1) ใชเ้ กณฑป์ ริมาณน้าฝนและอุณหภูมิเป็ นตวั กาหนด ไบโอมบนบกท่ีอยใู่ นโลก แบ่งไดห้ ลายไบโอม แตไ่ บโอมบนบกที่สาคญั ที่กล่าวถึงมีท้งั หมด 7 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ไบโอมป่ าดิบช้ืน 2. ไบโอมป่ าผลดั ใบในเขตอบอนุ่ 3. ไบโอมป่ าสน 4. ไบโอมทุ่งหญา้ เขตอบอุ่ม 5. ไบโอมสะวนั นา 6. ไบโอมทะเลทราย 7. ไบโอมทนุ ดรา 1. ไบโอมป่ าดิบชื้น (evergreen forest) หรืออาจเรียกวา่ ป่ าฝนเขตร้อน (tropicalrainforest) เป็นบา้ นเขียวชอุ่มร่มรื่นที่พบบริเวณใกลเ้ สน้ ศนู ยส์ ูตรของ โลก อากาศบริเวณน้ีมีการเปล่ียนไม่มากนกั ที่สาคญั คือมีฝนตกชุกถึงปี ละ 2,000 - 5,000 มม. (2 - 5 เมตร) ตอ่ ปี ทาใหม้ ีความชุ่มช้ืน มีอินทรียสารอุดมสมบูรณ์มาก และ มีส่ิงมีชีวติ อาศยั อยเู่ ป็นจานวนมากมายมหาศาล ป่ าดงดิบมีหลายแบบท่ีพบในประเทศ ไทย มีท้งั ป่ าดิบเขา ป่ าดิบแลง้ ป่ าพรุ ฯลฯ ศูนย์วิทยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมเพ่อื การศึกษาร้อยเอ็ด
ไบโอมป่ าดิบชื้น ท่ีมาภาพ : http://www.thaigoodview.com/node/46775 2. ไบโอมป่ าผลดั ใบในเขตอบอ่นุ (deciduous forest) ป่ าผลดั ใบไดร้ ับ น้าฝนประมาณ 600 - 2,500 มม. ตอ่ ปี พบท้งั ในเขตอบอุ่น และเขตร้อนของโลก เช่น ในทวปี อเมริกาเหนือ ยโุ รป ประเทศจีน และในประเทศไทย พรรณไมห้ ลกั เป็นไมต้ น้ ใบกวา้ งซ่ึงทิ้งใบในช่วงฤดูแลง้ หรือช่วงฤดูหนาว และผลิใบอีกคร้ังเมื่อมีฝนตก สตั วท์ ่ี พบ เช่น กวางเอลก์ และสุนขั จิ้งจอก พบกระจายทว่ั ไปในละติจูดกลาง ซ่ึงมีปริมาณความช้ืนเพียงพอท่ีตน้ ไมใ้ หญจ่ ะ เจริญเติบโตไดด้ ี โดยมีปริมาณน้าฝนเฉล่ีย 100 เซนติเมตรต่อปี และมีอากาศคอ่ นขา้ ง เยน็ ในป่ าชนิดน้ีและตน้ ไมจ้ ะทิ้งใบหรือผลดั ใบก่อนฤดูหนาว และจะเริ่มผลิใบอีกคร้ัง เม่ือฤดูหนาวผา่ นพน้ ไปแลว้ ตน้ ไมท้ ี่พบมีหลากหลายท้งั ไมย้ นื ตน้ ไมพ้ มุ่ รวมถึง ไมล้ ม้ ลุก ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพ่ือการศกึ ษาร้อยเอด็
ไบโอมป่ าผลดั ใบในเขตอบอ่นุ ที่มาภาพ : http://eco-biology6.blogspot.com/2010/11/blog-post_1035.html 3. ไบโอมป่ าสนหรือไทก้า (taiga) เป็นภมู ิอากาศแบบก่ึงอาร์กติก Continental Subarctic climate เป็นเขตหนาวเยน็ และแห้ง มีระยะเวลาท่ีอุณหภูมิต่ากวา่ จุดเยอื กแขง็ นานกวา่ 6 เดือน ในเดือนมกราคม อุณหภูมิ ประมาณ - 6 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อน มีอากาศ อบอ่นุ ข้ึน อุณหภูมิในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 16 องศา เซลเซียส มีฝนตกในฤดูร้อน ปริมาณ หยาดน้าฟ้า 500 - 1,000 มิลลิเมตรตอ่ ปี ส่วน ใหญ่ตกในรูปของหิมะ มีฝนตกมากกวา่ เขตทนุ ดรา และมีฤดูร้อนยาวนานกว่าเขตทนุ ด ราเลก็ นอ้ ย มีสนเป็นพรรณไมห้ ลกั พบในแคนาดา จีน ฟิ นแลนด์ ฯลฯ สตั วท์ ีพ่ บในป่ า สน เช่นกวางมูส และนกฮูกเทาใหญ่ ศนู ย์วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพือ่ การศึกษาร้อยเอ็ด
ไบโอมป่ าสน ที่มาภาพ : http://www.i-creativeweb.com/demo/biology/index.php? option=com_content&view=article&id=210:-6-2551&catid=45:bio-article- &Itemid=112 4. ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอ่นุ ( grassland ) ท่งุ หญา้ ไดร้ ับน้าฝนประมาณ 250 - 600 มม. ตอ่ ปี ทุ่งหญา้ มกั มีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแลง้ ในฤดูหนาว ทงุ่ หญา้ ในเขตอบอุน่ ท่ีพบในทวีปอเมริกาเหนือ เรียกวา่ แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยเู รเชีย เรียก สเตป็ ป์ (steppe) และในทวีปอเมริกาใตเ้ รียก แพมพา (pampa) นอกจากทงุ่ หญา้ แลว้ ยงั มีไมพ้ มุ่ ท่ีมีหนาม มีไมต้ น้ ทนแลง้ และทนไฟป่ า เช่น เบาบบั (baobab) และ พวกกระถิน (acacia) สตั วท์ ี่พบมีหลากหลาย เช่น ชา้ ง มา้ ลาย สิงโตในอฟั ริกา หมีโค ลา จิงโจ้ และนกอีมใู นออสเตรเลีย ศูนย์วทิ ยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมเพ่อื การศกึ ษาร้อยเอ็ด
ไบโอมท่งุ หญ้าเขตอบอ่นุ ท่ีมาภาพ : http://archive.wunjun.com/udontham/2/12.html 5. ไบโอมทุ่งหญ้าสะวนั นา มกั จะพบกระจายอยใู่ กลก้ บั เส้นศนู ยส์ ูตร ของ ทวีปแอฟริกา หรืออเมริกาใต้ มีลกั ษณะเป็นป่ าไม้ จนถึงทุ่งหญา้ ที่มีตน้ ไมก้ ระจายอยู่ ห่างๆ กนั ท้งั น้ีเน่ืองจากความช้ืนในฤดแู ลง้ ไม่เพยี งพอสาหรับการปก คลุมของตน้ ไม้ ใหเ้ ตม็ พ้ืนที่ ไมบ้ างชนิดเป็นพวกทนแลง้ (xerophyte) การท่ีมีเรือนยอดโปร่งทาให้ไม้ พ้ืน ล่างข้ึนอยอู่ ยา่ งหนาแน่น โดยเฉพาะหญา้ ชนิดต่างๆสตั วท์ ี่พบมีหลากหลาย เช่น ชา้ ง มา้ ลาย สิงโตใน อฟั ริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมใู นออสเตรเลีย ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมเพ่อื การศกึ ษาร้อยเอ็ด
ไบโอมท่งุ หญ้าสะวันนา ที่มาภาพ : http://archive.wunjun.com/udontham/2/12.html 6. ไบโอมทะเลทราย ( desert ) คือบริเวณท่ีมีปริมาณน้าฝน 250 มม. ตอ่ ปี และบางช่วงอาจไมม่ ีฝนตกยาวนานถึง 8-10 ปี ทะเลทรายบางแห่งซ่ึงมีอากาศร้อน เช่น ทะเลทรายซาฮาราในอฟั ริกา ทะเลทรายโซโนรันในเมก็ ซิโก มีฤดูหนาวส้นั ๆ ท่ีไม่ หนาวมากนกั แตท่ ะเลทรายบางแห่ง เช่น ทะเลทรายโกบีในมองโกเลียอาจมีอุณหภมู ิ ต่ากวา่ จดุ เยอื กแขง็ ยาวนานในฤดูหนาว พชื ที่พบในทะเลทรายเป็นพวกไมพ้ มุ่ ทนแลง้ พชื อวบน้า และพืชปี เดียว ในทะเลทรายมีสตั วเ์ ล้ือยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสตั วใ์ ช้ ฟันกดั แทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สตั วส์ ่วนใหญ่หากินกลางคืนเพอ่ื หลีกเลี่ยงอากาศร้อน ในตอนกลางวนั ศนู ย์วิทยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมเพ่อื การศกึ ษาร้อยเอ็ด
ไบโอมทะเลทราย ที่มาภาพ : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=664030 7. ไบโอมทุนดรา (tundra) หรือ ภมู ิอากาศแบบอาร์กติก Arctic climate หรือ ทงุ่ หิมะแถบข้วั โลก มีอาณาเขตต้นั แต่เสน้ รุ้งท่ี 60 เหนือข้ึนไปจนถึงข้วั โลก เป็น บริเวณหนาวเยน็ ท่ีมีหิมะปกคลุมเกือบตลอดปี แมใ้ นช่วงฤดูร้อน ซ่ึงเป็นส้นั ๆ ประมาณ 2-3 เดือน อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยต่ากวา่ 10 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูหนาว อากาศหนาวจดั อุณหภูมิ ต่ากวา่ จุดเยอื กแขง็ ยาวนานกวา่ 6 เดือน ฝนตกนอ้ ย ปริมาณ หยาดน้าฟ้าประมาณ 500 มิลลิเมตร ส่วนใหญต่ กในรูปของหิมะ ใตพ้ ้นื ดินกย็ งั เป็น น้าแขง็ เขตทนุ ดรา ไดแ้ ก่ พ้ืนท่ีของรัฐอะลาสกา้ และไซบีเรีย ในช่วงฤดูหนาวอนั ยาวนานเป็นช่วงท่ีขาดชีวติ ชีวา สตั วจ์ ะจาศีล(Hibermation) หรือหลบอยใู่ ตห้ ิมะ และ ใตก้ อ้ นน้าแขง็ พืชหยดุ ชะงกั การเจริญเติบโต ในฤดูร้อนพ้นื ดินและพ้ืนน้าจะสลบั กนั เป็นลวดลายสวยงาม ชุมชนแบบทุนดราเป็นชุมชนแบบง่ายๆ ไม่ยงั่ ยนื และไม่สมดุล เน่ืองจากสภาพอากาศที่หนาวเยน็ จึงทาให้มีอตั ราการระเหยต่า การสลายตวั ของธาตุ อาหารเกิดอยา่ งชา้ ๆ ทาให้ค่อนขา้ งขาดแคลนอาหาร แมส้ ภาพแวดลอ้ มจะไม่ใคร่ เหมาะสม แตส่ ิ่งมีชีวิตกส็ ามารถปรับตวั ให้อยรู่ อดได้ พชื มีอายกุ ารเจริญส้นั เพียงแค่ 60 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพ่ือการศกึ ษาร้อยเอ็ด
วนั พชื ชนิดเด่นไดแ้ ก่ ไลเคนส์ นอกจากน้ียงั มีมอส กก หญา้ เซดจ(์ Sedge) และไมพ้ มุ่ เต้ีย เช่น วลิ โลแคระ สตั วใ์ นเขตทุนดรามีไม่ก่ีชนิด ไดแ้ ก่ นก สตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนม และแมลง สตั ว์ เล้ียงลูกดว้ ยนมชนิดเด่น คือ กวางคาริบู กวางเรนเดียร์ กระต่ายป่ าข้วั โลก หนูเลมมิง สุนขั ป่ าข้วั โลก นกชนิดเด่น คือ นกทามิแกน นกเคา้ แมวหิมะ นอกจากน้ียงั มีนกจาก แหล่งอ่ืนอพยพเขา้ มาในฤดูร้อน แมลง ยงุ นกเค้าแมวหิมะ ท่ีมาภาพ : http://www.komkid.com/ธรรมชาติวิทยา/นกเค้าหิมะ-snowy-owl/ ศนู ย์วิทยาศาสตร์และวฒั นธรรมเพื่อการศกึ ษาร้อยเอ็ด
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: