน้นั ผดิ พลาดไปเท่ากนั ท้งั 2 กลุ่ม 4.2.1.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล (Data Analysis) : เป็นข้นั ตอนสุดทา้ ย ซ่ึงผา่ นข้นั ตอนการทดสอบ สมมติฐานแลว้ ดงั น้นั ในข้นั ตอนน้ีเราจะไดข้ อ้ มูล หรือ ขอ้ เทจ็ จริงแลว้ ซ่ึงจะตอ้ งนาํ มาวเิ คราะห์และสรุปความสมั พนั ธ์ ของขอ้ มูลท้งั หมด ซ่ึงจะเป็นคาํ ตอบของปัญหาที่เราไดต้ ้งั ข้ึนไวแ้ ลว้ ขา้ งตน้ ถา้ สมมตุ ิฐานใดตรงหรือสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู น้ี กส็ ามารถต้งั เป็ นทฤษฏีที่จะนาํ ไปสามารถอา้ งอิงตอ่ เหตกุ ารณ์ตา่ งๆที่เกี่ยวขอ้ งได้ เราอาจใชต้ วั ช่วยในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลผลการทดลอง เราอาจจะนาํ รูปการบนั ทึกขอ้ มลู แบบท่ีดูง่ายต่างๆได้ ดงั น้ี 1. แผนภูมิ วงกลม 2. ตาราง 3. กราฟ รูปจาก : http://teenet.tei.or.th/DatabaseGIS/type_industry.html รูปจาก : http://aenvi.blogspot.com/2010/07/2.html © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com รูปจาก : http://oldforum.serithai.net/index.php?topic=19926.0 สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 24 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร . ตวั อย่าง การศึกษาหาข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์ตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เมื่อเราตอ้ งการศึกษา ระดบั ความเขม้ แสงมีผลตอ่ อตั ราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืชหรือไม่ เราสามารถหา ขอ้ เทจ็ จริงตามข้นั ตอนกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ดงั ต่อไปน้ี 1. กาํ หนดปัญหา : ระดบั ความเขม้ แสงมีผลต่ออตั ราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื หรือไม่ 2. ต้งั สมมตฐิ าน : - ถา้ ใบของตน้ พชื รับ แสงที่มีระดบั ความเขม้ มาก ดงั น้นั อตั ราการสงั เคราะห์แสงมาก - ถา้ ใบของตน้ พชื รับ แสงท่ีมีระดบั ความเขม้ นอ้ ย ดงั น้นั อตั ราการสงั เคราะห์แสงนอ้ ย - ถา้ ใบของตน้ พืชรับ แสงท่ีมีระดบั ความเขม้ นอ้ ย ดงั น้นั อตั ราการสงั เคราะห์แสงมาก - ถา้ ใบของตน้ พืชรับ แสงท่ีมีระดบั ความเขม้ นอ้ ย ดงั น้นั อตั ราการสงั เคราะห์แสงมาก - ไม่วา่ ใบของตน้ พืชรับ แสงท่ีมีระดบั ความเขม้ หรือนอ้ ย มาก จะไม่มีผลตอ่ อตั ราการสงั เคราะห์แสง *** สมมติฐานขา้ งตน้ เราสามารถคาดคะเนก่อนไดว้ า่ ผลจะเป็ นไปตามทิศทางใดไดบ้ า้ ง โดยที่สมมติฐานจะไม่ ถูกตอ้ งเสมอไป และสามารถต้งั สมมติฐานทีเดียวหลายสมมติฐานได้ จะไดไ้ มต่ อ้ งเร่ิมตน้ ใหมท่ ้งั หมด *** . 3. ตรวจสอบสมมตฐิ าน : 3.1 แบ่งการทดลองเป็ น 2 กล่มุ คือ - กลุ่มทดลอง : นาํ ตน้ ไม้ 2 ตน้ อยใู่ นที่ท่ีมีความเขม้ แสงต่างกนั โดยตน้ หน่ึงอยใู่ นที่ท่ีมีความเขม้ แสงมากๆ และอีก ตน้ หน่ึง ไปอยใู่ นท่ีท่ีมีความเขม้ แสงนอ้ ยๆ - กลุ่มควบคมุ : นาํ ตน้ ไม้ ไปอยใู่ นท่ีท่ีมีระดบั ความเขม้ แสงปกติ (แสงอาทิตย)์ 3.2 กาํ หนดตวั แปร 3 ชนิด คือ - ตวั แปรต้น : ระดบั ความเขม้ แสง - ตวั แปรตาม : อตั ราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง (ซ่ึงเราจะใชว้ ธิ ีการหาปริมาณแป้งในใบ) - ตวั แปรควบคมุ : ชนิดพนั ธุ์ตน้ พืช น้าํ หนกั ตน้ พืช อณุ หภมู ิ ปริมาณคาร์บอนไดออกไซดใ์ นอากาศ ปริมาณน้าํ และ คา่ กรด-เบส ในดิน และระยะเวลาที่ใชใ้ นการทาํ การทดลอง 4. ข้ันแปลและสรุปผล : เม่ือเราทาํ การทดลองเสร็จสมบูรณ์แลว้ จากการทดลองเราจะพบปริมาณแป้งในใบตน้ พชื มาก ในชุดการทดลองที่ไดร้ ับระดบั ความเขม้ แสงมาก และ พบปริมาณแป้งในใบตน้ พืชนอ้ ย ในชุดการทดลองที่ไดร้ ับ ระดบั ความเขม้ แสงนอ้ ย ทาํ ใหเ้ ราสรุปผลและตอบคาํ ตอบของปัญหาท่ีเราต้งั ไวข้ า้ งตน้ ไดว้ า่ ระดบั ความเข้มแสงมผี ล ต่ออตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และเราสามารถต้งั เป็ นทฤษฏีไดด้ ว้ ย เพราะวา่ ทดลองกี่คร้ังๆก็ไดผ้ ลเช่นกนั ทมี่ ารูปกราฟ http://www.maceducation.com/ e-knowledge/2342203100/05.htm © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 25 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร อธิบายเพมิ่ เตมิ จากตวั อย่างข้างต้น : - จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ น้นั เราจะเห็นวา่ เราต้งั สมมติฐานไวห้ ลายสมมติฐานไวก้ ่อนหนา้ น้ีแลว้ เผอ่ื การ ทดลองไมต่ อ้ งจะไดไ้ มต่ อ้ งเสียเวลาเร่ิมใหม่ - เหตผุ ลที่เราจะตอ้ งมีชุดการทดลองควบคุม เพราะวา่ ถา้ ไม่มีแลว้ เราจะไมส่ ามารถรู้ไดเ้ ลย วา่ ปริมาณ ความเขม้ แสงท่ีมากข้ึน ทาํ ให้ อตั ราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงมากข้ึนกวา่ ปกติเท่าไหร่ - ตวั แปรที่ควบคุมดงั กลา่ วน้นั ถา้ เราไม่ควบคุมมนั ใหเ้ ท่ากนั การทดลองกจ็ ะผดิ พลาดไป เพราะ ปัจจยั ดงั กลา่ วน้นั มีผลต่อการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงดว้ ยกนั ท้งั สิ้น ไม่วา่ จะเป็ น อุณหภูมิ ปริมาณคาร์บอนไดออกไซดใ์ นอากาศ เป็ นตน้ ดงั น้นั เราจึงตอ้ งควบคุม ปัจจยั ต่างๆเหล่าน้ีใหค้ งท่ี เพ่อื การทดลองที่แม่นยาํ Q : 59. สงั เกต เช้ือราบนรากพืช แลว้ ต้งั ปัญหาวา่ ราทาํ อนั ตรายตอ่ พืชเหมือนราท่ีเป็นโรคในคนหรือไม่ สิ่งที่ควรทาํ ต่อไปคือ 1. แยกเช้ือราจากพืชแลว้ ใส่เช้ือเขา้ ไปในสตั วท์ ดลอง 2. ต้งั สมมติฐานวา่ รากจากพืชมีผลทาํ ใหเ้ กิดโรคกบั พืชเช่นเดียวกบั ทาํ ใหเ้ กิดโรคกบั คน 3. ต้งั สมมติฐานดงั ขอ้ 2 และตรวจสอบสมมติฐานโดยใส่เช้ือราเขา้ ไปในสตั วท์ ดลอง 4. ต้งั สมมติฐานดงั ขอ้ 2 และตรวจสอบสมมติฐานโดยใส่เช้ือราลงในพืชเทียบกบั การเติบโตกบั ตน้ ที่ไมใ่ ส่เช้ือ Q : 60. เราต้งั สมมติฐานเพือ่ 1. อธิบายปัญหาและทาํ การทดลองพิสูจน์ขอ้ เทจ็ จริง 2. เพอ่ื ต้งั เป็นทฤษฎีใหม่ 3. เพอ่ื หาขอ้ มลู ที่เก่ียวขอ้ ง 4. เพ่ือทดสอบผลการทดลองวา่ เป็นจริงหรือไม่ Q : 61. นกั เรียนตอ้ งการพสิ ูจน์สมมติฐานเรื่อง แสงสวา่ งจาํ เป็นต่อการดาํ รงชีวติ ของพืช นกั เรียนตอ้ งทาํ การทดลองดงั น้ี 1. ปลูกพชื ท้งั หมดในกระถางเดียวกนั วางไวใ้ นที่ที่มีแสงสว่างตามธรรมชาติ 2. ปลกู พชื เป็น 2 กลุ่ม โดยควบคุมทกุ อยา่ งให้เหมือนกนั กลุ่มแรกวางไวใ้ นที่มีแสงสวา่ ง อีกกลุ่มวางไวใ้ นที่มืด 3. ปลูกพชื กลุ่มเดียวกนั แต่ควบคุมให้มีแสงสวา่ งตลอด 24 ชว่ั โมง 4. ปลูกพชื 2 กลุ่ม กลุ่มแรกวางไวใ้ นท่ีมีแสงสวา่ ง อีกกลุ่มวางไวใ้ นท่ีมืด แลว้ สลบั กลุ่มทกุ 24 ชวั่ โมง จงใช้ข้อมูลในตารางตอบคาํ ถาม 62-63 มนั ฝร่ังชิ้นที่ เวลาท่ีแช่ในสารละลาย 2.5 % โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ระยะทางการแพร่ของสาร (นาที) 10 0 2 20 1 3 40 2 4 60 3 5 80 4 Q : 62. การวดั ผลในตารางไดม้ าจากการต้งั ปัญหาในขอ้ ใด 1. มนั ฝร่ังกบั การแพร่ของสาร 2. ระยะเวลากบั การแพร่ของสาร 3. ความเขม้ ขน้ ของสารละลายกบั การแพร่ของสาร 4. สารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตกบั การแพร่ของสาร Q : 63. จากการทดลอง ตวั แปรที่ควบคุมคือ ขอ้ ใดที่กาํ หนดให้ดงั ต่อไปน้ี ก. ขนาดมนั ฝร่ัง ข. ระยะเวลาในการแช่ ค.ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย ง. ปริมาณของสารละลาย 1. ก, ข, ค 2. ก, ค, ง 3. ก, ข, ง 4. ข, ค, ง © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 26 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 4.3 ความรู้ (Knowledge) ความรู้มีระดบั ซ่ึงแบ่งเป็ น 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จริง ทฤษฏี และกฎ ซ่ึงลว้ นเป็ นขอ้ มูลที่ไดม้ าจาก การหาคาํ ตอบโดยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ของนกั วทิ ยาศาสตร์ท้งั สิ้น 4.3.1 ข้อเทจ็ จริง (Fact) คือปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริงๆ ถกู ตอ้ งเสมอ แตก่ ารสงั เกตผดิ พลาดได้ เช่น สิ่งของถา้ ปล่อยใหต้ กอิสระ จะตกลงสู่พ้ืนโลก สงั เกตอาจผดิ พลาดไดเ้ ชน่ สิ่งของน้ีตกเร็วหรือชา้ ซ่ึงไมม่ ีเกณฑต์ ดั สินแน่นอน 4.3.2 ข้อมูล (Data) คือขอ้ เทจ็ จริงที่รวบรวมได้ ซ่ึงส่วนใหญ่ไดม้ าจากการทดลอง 4.3.3 ทฤษฎี (Theory) คือคาํ อธิบายที่ไดม้ าจากการตรวจสอบสมมติฐานหลายคร้ังหลายหน จนสามารถนาํ ไป อา้ งอิง หรือเดาเหตุการณ์ที่คลา้ ยคลึงกนั ได้ ทฤษฎีน้นั สามารถเปลี่ยนแปลงไดถ้ า้ เกิดการทดลองใดการทดลองหน่ึงมีผล ขดั แยง้ หรือมีหลกั ฐานท่ีบ่งช้ีไดช้ ดั กวา่ ตวั อยา่ งทฤษฎีเช่น ทฤษฎียนี ทฤษฎีเซลล์ ทฤษฎีโครโมโซม ทฤษฎีววิ ฒั นาการ ทฤษฎีประชากรของมอลทลั ทฤษฎีกาํ เนิดส่ิงมีชีวติ 4.3.4 กฎ (Law) ความจริงพ้ืนฐาน (Principle) โดยเป็ นความจริงที่จริงเสมอ ไมม่ ีขอ้ โตแ้ ยง้ และมีผล เหมือนเดิมทุกคร้ัง มคี วามจริงในตวั ของมนั เอง ตวั อยา่ งกฎทางชีววทิ ยา เช่น กฎแห่งความตอ้ งการต่าํ สุดของลีบิก กฎแห่ง ความทนทานต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงของเชลฟอร์ด กฎการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของเมนเดล Q : 64. “พืชเอียงเขา้ หาแสงเพราะตอ้ งการแสงในกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง” คาํ กล่าวน้ีจดั เป็น 1. การต้งั สมมติฐาน 2. ขอ้ เทจ็ จริง 3. เหตุและผลท่ีถูกตอ้ ง 4. ประโยคหลงั ไม่ไดอ้ ธิบายปรากฏการณใ์ นประโยคแรก Q : 65. สิ่งมีชีวิตประกอบข้ึนมาดว้ ยเซลล์ คาํ กลา่ วน้ีเป็น 1. ขอ้ เทจ็ จริง 2. ขอ้ สรุป 3. ทฤษฎี 4. หลกั การ Q : 66. จากการศึกษาอตั ราการงอกของเมลด็ เปรียบเทียบกนั ระหวา่ ง 3 ชนิดพบวา่ พืช ก งอกท้งั สิ้น 500 เมลด็ พืช ข งอกท้งั สิ้น 340 เมลด็ พืช ค งอกท้งั สิ้น 467 เมลด็ ตวั เลขบอกอตั ราการงอกคือ 1. ผลจากการทดลอง 2. ขอ้ มูล 3. ขอ้ เทจ็ จริง 4. ทฤษฎี Q : 67. เมื่อนกั ชีววิทยาทาํ การทดลองผสมพนั ธุเ์ สือกบั สิงโตไดล้ ูกออกมาแขง็ แรง ผลงานน้ีจะมีการรับรองวา่ เป็นจริงเมื่อ 1. มีงานวจิ ยั อื่นยนื ยนั วา่ การผสมขา้ มพนั ธุท์ าํ ได้ 2. สามารถต้งั ช่ือวทิ ยาศาสตร์ใหก้ บั ลกู ท่ีเกิดจากการผสมน้ีได้ 3. การผสมพนั ธุม์ ีตวั เปรียบเทียบ 4. นกั วิจยั อ่ืนทาํ ซ้าํ การผสมพนั ธุเ์ สือกบั สิงโตไดล้ ูกเช่นเดียวกนั กบั การทดลองเดิม Q : 68. สมมติฐานและทฤษฎีแตกตา่ งกนั อยา่ งไร 1. สมมติฐานไม่เป็นจริง แต่ทฤษฎีเป็นจริงเสมอ 2.สมมติฐานทดลองได้ แตท่ ฤษฎีไม่มีการทดลองแลว้ 3. สมมติฐานเป็นการคาดคะเน ส่วนทฤษฎีเป็นสมมติฐานที่ทาํ การทดลองและเชื่อถือไดแ้ ลว้ 4. สมมติฐานและทฤษฎีใชแ้ ทนกนั ได้ เพราะเป็นส่ิงท่ีอธิบายเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ไดเ้ หมือน ๆ กนั © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 27 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร Q : 69. สมมติฐานท่ีตรวจสอบและทดลองหลายคร้ังว่าถูกตอ้ ง เรียกวา่ 1. กฎ ( Law ) 2. หลกั เกณฑ์ ( Concept ) 3. ขอ้ สรุป ( Conclusion ) 4. ทฤษฎี ( Theory ) Q : 70. คาํ กล่าวต่อไปน้ี “ สิ่งมีชีวิตประกอบดว้ ยเซลลแ์ ละผลิตภณั ฑข์ องเซลล์ ” เป็นอะไร 1. ขอ้ เทจ็ จริง 2. สมมติฐาน 3. ทฤษฎี 4. หลกั เกณฑ์ Q : 71. นกเคา้ แมวไมส่ ามารถยอ่ ยสตั วท์ ่ีมนั กินเป็นอาหารไดห้ มดท้งั ตวั ดงั น้นั ในแตล่ ะวนั นกเคา้ แมวจะสาํ รอกส่วนท่ียอ่ ย ไมไ่ ดอ้ อกมาทางปาก เช่น ขนของเหยอ่ื กระดูก กระดูกอ่อน เป็นตน้ จากการสาํ รอกส่ิงต่าง ๆ ท่ีนกเคา้ แมวสาํ รอกออกมา นกั สาํ รวจจึงสามารถบอกไดถ้ ึง 1. เหยอื่ ที่นกเคา้ แมวชอบ 2. โรคท่ีนกเคา้ แมวเป็น 3. ส่ิงมีชีวิตท่ีนกเคา้ แมวกิน 4. ตน้ ไมท้ ่ีนกเคา้ แมวชอบกิน Q : 72. ศึกษาอตั ราการขยบั แผน่ เหงือกของปลาน้าํ จืดชนิดหน่ึงท่ีจดั ไวใ้ นน้าํ อุณหภมู ิต่าง ๆ กนั ไดผ้ ลการทดลองดงั ตาราง กลุ่มท่ี จาํ นวนปลา อุณหภมู ิ (˚C) อตั ราการขยบั แผน่ เหงือกของปลา/นาที 15 10 15 26 15 25 34 18 30 47 20 38 56 23 60 64 25 57 74 27 25 จากตารางการทดลองท่ีไดจ้ ะแสดงผลความเก่ียวขอ้ งของกราฟในขอ้ ใด . Q : 73. นกั วิทยาศาสตร์คนหน่ึงทาํ การทดสอบสมมติฐาน”กวางหางขาวชอบกินแอปเปิ้ ลมากกวา่ ขา้ วโพด”หลงั จากขอ้ ความ เก่ียวกบั การทดสอบสมมติฐานน้ีถูกตีพิมพเ์ ผยแพร่ออกไปสรุปว่า กวางชอบแอปเปิ้ ลมากกวา่ ขา้ วโพด เทคนิคในการทดสอบ ขอ้ ใดอาจมีขอ้ สงสยั ในการทดสอบ 1. นกั วิทยาศาสตร์ใชก้ วาง 4 ตวั ในการทดสอบต่างเวลาและต่างสถานท่ีในแตล่ ะวนั 2. นกั วิทยาศาสตร์ใชก้ วางท้งั หมด 500 ตวั ในการทดสอบในสถานท่ีต่าง ๆ 20 แห่งในเวลาท่ีแตกต่างกนั ของแตล่ ะวนั 3. นกั วทิ ยาศาสตร์ใชก้ วาง 200 ตวั ในที่ตา่ ง ๆ ตามธรรมชาติแต่ไม่ใช่ในที่กกั ขงั 4. นกั วิทยาศาสตร์ใชก้ วาง 300 ตวั ในการทดสอบในสถานท่ีกกั ขงั ที่แตกต่างกนั ซ่ึงไมไ่ ดอ้ ยใู่ นธรรมชาติ Q : 74. สมมติวา่ ไก่ที่นกั เรียนเล้ียงไวท้ ่ีบา้ นเกิดอาการทอ้ งเสีย นกั เรียนใชว้ ิธีการของ Robert Koch เพอ่ื พสิ ูจนว์ า่ อาการ ทอ้ งเสียของไก่เกิดจากแบคทีเรีย A เม่ือแยกแบคทีเรีย A ออกมาเป็นเช้ือบริสุทธ์ิไดแ้ ลว้ จึงป้อนแบคทีเรียน้ีเขา้ ไปในไก่ตวั ใหม่ ปรากฏวา่ ไมเ่ กิดอาการทอ้ งเสีย นกั เรียนคิดวา่ เป็นเพราะอะไร 1. แบคทเี รีย A ไมใ่ ช่ตวั การที่ทาํ ใหเ้ กิดทอ้ งเสีย 2. การทาํ ใหเ้ กิดโรคของแบคทีเรีย A ถูกตา้ นโดยบางอยา่ งในไก่ 3. อาจมีการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนในแบคทีเรีย A 4. เป็นไปไดท้ กุ ขอ้ Q : 75. ในการปลกู มะเขือเทศในไร่แห่งหน่ึง ปรากฏวา่ มะเขือเทศเจริญเติบโตไม่ดี ผปู้ ลูกต้งั สมมติฐานวา่ ดินท่ีใชป้ ลูกมะเขือ เทศเป็ นกรดมากเกินไป ผปู้ ลูกจะทาํ การทดสอบสมมติฐานไดต้ ามขอ้ ใด 1. ใชเ้ มล็ดพืชหลายชนิดปลูก 2. ยา้ ยตน้ มะเขือเทศไปปลูกในที่มีแสงสวา่ งน้อยลง 3. หาวธิ ีเปล่ียน pH ของดินท่ีปลูกมะเขือเทศ 4. ลดปริมาณการให้น้าํ กบั มะเขือเทศ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสทิ ธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 28 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร Q : 76. ฝนกรดมี pH อยรู่ ะหวา่ ง 1.5 – 5.0 ผลที่เกิดจากฝนกรดและสิ่งแวดลอ้ มข้ึนกบั ชนิดของสิ่งแวดลอ้ มแตฝ่ นกรด มีผลลบกบั พืช จากรูปแสดง pH ของฝนปกติ ข้อใดใช้เป็ นสมมติฐานทใ่ี ช้ทดสอบต้นถว่ั กบั ฝนกรด 1. เมื่อคา่ pH เพ่มิ ข้ึนจากฝนกรดตน้ ถว่ั จะเจริญเติบโตไดเ้ ร็วข้ึน 2. ตน้ ถวั่ จะเจริญไดด้ ีในฝนปกติมากกวา่ ฝนกรด 3. ตน้ ถวั่ จะเจริญไดด้ ีในฝนกรดมากกวา่ ฝนปกติ 4. ขอ้ 1 และ 2 ถูก Q : 77. จากสมมติฐานในขอ้ 76 อะไรเป็นตวั แปรอิสระ 1. pH 2. ความยาวของราก 3. ความยาวของลาํ ตน้ 4. ขอ้ 2 และ 3 ถูก Q : 78. นกั เรียนคนหน่ึงทดลองเพาะเมลด็ ถว่ั เพอ่ื ทราบความช้ืนที่เหมาะสมตอ่ การงอกของเมลด็ ถว่ั โดนเฉพาะเมลด็ ในจาน แกว้ ท่ีรองกน้ ดว้ ยกระดาษกรองแลว้ ให้น้าํ ปริมาณตา่ ง ๆ กนั จนมีความช้ืนในระดบั ตา่ ง ๆ ดงั รูป ผลปรากฏวา่ เฉพาะในจาน 2, 4, 5, 7 เทา่ น้นั ท่ีงอก ขอ้ ใดสรุปถูกต้อง 1. ความช้ืนที่เหมาะสมคือ 10% 20% 25% 35% 2. ความช้ืน 5% 15% 30% ไม่เหมาะสมตอ่ การงอกของเมล็ดถว่ั 3. ความช้ืนท่ีเหมาะสมตอ่ การงอกของเมลด็ ถว่ั คือ 10% - 35% 4. ยงั สรุปไม่ได้ Q : 79. นกั วิชาการทา่ นหน่ึงตอ้ งการทราบว่าดินในบริเวณหน่ึงมีสารอาหารประเภทไนเตรตเป็นปัจจยั จาํ กดั ในการเจริญของ พืชชนิดหน่ึงหรือไม่ จึงทดลองเอาดินจากบริเวณน้นั ใส่กระถาง ๆ ละเทา่ ๆ กนั ใส่ป๋ ยุ ไนเตรตไม่เท่ากนั ในแตล่ ะกระถาง ไดผ้ ลคือ ตน้ ไมเ้ จริญเทา่ กนั ทกุ กระถาง ดงั แสดงในภาพ ขอ้ สรุปขอ้ ใดถูก 1. สารอาหารไนเตรตไมเ่ ป็นปัจจยั จาํ กดั ในท่ีน้ี 2. สารอาหารไนเตรตเป็นปัจจยั จาํ กดั ในท่ีน้ี 3. การทดลองน้ีไม่มีซ้าํ จึงสรุปไมไ่ ด้ 4. การทดลองน้ีไมม่ ีการทดลองควบคุม สรุปไมไ่ ด้ Q : 80. สิ่งสาํ คญั ที่ทาํ ใหง้ านทางวทิ ยาศาสตร์แตกต่างจากงานดา้ นอื่น ๆ คือขอ้ ใด 1. การช่างสงั เกตและต้งั สมมติฐาน 2. เจตคติและองคค์ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ 3. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4. การทาํ การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ Q : 81. ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการทดลองท่ีมีการควบคุมจะมีประโยชน์ในการตดั สินใจวา่ 1. ขอ้ มูลที่รวมรวบไดน้ ้นั ใชไ้ ดเ้ พยี งใด 2. สมมติฐานน้นั ถกู ตอ้ งหรือไม่ 3. ปัญหาท่ีคิดข้ึนถูกตอ้ งเพยี งใด 4. ทฤษฎีท่ีกาํ หนดน้นั ถูกตอ้ งหรือไม่ Q : 82. การตรวจเลือดเพอ่ื หาไวรัสท่ีเก่ียวกบั AIDs เป็นข้นั ตอนใด 1. การบาํ บดั 2. การวนิ ิจฉยั โรค 3. การรักษา 4. การป้องกนั © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 29 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร จากตารางข้างล่างใช้ตอบคําถามข้อ 83-85 สปี ชีส์ สารเคมี จาํ นวนยงุ ก่อน จาํ นวนยงุ ทรี่ อดตายหลงั จากพ่นสารเคมี พ่นสารเคมี พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. Anopheles มาลาไทออน 10000 31 129 1654 4055 culifacies ดีลดริน 10000 78 339 1982 3106 Anopheles มาลาไทออน 10000 28 56 1207 1744 strephensi ดีลดริน 10000 30 71 1321 2388 Q : 83. จากตารางที่ไดจ้ ากการทดลองฉีดสเปรยย์ งุ Anopheles ในเดือนพฤษภาคม ดว้ ยสารเคมีสองชนิด คือ มาลาไทออน (Malathion) กบั ดีลดริน (Dieldrin) โดยใชย้ งุ สองกลุ่ม กลุ่มละ 10000ตวั แต่ละกลุ่มใชส้ ารเคมีคนละชนิด จากน้นั จดบนั ทึดจาํ นวนยงุ ท่ีรอดตาย พวกที่รอดตายน้ีปล่อยให้ผสมพนั ธุ์และมีลกู หลานได้ แต่ทกุ วนั แรกของเดือนนาํ ยงุ มาพน่ สารเคมีชนิดเดิมพร้อมกบั บนั ทึก จาํ นวนยงุ ที่เหลือ ทาํ เช่นน้ีเร่ือยๆ ตอ่ ไปอีกสามเดือนนบั จากคร้ังแรก ขอ้ สรุปที่ไดจ้ ากตาราง ขอ้ ใดถูกต้อง 1. Anopheles culifacies ทนตอ่ มาลาไทออนและดีลดรินมากกวา่ Anopheles strephensi 2. Anopheles strephensi ทนต่อดีลดรินมากกวา่ มาลาไทออน 3. Anopheles strephensi และ Anopheles culifacies ทนตอ่ มาลาไทออนและดีลดรินไดเ้ ทา่ เทียมกนั 4. ขอ้ 1 และ 2 ถูก Q : 84. สารมาลาไทออนและดีลดริน มีผลกระทบตอ่ สภาวะแวดลอ้ มในขอ้ ใด 1. ท้งั มาลาไทออนและดีลดรินอาจฆ่าแมลงท่ีเป็นประโยชน์ 2. ท้งั มาลาไทออนและดีลดรินอาจทาํ ใหแ้ หล่งน้าํ เกิดมลพษิ 3. ท้งั มาลาไทออนและดีลดรินอาจทาํ ใหส้ ่ิงมีชีวติ อ่ืนเป็นอนั ตราย 4. ขอ้ 1, 2 และ 3 ถูก Q : 85. ขอ้ ใดเป็นกราฟท่ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ จาํ นวนยงุ Anopheles culifacies ที่รอดจากสารเคมีไดด้ ีท่ีสุดในช่วงดีที่สุดในระหวา่ งเดือน พฤษภาคมจนถึงเดือนสิงหาคม Q : 86. การทดสอบการใชก้ ลูโคสในร่างกายของสตั วท์ ดลอง ทาํ โดยการตรวจน้าํ ตาลในเลือดสตั วน์ ้นั หลงั จากใหส้ ตั วท์ ดลองกิน สารละลายน้าํ ตาลกลูโคส 10 มล. ทาํ การทดสอบ 5 คร้ัง ในเวลาตา่ ง ๆ กนั หลงั จากใหส้ ตั วก์ ินน้าํ ตาลแลว้ พบวา่ ปริมาณน้าํ ตาลใน เลือดแตกตา่ งกนั ดงั ตารางขา้ งล่าง เวลาหลงั จากกินกลูโคส (นาที) ความเขม้ ขน้ ของกลูโคสในเลือด (mg/100dL) 0 75 30 125 60 110 90 90 120 80 180 70 ทาํ ไมการเปลี่ยนแปลงความเขม้ ขน้ ของกลูโคสในเลือดในช่วงเวลาต้งั แตเ่ ริ่มกินจนถึง 30 นาทีหลงั จากกินเขา้ ไปแลว้ สูงข้ึน 1. ตบั ปล่อยกลูโคสเขา้ ลาํ ไส้เลก็ 2. กลูโคสถกู ดูดออกมาจากระบบยอ่ ยอาหาร © 20135. AกlาlรRสigงั hเคtsราRะeหse์กrลveโdค.สwใหw้เwป็.นHแoปng้งReanOnline.com 4. กลโคสถกใชไ้ ปในการหายใจระดบั เซลล์ สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 30 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร 4.4 กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) กล้องจลุ ทรรศน์ เป็นอปุ กรณ์สาํ หรับมองดูวตั ถทุ ่ีมีขนาดเลก็ เกินกวา่ มองเห็นดว้ ยตาเปล่า ศาสตร์ท่ีม่งุ สาํ รวจ วตั ถขุ นาดเลก็ โดยใชเ้ คร่ืองมือดงั กล่าวน้ี เรียกวา่ จุลทรรศนศาสตร์ กลอ้ งจุลทรรศนเ์ ป็ นคาํ ศพั ทท์ ี่แปลจากภาษาองั กฤษ \"microscope\" ซ่ึงมีรากศพั ทม์ าจากภาษากรีก \"ไมครอน\" (micron) หมายถึง ขนาดเลก็ และ \"สโคปอส\" (scopos) หมายถึง เป้าหมาย หรือมุมมอง กลอ้ งจุลทรรศนส์ ามารถแบ่งออกเป็ นประเภทใหญๆ่ ได้ 2 ประเภท คือ กลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบแสง (Light microscopes) และกลอ้ งจุลทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอน(Electron microscopes) การผลิตกลอ้ งจุลทรรศน์น้นั มีมาแลว้ 500 ปี ก่อน โดยนกั วทิ ยาศาสตร์ช่ือ Janssen เป็ นเลนส์ชนิดประกอบ ต่อมา นกั วทิ ยาศาสตร์ ช่ือ Leer van hook ประดิษฐแ์ บบเลนส์เดียว (แวน่ ขยายนน่ั เอง) 4.4.1 กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Light microscopes) 4.4.1.1 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบแสง 7 4.4.1.1.1 ฐาน (Base) จะตอ้ งมลี กั ษณะกวา้ ง กางออก → ทรงตวั และน้าํ หนกั มาก → ถว่ งน้าํ หนกั เวลาใชฐ้ านตอ้ งไมเ่ อียง ตอ้ งต้งั ตรง ไม่ง้นั ของเหลวบนสไลดไ์ หลได้ และเนื่องจากฐาน 12 หนกั สุดเวลายกตอ้ งประคองฐานดว้ ย และตอ้ งยกไม่เอียงไม่ง้นั เลนส์จะหลดุ 9 4.4.1.1.2 กระจก (หลอดไฟ) (Mirror) กระจกสามารถปรับองศาทิศเพือ่ รบั แสงได้ 8 ถา้ เป็ นหลอดไฟ ตอ้ งระวงั หลอดไฟจะอาจทาํ ใหส้ ิ่งที่สุดบนสไลดแ์ ปรสภาพได้ 6 3 4.4.1.1.3 แขน (Arm) เวลายกตอ้ งจบั ส่วนน้ีกบั ฐาน 4.4.1.1.4 Iris Diaphragm แสงมาก → ปรับแคบ แสงนอ้ ย → ปรับกวา้ ง 5 10 **อุปกรณ์น้ี เทียบเท่าม่านตาคน** 4 11 4.4.1.1.5 Condenser Lens รวมแสง 2 4.4.1.1.6 Stage ฐานวางสไลด์ อปุ กรณ์ชิ้นน้ี กลอ้ งบางรุ่นอาจมี Scale วดั 4.4.1.1.7 Body ขา้ งใ1นจะกขลนวางดเพSpือ่ eใcหimแ้ สenงสก่อลงอ้ผงา่ บนาไงดรุ้่นอาจเล่ือน ข้ึนลง ซา้ ย/ขวา ได้ 4.4.1.1.8 Objective lens มกั มี 4 กาํ ลงั ขยาย คือ 4X 10X 40X 100X 4.4.1.1.9 Removing Wheel การหมนุ แป้นตอ้ งจบั ตรงน้ี หา้ มใชก้ ารดนั ท่ีกระบอกเลนส์ จะทาํ ให้ เลนส์แตก + เกลียวเลนส์คลาย 4.4.1.1.10 Coarse Adjustment Wheel (Knob) (ป่ ุมปรับภาพหยาบ) → หมุนนิดหน่อยจะเล่ือนมาก 4.4.1.1.11 Fine Adjustment Wheel (ป่ มุ ปรับละเอยี ด) ปรับภาพใหช้ ดั 4.4.1.1.12 Ocular lens ตอ้ งมีกาํ ลงั ขยาย 10 เท่า มกั มีเขม็ ไวช้ ้ีตาํ แหน่ง . 4.4.1.2 การคาํ นวณกาํ ลงั ขยาย กาํ ลงั ขยายของกลอ้ งจุลทรรศน์ = กาํ ลงั ขยายของเลนส์ใกลว้ ตั ถุ x กาํ ลงั ขยายของเลนส์ใกลต้ า ***ภาพที่ไดจ้ ากกลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง จะไดภ้ าพเสมือน หวั กลบั บนไปล่าง และ ซา้ ยไปขวา . © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 31 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพมิ่ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร 4.4.1.3 วธิ ีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง - ต้งั กลอ้ งใหต้ รง วางกลอ้ งใหน้ ิ่ง - สอดสไลดต์ าม Stage - ใส่ Clip ใหภ้ าพน่ิง - เปิ ดไฟ - ปรับหวั ที่มีกาํ ลงั ขยายต่าํ สุด และปรับแท่นใหว้ ตั ถกุ บั เลนส์ห่างกนั มากที่สุด****** - เอาตาส่องท่ีเลนส์ใกลต้ า - ปรับวตั ถใุ หใ้ กลเ้ ลนส์ โดยปรับป่ ุมภาพหยาบ จนกวา่ ภาพจะชดั ในระดบั หน่ึง - ปรับ Focus ใหห้ มุนเลนส์ใกลว้ ตั ถุ จนกวา่ ภาพจะชดั ที่สุด - ในกรณีท่ีตอ้ งการจะเปลี่ยนกาํ ลงั ขยายใหม้ ากข้ึน / นอ้ ยลงของเลนส์ใกลว้ ตั ถุใหห้ มนุ ตรง Removing Wheel แลว้ หมนุ ปรับภาพละเอียดอยา่ งเดียว - เวลาดึงสไลด์ ออก ใหป้ รับกาํ ลงั ขยายต่าํ สุดก่อน แลว้ ดึงออก 4.4.1.4 การเตรียม Slide - ดูเซลลพ์ ืช ควรหยดน้าํ กลนั่ แต่ถา้ ดูเซลลส์ ตั วค์ วรหยดน้าํ เกลือ(เกลือ 0.85%) - ถา้ ใชเ้ ลนส์กาํ ลงั ขยายต่าํ แสงเขา้ จะมาก พ้ืนท่ีเห็นกวา้ งแต่รายละเอียดท่ีเห็นนอ้ ย ในทางตรงกนั ขา้ ม ถา้ ใชเ้ ลนส์ กาํ ลงั ขยายมาก แสงเขา้ จะนอ้ ยกวา่ พ้ืนท่ีเห็นนอ้ ยแตร่ ายละเอียดท่ีเห็นจะมาก -เลนส์ x100 เป็ นเลนส์ที่มีกาํ ลงั ขยายสูงสุด มีปลายเลก็ มาก แสงเขา้ ไดป้ ริมาณนอ้ ย ลาํ แสงท่ีส่องเขา้ มาจะตอ้ งใช้ Condenser ช่วยรวมแสงและใชน้ ้าํ มนั (immersion oil) หรือสารที่มีดชั นีหกั เหเท่ากบั แกว้ ท่ีใชท้ าํ กระจกสไลดเ์ ป็นตวั กลาง ระหวา่ งวตั ถกุ บั เลนส์ โดยหยดสารดงั กลา่ วลงเตม็ พ้ืนที่ระหวา่ งปลายเลนส์และกระจกสไลดเ์ พอ่ื ป้องกนั การกระจายลาํ แสง - เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึน้ จะย้อมสี (Stain) โดยสีทใ่ี ช้ย้อมขนึ้ อยู่กบั สิ่งทต่ี ้องการศึกษา เช่น H&E ยอ้ มเน้ือเยอ่ื ทวั่ ไป Giemsa ยอ้ มโครโมโซม, ยอ้ มปรสิต Gram’s stain ยอ้ มแบคทีเรีย มีสียอ้ ม 2 ชนิด คือ - Crystal Violet (สีมว่ ง) ถา้ ยอ้ มติดสีมว่ งเรียกวา่ Gram positive + - Safranin (สีแดง) ถา้ ยอ้ มติดสีแดงเรียกวา่ Gram negative - Wright stain ยอ้ มเซลลเ์ มด็ เลือด ไขกระดูก Acid fast stain ยอ้ มเช้ือวณั โรค Indian ink ยอ้ มเช้ือรา Iodine ยอ้ มปรสิต รูปจาก : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kurakae-chan&month=19-04-2008&group=6&gblog=63 © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 32 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรตุ ม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร 4.4.2 กล้องจุลทรรศน์อเิ ลก็ ตรอน (Electron microscopes) กล้องจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอน เป็ นกลอ้ งจุลทรรศนท์ ี่ใชล้ าํ อิเลก็ ตรอนแทน แสงธรรมดา กลอ้ งแบบน้ีมีหลกั การ ทาํ งานคลา้ ยกบั กลอ้ งจุลทรรศน์ชนิดใชแ้ สง แตแ่ ตกตา่ งกนั ที่ส่วนประกอบภายใน กลา่ วคือ กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนจะ ใชล้ าํ อิเลก็ ตรอนซ่ึงมีขนาดเลก็ มากวงิ่ ผา่ นวตั ถุ และโฟกสั ภาพลงบนจอเรืองแสงกลอ้ งจุลทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอนมีกาํ ลงั ขยายถึง 500,000 เท่าใน ปัจจุบนั กลอ้ งจุลทรรศน์อิเลก็ ตรอนมี 2 ชนิด 4.4.2.1 กล้องจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนชนดิ ส่องผ่าน (Transmission Electron microscope) หรือเรียกแบบ ยอ่ วา่ TEM โดยใชศ้ ึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์ โดยลาํ แสงอิเลก็ ตรอนจะส่องผา่ นเซลลห์ รือตวั อยา่ งที่4ตอ้ งการศึกษา ซ่ึงผศู้ ึกษาตอ้ งเตรียมตวั อยา่ งใหไ้ ดข้ นาดบางเป็ นพเิ ศษ 4.4.2.2 กล้องจุลทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron microscope) หรือเรียกแบบยอ่ วา่ SEM โดยใชศ้ ึกษาโครงสร้างของผิวเซลลห์ รือผวิ วตั ถุ โดยลาํ แสงอิเลก็ ตรอนจะส่องกราดไปบนผิวของวตั ถุ ทาํ ใหไ้ ดภ้ าพที่ มีลกั ษณะเป็ น 3 มิติ No. Light Microscope No. Electron Microscope 1 ใชแ้ สงทว่ั ไปได้ (แสงแดด แสงไฟ) 1 ใชล้ าํ แสง อิเลก็ ตรอนพลงั งานสูง 2 ดูไดด้ ว้ ยตาเปล่า หรือจอกไ็ ด้ 2 จอ+ฉาก เท่าน้นั ใชต้ าเปล่าดู Retina เส่ือมทนั ที 3 ส่ิงมีชีวติ ท่ีดูอาจมีชีวติ อยหู่ รือตายแลว้ ก็ได้ 3 ตายเท่าน้นั 4 ส่ิงที่ใชข้ ยายเป็ นเลนส์แกว้ ชนิด เลนส์นูน 4 ใชก้ ระแสไฟฟ้าเบ่ียงเบนของกระแส อิเลก็ ตรอน 5 Specimen ตอ้ งบาง (ใชม้ ดี ตดั ก็ได)้ 5 Specimen ตอ้ งบางมากๆๆ (ใบมดี แกว้ /เพชรตดั ) 6 ใชม้ ือตดั ได้ 6 ใชเ้ ครื่อง ultramicrotone ตดั 7 กาํ ลงั ขยายสูงสุด 1000 เท่า 7 กาํ ลงั ขยายสูงสุด 500,000 เท่า . ตารางความแตกต่างเปรียบ เ ทยี บระ หว่าง กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แรสูปงจากกบั : กhลttp้อ:ง//fจacุลuทltyร.cรliศntนon์อcเิcล.sก็unตyร.eอduน รูปจาก : http://faculty.clintoncc.suny.edu รูปจาก : http://faculty.clintoncc.suny.edu รูปจาก : http://faculty.clintoncc.suny.edu รูปจาก : http://faculty.clintoncc.suny.edu รูปจาก : http://faculty.clintoncc.suny.edu © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com รูปจาก : http://faรูcปuจltาyก.c:lihnttopn:c//cf.asucunlyty.e.dcluintoncc.suny.edu สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 33 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร 4.4.3 กล้องจุลทรรศน์ สเตอริโอ (Stereo microscopes) เป็ นกลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบเชิงประกอบอีกชนิดหน่ึง ท่ีสามารถใชด้ ูวตั ถุที่มีขนาดใหญ่และหนาเกินกวา่ จะดูดว้ ย กลอ้ งจุลทรรศนธ์ รรมดาได้ รูปจาก : รูปจาก : http://www.digitalsmicroscope.com/ http://www.funsci.com/fun3_en/uster/uster.htm stereomicroscope-2/ ภาพที่เห็นจะเป็ นภาพเสมือน 3 มิติ หวั ไมก่ ลบั และไม่กลบั ซา้ ยขวา จึงเหมาะท่ีจะใชส้ ่องดูขณะทาํ การผา่ ตดั ส่ิงมีชีวติ ขนาดเลก็ ๆ เช่น แมลงสาบ บางคร้ังจึงเรียกกลอ้ งชนิดน้ีวา่ dissecting microscope รูปจาก : รูปจาก : รูปจาก : http://commons.wikimedia.org/wiki/File: Vespula_vulgaris_Stereo_Microscope_Wing_01.jpg http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Vespula_vulgaris_Stereo_Microscope_Eye.jpg http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Vespula_vulgaris_Stereo_Microscope_Mandible.jpg 4.4.4 กล้องจุลทรรศน์ ฟลอู อเรสเซนซ์ (Fluorescence microscopes) เป็ นกลอ้ งจุลทรรศนท์ ่ีใชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวางในหอ้ งปฏิบตั ิการของโรงพยาบาล มีแสงอุลตร้าไวโอเลต (ultraviolet light) เป็ นแหลง่ กาํ เนิดแสง ใชใ้ นการศึกษาตวั อยา่ งที่ไดย้ อ้ มสีฟลอู อเรสเซนซ์ ซ่ึงช่วยทาํ ใหก้ ารจดั จาํ แนก จุลินทรียท์ าํ ไดเ้ ร็วข้ึน สีชนิดน้ีจะดูดซึมแสงช่วงคลื่นส้นั ซ่ึงมองดว้ ยตาเปล่าไมเ่ ห็นและปลอ่ ยแสงช่วงคลื่นยาวกวา่ ออกมา ซ่ึงเป็ นช่วงคลื่นท่ีมองเห็นดว้ ยตาเปล่า ซ่ึงเรียกปรากฏการณ์น้ีวา่ fluorescence ดว้ ยวธิ ีการน้ีสามารถช่วยใหจ้ ดั จาํ แนก จุลินทรียไ์ ดโ้ ดยใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์น้ีไดโ้ ดยตรง รูปจาก : รูปจาก : http://www.dvcco.com/resources/applications/life- http://www.microscopyu.com/articles/fluorescence/fluorescenceintro.html sciences/fluorescence-microscopy/ รูปจาก : http://en.wikipedia.org/wiki/Fluorescence_microscope รูปจาก : รูปจาก : http://www.rp-photonics.com/fluorescence_microscopy.html http://www.whoi.edu/oceanus/viewPhotoGallery.do?gType=1&gallery=true&clid=2416&mainid=12029 © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลิขสิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 34 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เกง่ กติ ตภิ ทั ร Q : 87. เม่ือนกั เรียนใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนส์ ่องดูสไลดพ์ ารามีเซียมดว้ ยกาํ ลงั ขยายต่าํ ( 100x ) ทาํ ให้ไดภ้ าพลกั ษณะหน่ึง เมื่อใช้ กาํ ลงั ขยายเพม่ิ มากข้ึน ( 400x ) ไดภ้ าพอีกลกั ษณะหน่ึงของพารามีเซียมตวั เดียวกนั โดยภาพที่ไดจ้ ะมีลกั ษณะดงั ขอ้ ใดเม่ือใช้ กาํ ลงั ขยายสูง 1. ภาพขนาดเล็กกวา่ แสงสวา่ งน้อยกว่า 2. ภาพขนาดเล็กกวา่ แสงสวา่ งมากกวา่ 3. ภาพขนาดใหญก่ วา่ แสงสวา่ งนอ้ ยกวา่ 4. ภาพขนาดใหญก่ วา่ แสงสวา่ งมากกวา่ Q : 88. ค่ารีโซลูชน่ั ข้ึนอยกู่ บั ขอ้ ใดบา้ ง 1. ความยาวคล่ืนแสงคา่ N.A. 2. ค่า N.A.และเลนส์ตา 3. คา่ เลนส์ตาและเลนส์วตั ถุ 4. ลาํ กลอ้ ง เลนส์ตา เลนส์วตั ถุ Q : 89. น้าํ ยาท่ีใชใ้ นการเช็ดเลนส์คือสารชนิดใด 1. อีเธอร์และแอลกอฮอล์ อตั ราส่วน 40 : 60 2. อีเธอร์และแอลกอฮอล์ อตั ราส่วน 60 : 40 3. อะซีโตนและแอลกอฮอล์ อตั ราส่วน 40 : 60 4. อะซีโตนและแอลกอฮอล์ อตั ราส่วน 60 : 40 Q : 90. กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอนใชส้ ่ิงใดผลิตอิเล็กตรอน 1. ปื นยงิ อิเล็กตรอน เป็นลวดนิโครมรูปตวั วี 2. ปื นยงิ อิเล็กตรอน เป็นลวดทองพนั รอบแทง่ เหล็ก 3. ปื นยงิ อิเล็กตรอน เป็นขดลวดทงั สแตนรูปตวั วี 4. แม่เหลก็ ไฟฟ้าในสนามแม่เหล็กแรงสูง Q : 91 ขอ้ ใดทาํ หนา้ ท่ีแตกต่างจากขอ้ อ่ืน ๆ 1. กระจกหรือหลอดไฟ 2. เลนส์รวมแสง 3. ไดอะแฟรม 4. ที่หนีบสไลด์ Q : 92. ขอ้ จาํ กดั ของกลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนคือขอ้ ใด 1. ตอ้ งมีระบบหล่อเยน็ เพราะมีความร้อนมาก 2. การเตรียมตวั อยา่ งยงุ่ ยากมากตอ้ งใชผ้ ชู้ าํ นาญการ 3. ใชไ้ ดเ้ ฉพาะในห้องที่เก็บกลอ้ งจุลทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอนเทา่ น้นั 4. ถูกทกุ ขอ้ Q : 93. กลอ้ งจุลทรรศน์ในขอ้ ใดใหภ้ าพขยายเป็น 3 มิติ (A-net มี.ค. 51) ก. กลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สงแบบสเตอริโอ (Stereoscopic Microscope) ข. กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงแบบธรรมดา (Compound light Microscope) ค. กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning electron Microscope) ง. กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอนชนิดส่องผา่ น (Transmission electron Microscope) 1. ก ค 2. ก ง 3. ข ค 4. ข ง Q : 94. สิ่งท่ีกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงแบบสเตอริโอแตกตา่ งจากกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงแบบธรรมดาคือขอ้ ใด (PAT2 ก.ค. 52) ก. ใชศ้ ึกษาไดท้ ้งั วตั ถุโปร่งแสงและทึบแสง ข. เลนส์ใกลว้ ตั ถุมีกาํ ลงั ขยายนอ้ ยกวา่ 4X ค. ภาพที่เห็นเป็นภาพ 3 มิติ และเป็นภาพจริง 1. ก 2. ก ข 3. ข ค 4. ก ข ค Q : 95. วธิ ีการศึกษาเซลลแ์ ละการใชอ้ ุปกรณ์ในการศึกษา ขอ้ ใดใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมที่สุด (PAT2 มี.ค. 53) 1. เตรียมตวั อยา่ งสด (wet mount) ของโปรโตซวั ส่องดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์แบบใช้ แสง (light microscope) 2. ตดั ภาคตดั ขวางรังไขพ่ ชื ดอกเพ่ือศึกษาสณั ฐานวทิ ยา ดว้ ยกลอ้ งจอมืด (dark-field microscope) 3. เกลี่ยบาง (smear) จลุ ินทรียบ์ นสไลด์ ส่องดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์สเตริโอ (stereo microscope) 4. เกล่ียบาง (smear) เซลลเ์ มด็ เลือด ส่องดว้ ยกลอ้ งฟลูออเรสเซนส์ (fluorescence microscope) Q : 96. เหตใุ ดจึงตอ้ งใชน้ ้าํ มนั เป็นตวั กลางระหวา่ งสไลดท์ ่ีวางวตั ถุกบั เลนส์ใกลว้ ตั ถุในการใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง สาํ หรับเลนส์ 100X (PAT2 มี.ค. 54) 1. เพือ่ ลดการสะทอ้ นแสงจากหนา้ เลนส์ 2. เพ่อื เพ่ิมช่วงความยาวคล่ืนแสงเขา้ สู่เลนส์ 3. เพื่อเพม่ิ กาํ ลงั ขยายของกลอ้ งใหม้ ากกวา่ 100X 4. เพื่อเพ่มิ การหกั เหของแสงจากตวั อยา่ งเขา้ ส่เลนส์ © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมิไดร้ ับอนุญาต
BIOCHEDPED | 35 | คอรส์ ชวี วทิ ยา ม.ปลาย สาระเพม่ิ เตมิ โดย พบ่ี อส - วรุตม์ เก่งกติ ตภิ ทั ร บทความดีๆ ทา้ ยบทท่ี 1 เวลาว่าง (FREE TIME) คนเรามกั บอกว่า..... ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไปเรียน ภาษาองั กฤษ ส่วนใหญ่ จะไมไ่ ดไ้ ป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไปเขา้ ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะพา ฟิ ตเนส ส่วนใหญ่ จะไม่ไดไ้ ป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป ลกู ไปเท่ียว ส่วนใหญ่ จะไม่ไดไ้ ป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป หดั พิมพด์ ีด ส่วนใหญ่ จะไม่ไดไ้ ป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป หาคุณป่ ู ส่วนใหญ่ จะไมไ่ ดไ้ ป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป เล่นฟตุ บอล ส่วนใหญ่ จะไมไ่ ดไ้ ป ถา้ มี เวลาวา่ ง...... จะไป เล่นโยคะ ส่วนใหญ่ จะไมไ่ ดไ้ ป เรียนคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่ จะไม่ไดไ้ ป ลดความอว้ น ส่วนใหญ่ จะไม่ไดไ้ ป สมั มนา ส่วนใหญ่ จะไม่ไดไ้ ป หาหมอฟัน ส่วนใหญ่ จะไมไ่ ดไ้ ป ทาํ บุญ ส่วนใหญ่ จะไมไ่ ดไ้ ป - คนเรามกั จะใหค้ วามสาํ คญั กบั สิ่งต่างๆ เสมอ ท้งั ๆท่ีรู้วา่ มนั มีความสาํ คญั มาก แต่ก็เลือกท่ีจะทาํ มนั หลงั จากทาํ อยา่ งอ่ืนก่อน - เราสามารถเลือกที่จะทาํ มนั โดยทนั ที เพราะวา่ ถ้าคณุ รอทจ่ี ะมเี วลาว่าง ส่วนใหญ่คุณจะไม่ได้ทาํ มนั หาอา่ นบทความดีๆ เพิ่มเติมได้ ในหนงั สือ “เกาเวลา” โดย ดาํ รง วงษ์โชตปิ ิ่ นทอง © 2015 All Rights Reserved. www.HongReanOnline.com สงวนลขิ สิทธ์โิ ดย www. HongReanOnline.com ห้ามผ้ใู ดทาํ ซาํ้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคดั ลอกบทความไปใชโ้ ดยมไิ ดร้ ับอนุญาต
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: