1 นิทรรศการเทคโนโลยชี วี ภาพ 1. ชดุ สอ่ื พลังงานชีวภาพ พืช และมูลสัตวบ์ างชนดิ ใช๎เทคโนโลยชี ีวภาพพัฒนาเป็นเชื้อเพลงิ สะอาดได๎นา้ มนั สีเขยี ว เช้อื เพลงิ ชวี ภาพ คือ เช้อื เพลิงทีไ่ ดจ๎ ากชีวมวลหรอื สสารท่ไี ดจ๎ ากพืชและสตั วโ์ ดยมพี นื้ ฐานจากการ สังเคราะหแ์ สง แลว๎ เกบ็ รวบรวมพลงั งานจากดวงอาทติ ย์เอาไว๎ในรปู ของพลังงานเคมี พืชเปน็ พลังงานชีวภาพทเี่ กดิ ขน้ึ โดย กระบวนการสังเคราะห์แสง โดยพชื จะเปลี่ยนพลังงานแสงอาทติ ย์ให๎ เป็นพลังงานสะสมในรูปของสารอินทรีย์ เมอื่ คนหรือสตั ว์กินพชื เปน็ อาหาร กจ็ ะได๎สารอนิ ทรยี ์ทเ่ี ป็น ประโยชน์ตํอรํางกายเราเรียกสารอินทรีย์จากสิง่ มชี วี ติ ทั้งหลายวําชีวมวล เมือ่ เรานา้ ชวี มวลเหลาํ น้ัน มาผาํ นกระบวนการทางเทคโนโลยชี ีวภาพจะเปล่ียนชีวมวลเหลํานัน้ ให๎เปน็ พลังงานท่เี ป็นประโยชน์ ขา๎ วโพด เปน็ พืชทมี่ ีศกั ยภาพในการผลติ ก๏าซชวี ภาพ และมกี ารปลกู กันอยาํ งแพรหํ ลาย ภายในประเทศ ด๎วยเทคนิคการหมักยํอยแบบไร๎อากาศหรอื ไมํมอี อกซเิ จน ซ่งึ ผลท่ไี ดค๎ ือก๏าซชีวภาพ ท่มี ีองคป์ ระกอบสํวนใหญเํ ป็นก๏าซมเี ทนถึงประมาณ 60-70% สามารถน้าไปใชเ๎ ปน็ เช้อื เพลงิ เพ่ือผลิต พลงั งานทดแทนในรูปแบบตํางกนั ดงั นน้ั จึงเป็นอีกทางเลือกหน่ึงในการบรรเทาปัญหาการขาดแคลน พลงั งาน ชวํ ยลดผลกระทบตอํ ส่งิ แวดลอ๎ ม และยังชํวยลดปญั หาราคาผนั ผวนของมันส้าปะหลงั และ ขา๎ วโพดผนั ลงด๎วย
2 2. หอ้ งทดลองสกู่ ารพฒั นาเทคโนโลยชี ีวภาพ เซลล์ (Cell) คอื โครงสรา๎ งของสง่ิ มีชวี ติ ทีเ่ ล็กท่สี ดุ แตํมคี วามส้าคัญมากมายเปน็ ตวั ก้าหนด ลกั ษณะ รปู รํางของสิ่งมีชวี ติ และพัฒนาการเจรญิ เตบิ โตของส่งิ มีชวี ติ ดงั น้นั จึงจา้ เปน็ อยาํ งยิ่งทีม่ ี การศกึ ษาในระดบั เซลล์ กล๎องจลุ ทรรศน์ เปน็ อุปกรณ์สา้ หรบั สํองดูวัตถทุ ี่มขี นาดเล็กเกนิ กวํามองเหน็ ไดด๎ ๎วยตาเปลาํ กล๎องจลุ ทรรศนม์ สี ํวนประกอบดงั นี้ ฐาน เปน็ สวํ นทีใ่ ช๎วางบนโตะ๏ ทา้ หนา๎ ทีร่ ับน้าหนักทง้ั หมดของกลอ๎ ง จุลทรรศน์ ท่ฐี านจะมปี ่มุ สา้ หรับปดิ เปดิ ไฟฟา้ แขนกล๎อง ใช๎เปน็ ท่จี ับเวลาเคลอ่ื นยา๎ ยกลอ๎ งจลุ ทรรศนล์ ้ากล๎อง จะหมนุ ไดเ๎ พ่อื เปลย่ี นเลนสข์ นาดตํางๆป่มุ ปรับภาพหยาบ ท้าหน๎าท่ีปรบั ภาพโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสของเลนส์ ใกล๎วัตถุ ป่มุ ปรบั ภาพละเอียด ท้าหนา๎ ทป่ี รับภาพ ทา้ ใหไ๎ ด๎ภาพทช่ี ดั เจนมากขน้ึ เลนสใ์ กล๎วัตถุ เปน็ เลนส์ท่อี ยูํ ใกลก๎ ับแผนํ สไลดห์ รือวัตถุ ภาพทีเ่ กิดจากเลนสใ์ กล๎วัตถเุ ปน็ ภาพจรงิ หัวกลบั เลนสใ์ กลต๎ า เป็นเลนสท์ ี่อยบูํ นสุด ของลา้ กล๎อง ท้าหน๎าที่ขยายภาพท่ีไดจ๎ ากเลนสใ์ กล๎วัตถใุ หม๎ ขี นาดใหญํขึ้น ทา้ ใหเ๎ กดิ ภาพท่ีสามารถมองเหน็ ได๎ โดยภาพท่ีไดเ๎ ป็นภาพเสมอื น หัวกลบั เลนสร์ วมแสง ท้าหน๎าท่ีรวมแสงใหเ๎ ข๎มข้ึนเพอ่ื สงํ ไปยังวตั ถทุ ี่ ตอ๎ งการศึกษากระจกเงา ท้าหนา๎ ที่สะทอ๎ นแสงจากธรรมชาตหิ รือแสงจากหลอดไฟภายในหอ๎ งให๎สอํ งผํานวตั ถุ ไดอะแฟรมทา้ หนา๎ ที่ปรับปริมาณแสงให๎เขา๎ สูเํ ลนส์ในปริมาณทีต่ ๎องการแทํนวางวัตถุ เปน็ แทนํ ใชว๎ างแผํน สไลด์ ท่ีตอ๎ งการศึกษาที่หนีบสไลด์ ใชห๎ นบี สไลดใ์ ห๎ตดิ อยูํกบั แทนํ วางวัตถุ จานหมนุ ใชห๎ มุนเมอื่ ต๎องการ เปล่ยี นกา้ ลังขยายของเลนส์ใกล๎วัตถุ เซลลเ์ มด็ เลอื ดกบ ( Frog Blood Smear)มคี วามแตกตํางจากเซลล์เม็ดเลือดแดงของสตั ว์ เลยี้ งลกู ด๎วยนมท่วั ไปเชํน เซลลเ์ ม็ดเลือดกบมีลักษณะเปน็ รปู ไขํ และมีนิวเคลียสท่ีมดี ีเอน็ เออยตํู รง กลางของเซลล์ จากการสอํ งผาํ นกล๎องจลุ ทรรศน์สามารถมองเห็นนิวเคลียสที่ยอ๎ มสไี ด๎
3 3. ชดุ สอ่ื ร้อยเอ็ดค้าขาย ขอ้ มูลเพิม่ เติม ขนมปงั เปน็ ผลติ ภัณฑท์ างเทคโนโลยชี ีวภาพทีเ่ ป็นอาหารท่ที า้ จากแป้งสาลีทผ่ี สมกับน้าและ ยีสต์ หรือ ผงฟู และอาจใช๎สํวนผสมอ่นื ๆเพื่อใชใ๎ นการแตํงสี รสชาตแิ ละกลิน่ ให๎แตกตํางกันไป จากนัน้ นา้ สวํ นผสมเหลาํ นี้มาตรี วมใหเ๎ ขา๎ กนั และน้าไปอบ ไสก๎ รอก เป็นอาหารทม่ี าจากหลกั การของเทคโนโลยีชวี ภาพ เปน็ การเกบ็ รกั ษาเน้ือสตั วโ์ ดย ใช๎เกลอื จึงเป็นการถนอมอาหารแบบหน่ึง วตั ถดุ บิ ท่สี ้าคัญในการผลิตไส๎กรอก ไดแ๎ กํ เน้ือสัตว์
4 เกลือแกง ไขมัน เกลือไนเตรต เครอื่ งเทศ และเครอ่ื งปรุงรส เกลือท้าใหร๎ สชาตดิ ีและท้าหนา๎ ที่สกดั โปรตนี แอคติน และไมโอซนิ ออกจากกลา๎ มเน้ือของสัตว์ ขณะท่ีเกลอื ไนเตรต ท้าใหไ๎ สก๎ รอกเกดิ สี และกล่ินท่ีคงตวั และป้องกันไมํให๎ไส๎กรอกเนาํ เสีย ขา๎ วหมากทา้ ได๎จากการนา้ ข๎าวเหนียวนง่ึ มาหมกั กบั รา และยีสต์ ในรูปของ ลูกแป้งเพอ่ื ใหร๎ า และยีสต์เปลี่ยนแปง้ เปน็ นา้ ตาลหรือเปน็ แอลกอฮอล์เล็กนอ๎ ย ข๎าวทห่ี มกั ไดจ๎ ะมลี กั ษณะยํุย นุมํ มีรส หวาน และมีกลนิ่ หอม หรือทีเ่ รยี กวาํ ขา๎ วหมาก เปน็ ผลติ ภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชวี ภาพท่ีลักษณะเปน็ ของเหลวใสมีรสเปรี้ยวมกั ใช๎ปรงุ อาหาร ได๎จากการหมกั ยสี ตก์ บั วตั ถดุ บิ ท่มี ี น้าตาล เชนํ ผลไมต๎ ํางๆ หรือ นา้ ตาล กากน้าตาลหรือพวกเมล็ด ธัญพชื เชํน ข๎าว ข๎าวโพด ซึ่งพวกนีจ้ ะตอ๎ งเปลย่ี นแป้งให๎เปน็ นา้ ตาลกํอนจงึ หมกั กบั ยีสต์ แล๎วจะได๎ แอลกอฮอล์ จากนั้นจงึ นา้ แอลกอฮอล์มาหมักดว๎ ยแบคทเี รยี ในกลํุม Acetobacterและกลํุม Gluconobacterในภาวะท่ีมีออกซิเจนทา้ ให๎เกิดกรดอะซติ กิ ถ๎านา้ มากลัน่ จะไดน๎ ้าสม๎ สายชูกลน่ั
5 นักวิจยั สามารถดดั แปลงพันธุกรรมของมะละกอให๎ตา๎ นทานตํอโรคใบดํางจุดวงแหวน ซ่ึง เกิดจากไวรสั ชนิดหน่งึ โดยนา้ ยนี ทส่ี ร๎างโปรตนี เปลือกไวรัส ถํายฝากเข๎าไปในเซลลม์ ะละกอ แลว๎ ชกั นา้ ให๎เปน็ มะละกอสร๎างโปรตนี ดังกลําวทา้ ใหส๎ ามารถต๎านทานตอํ เช้อื ไวรสั ได๎การทา้ มะละกอ GMOs เปน็ วิธีท่ยี อมรบั ของหลายประเทศ และถือเปน็ ความหวังหน่ึงของเกษตรกรท่กี ้าลงั ประสบปญั หาการ ระบาดของไวรสั ใบดาํ งจุดวงแหวนอยํูการทา้ มะละกอ GMOsเปน็ การเลยี นแบบการท้าวัคซนี ใหก๎ บั มะละกอ แตใํ สํเฉพาะยีนของโปรตีนที่หํอหุ๎มไวรสั เทาํ น้นั โดยใชเ๎ ทคโนโลยีทางพนั ธุวิศวกรรม สาโทหรือนา้ ขาวคอื สรุ าแชปํ ระเภทหน่งึ ทา้ จากขา๎ วชนิดตํางๆ ท่ผี าํ นการหมกั ดว๎ ยลูกแปง้ หรอื เชอื้ ราและยีสต์เพื่อเปลย่ี นแป้งในขา๎ วให๎เป็นแอลกอฮอล์โดยสาโทท่ีผาํ นกระบวนการหมกั แล๎ว จะมีแรงแอลกอฮอลไ์ มํเกนิ 15 ดกี รี
6 ผงชูรสผลิตโดยการหมกั เช้ือจลุ ินทรยี ์ การใช๎เช้ือจุลนิ ทรยี ใ์ นการผลติ กรดกลูตามคิ โดยมี หลกั การทั่วไปเชํนเดียวกับการนา้ เชอ้ื จุลินทรียม์ าใช๎ในการผลติ อาหารและยา คอื นา้ จุลนิ ทรียม์ าเลีย้ ง ในอาหารเลย้ี งเชื้อซงึ่ ประกอบด๎วยสารอาหารท่ี จา้ เปน็ ตอํ การเจรญิ เติบโตและการผลติ สารชวี ภาพ ได๎แกํ อาหารทเ่ี ปน็ แหลงํ คารบ์ อน เชํน แปง้ กากนา้ ตาลจากออ๎ ย จากบที น้าตาลกลูโคส เปน็ ตน๎ แหลํงไนโตรเจน เชนํ เกลอื แอมโมเนยี ม เกลอื แรํ และวติ ามนิ เปน็ ตน๎ เพือ่ น้าไปใชใ๎ นการปรงุ ประกอบอาหารประเภทตํางๆใหม๎ รี สชาติอรํอยตามที่ผูบ๎ รโิ ภคตอ๎ งการ ชีสหรือเนยแขง็ เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีไดจ๎ ากโปรตีนในนา้ นม เนยเหลวทา้ จากไขมันในนมซึ่งเกดิ จากการปั่นนม ไขมันจะรวมตัวกนั เปน็ เม็ด จากนั้นก็กรองนา้ ออกไป น้าไขมนั มาเติม แบคทเี รีย Steptococcus Lacticกบั Leuconostoc citrovorumซ่งึ จะทา้ ใหเ๎ นยมี กลิ่นและรสชาติเฉพาะตวั สวํ นเนยแข็งเริม่ ท้าจากเนยเหลว แตํจะใช๎ระยะเวลานานกวํา ต๎องรอจนกรดที่แบคทีเรยี สร๎างขึน้ ทา้ ใหน๎ มจบั ตวั กันเป็นกอ๎ นจากนนั้ จะเติมเอนไซมเ์ รนนินลงไป เพือ่ ชวํ ยเรํงการแข็งตวั ของนม ซึ่งจะท้า ใหม๎ ีการแยกสวํ นท่ีเป็นนา้ ซึง่ จะทา้ ใหเ๎ นยแข็งข้ึนมีการเตมิ เกลือลงไปเพื่อไลํความชื้น หลังจากน้ีจะ น้าไปบํมดว๎ ยแบคทีเรียหรือรา อกี คร้งั
7 การผลิตเบยี รเ์ ร่มิ จากการนา้ ขา๎ วมอลตม์ าบด พรอ๎ มท้ังใสํนา้ ผสมลงไปในถังผสม ถงั ผสม ต๎องเป็นตัวน้าความรอ๎ นทด่ี ี การท้าใหค๎ วามร๎อนทเ่ี หมาะสมเพือ่ ใหเ๎ อนไซมท์ ี่มีอยํใู นขา๎ วมอลต์ เปล่ียนแปง้ ไปเป็นนา้ ตาลมอลโตส (Maltose) หลงั จากน้ันจงึ แยก เอาของเหลวออกจากกากขา๎ ว ซ่งึ จะมคี วามหวานของนา้ ตาลมอลโตสอยแํู ล๎วตม๎ ใหเ๎ ดอื ด เมอ่ื ต๎มจนไดท๎ ่ีแลว๎ จะปลอํ ยใหต๎ กตะกอน หลังจากน้ันจึงท้าใหเ๎ ย็นลงพรอ๎ มทงั้ ใสยํ ีสต์และเติมอากาศเพอ่ื การเจรญิ ของยสี ต์ แล๎วนา้ ไปหมักใน ถงั หมกั นมเปร้ยี วและโยเกิร์ต เปน็ ผลิตภัณฑ์ทาง เทคโนโลยีชวี ภาพ ท่ที ้าจากนมชนดิ ตํางๆ เชํน นมสด นมพรอํ งมันเนยหรือนมถว่ั เหลอื ง โดยการหมกั นมรํวมกบั แบคทเี รยี พวกแลคโตบาซลิ ัส เอซิ โดซสิ และ สเตรปโตคอคคสั เทอร์โมฟิลลสั แบคทีเรียพวกนี้จะชํวยยํอยน้าตาลแลคโตสท่อี ยใูํ นนม ให๎กลายเป็นกรดแลคติค ทา้ ให๎เกิดภาวะกรดและมีรสเปร้ียว จะทา้ ได๎ 2 แบบ คอื นมเปร้ยี ว ท่ีมี ลกั ษณะเป็นนา้ คล๎ายเคร่อื งดม่ื อีกชนดิ หนึ่ง คอื โยเกริ ์ตทีม่ ีลกั ษณะเปน็ ของเหลวข๎น
8 มนั ฝร่งั GMOsคอื การท้าใหไ๎ ดม๎ นั ฝรงั่ มลี กั ษณะทด่ี ีขนึ้ มคี ณุ คําทางสารอาหารทเี่ พม่ิ มากข้นึ โดยไดใ๎ สยํ นี ของแบคทเี รียท่ชี ่ือ Bacillus thuringiensis แทรกเข๎าไปในยนี ของมันฝรั่ง ท้าให๎มนั ฝร่ัง GMOsมีคุณคาํ ทางสารอาหาร เพิม่ ปรมิ าณโปรตนี ทีเ่ พิม่ มากขน้ึ ปจั จบุ ันสามารถเพิ่มผลผลิตท้ังด๎านปรมิ าณและคณุ ภาพเน้อื สัตว์ โดยใช๎เทคโนโลยีด๎านอ่นื ๆ มาชวํ ยเพิม่ ผลผลติ เชนํ การใชฮ๎ อร์โมนชํวยการขุนวัว เพ่ือให๎ววั พ้นื เมืองเพศเมียมีน้าหนักเพม่ิ ขน้ึ อยํางรวดเร็วในเวลาสนั้ ๆการฉีดวคั ซนี เรํงความสมบูรณพ์ ันธแ์ุ ละเรงํ อัตราการเจริญเติบโตของ กระบอื เพือ่ ให๎กระบอื เพศเมียตกลกู ต้ังแตํอายุน๎อยได๎ลกู มาก และเรงํ อตั ราการเจริญเติบโตเพ่ิม ผลผลติ เน้อื ในกระบือเพศผู๎
9 มกี ารผลิตยาบา้ บัดโรค เชนํ การรกั ษาโรคไขกระดกู ทส่ี รา๎ งโกลบนิ ผิดปกติการดแู ลรักษาเดก็ ทีต่ ิดเชือ้ งาํ ยการรักษาผู๎ป่วยท่ีเปน็ มะเร็ง ตลอดจนการตรวจวนิ จิ ฉยั พาหะจากยีน เชํน โรคมะเร็ง โรคธาลสั ซีเมีย โรคโลหติ จาง ภาวะปญั ญาอํอน เปน็ ตน๎ มะเขอื เทศ GMOsเป็นการท้าให๎ไดม๎ ะเขอื เทศมีลกั ษณะทด่ี ีขน้ึ มีความทนทานตํอโรคมาก ขึน้ จากการทใ่ี สํ Antisense gene ของยนี ทีผ่ ลิตเอนไซม์ Polygalacturonase ทา้ ใหเ๎ อนไซม์ Polygalacturonase เมอ่ื ถกู รบกวนการแสดงออก มผี ลทา้ ใหเ๎ น้ือของมะเขือเทศมคี วามแขง็ มากขน้ึ ลดความเสียหายหรอื การบอบชา้ ขณะทา้ การขนสงํ ลง ทา้ ให๎มะเขอื เทศเนาํ ช๎าลง
10 ถ่ัวเหลอื งGMOsทา้ ใหไ๎ ดถ๎ ว่ั เหลอื งทม่ี ลี กั ษณะทีด่ ีข้นึ จากการนา้ ยนี จากแบคทเี รยี ใสลํ งไปใน ดเี อ็นเอ(DNA) ของถว่ั เหลือง ทา้ ใหถ๎ ัว่ เหลอื งมีความสามารถทีท่ นทานตํอสารเคมที ีป่ ราบวัชพืช ได๎ ดกี วําถว่ั เหลืองแบบทั่วไป กํอให๎เกิดได๎ผลผลิตของถัว่ เหลืองมจี า้ นวนมากขึ้นไปดว๎ ย 4. ชดุ แบบจาลองเทคโนโลยชี ีวภาพในชีวติ ประจาวัน ข้อมลู เพม่ิ เตมิ ในปจั จบุ นั เราได๎นา้ ความรด๎ู ๎านเทคโนโลยชี วี ภาพมาประยุกต์ใช๎ประโยชนใ์ นด๎านตาํ งๆ มากมายโดยเฉพาะส่งิ ตาํ งๆทีเ่ ราพบเห็นได๎ในชวี ติ ประจา้ วนั ดงั ตวั อยํางเชํน โทรทศั น์เคร่อื งที่ 1 อาหารจากเทคโนโลยีชวี ภาพ ภาพท่ี 1 เทคโนโลยีชีวภาพเพอ่ื แก๎ปัญหาด๎านอาหารขณะทโี่ ลกมีแนวโนม๎ ทจี่ ะเผชญิ ปัญหา การขาดแคลนอาหาร ไดม๎ กี ารนา้ เทคโนโลยีชวี ภาพ เพอ่ื แกป๎ ญั หาดา๎ นอาหาร เชํนการคดิ คน๎ อาหาร ทีใ่ หค๎ ุณคาํ ทางโภชนาการสงู ข้ึน หรือมีความหลากหลายมากขนึ้ เชํน อาหารไขมนั ต่า้ อาหารทค่ี ง ความสดไดน๎ าน อาหารทมี่ อี ายกุ ารเก็บนานขึน้ โดยไมใํ สํสารเคมี การลดโคเลสเตอรอลในไขแํ ดง และ การปรับปรุงคณุ ภาพน้ามันในพืชคาโนลา เปน็ ต๎น
11 ภาพท่ี 2 การคดิ คน๎ อาหารใหม๎ โี ภชนาการสูงขน้ึ การพัฒนาพันธข์ุ า๎ วเสรมิ ธาตุเหล็กภาวะ โลหติ จางจากการขาดธาตเุ หลก็ เปน็ ปัญหาส้าคญั ของไทย โดยเฉพาะในชวํ งวัยทีร่ าํ งกายมคี วาม ตอ๎ งการธาตุเหล็กสูง เชนํ วัยเด็ก และหญงิ ตั้งครรภ์ ศูนย์พนั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แหงํ ชาติ ได๎ปรับปรุงพนั ธขุ์ า๎ วเจ๎าสีขาว และสีมํวงเขม๎ สายพนั ธ์ใุ หมทํ ่ีมีธาตุเหล็กสงู โดยข๎าวเจ๎าสีขาว พนั ธุ์ใหมมํ ีธาตเุ หล็กสงู และข๎าวเจ๎าสีมวํ งเขม๎ มีธาตเุ หล็กสงู และยงั ผลติ ข๎าวเจา๎ หอมนลิ ทีม่ ปี ริมาณไฟ เทตต้า่ โดยวิธีการกลายพนั ธุ์ จากการทไี่ ฟเทตยบั ย้งั การดูดซมึ ของธาตเุ หล็กในกระเพาะอาหาร ขา๎ ว ทมี่ ไี ฟเทตต่า้ จึงมีธาตุเหล็กสงู ขนึ้ ภาพที่ 3 การท้าใหอ๎ าหารคงความสดได๎นานเทคโนโลยยี ืดอายกุ ารเก็บรกั ษาชิน้ ปลากะพง ขาว ปลากะพงเปน็ ปลาทน่ี ิยมบริโภคทง้ั ภายในและนอกประเทศ แตํมอี ายุการเกบ็ รักษาใน ระยะเวลาจา้ กดั ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงํ ชาติ ไดป๎ ระยกุ ต์ใช๎เทคโนโลยกี าร บรรจุแบบดัดแปลงอากาศ โดยปรับสัดสวํ นก๏าซสา้ หรับการบรรจุทเ่ี หมาะสม รวมทัง้ ได๎แนวทางการ ลดปัญหาน้าเยิ้มท่ีเกิดขึน้ กับผลิตภัณฑ์ และเกบ็ รกั ษาผลติ ภณั ฑภ์ ายใต๎การแชเํ ยน็ ท่ี 4 องศา เซลเซียส ท้าให๎ยืดอายุการเกบ็ รกั ษาชน้ิ ปลากะพงขาวไดน๎ านกวาํ 3 สปั ดาห์ ภาพที่ 4 การลดโคเรสเตอรอลในไขํแดงการผลติ ไขํไกทํ ่มี ีโคเลสเตอรอลระดบั ตา้่ โดยเชือ้ รา ขา๎ วแดง ไขํแดงในไขํไกยํ งั เป็นปญั หาส้าหรับผ๎ทู ต่ี ๎องการลดโคเลสเตอรรอล ดว๎ ยเหตนุ ้ี คณะ วทิ ยาศาสตร์ และ คณะเกษตรมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ รํวมกันคิดค๎น โมนาไรซ์ (Mona Rice)นน่ั คือ สายพันธ์ุเชือ้ ราขา๎ วแดงทห่ี มกั จากอาหารเหลวทป่ี ระกอบด๎วย แป้งมนั ส้าปะหลัง และแปง้ ถ่วั เหลือง สามารถนา้ มาเพาะเลยี้ งแบบหมักแข็งบนเมลด็ ข๎าวไดโ๎ ดยตรง การเสรมิ ข๎าวแดงจากเช้ือรา โมแนสคัสในอาหารของแมไํ กํ ชํวยลดระดับโคเลสเตอรอลในไขแํ ดง และหากเสรมิ ในอาหารไกํไขํ ตง้ั แตํ 0.5% ขน้ึ ไป จะชวํ ยลดระดบั โคเลสเตอรอลในไขแํ ดงไดก๎ วาํ 20% โทรทศั นเ์ คร่ืองที่ 2 ผลติ ภณั ฑ์ทางการเกษตร ภาพที่ 1 เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรเป็นการพฒั นาการเกษตร ด๎านพืช และสัตว์ ด๎วย เทคโนโลยีชีวภาพ เชนํ การปรบั ปรุงพนั ธพ์ุ ชื การผลิตพชื พนั ธ์ุดใี ห๎ได๎ปริมาณมากๆ การปรับปรุง พันธ์สุ ตั ว์ การควบคมุ ศัตรูพชื โดยชวี วิธี เทคโนโลยีชวี ภาพทางการเกษตร ทา้ ใหผ๎ ขู๎ ยายพนั ธสุ์ ามารถ สรา๎ งพชื และสัตวพ์ นั ธุ์ใหมํๆ ได๎รวดเร็วกวาํ กรรมวิธกี ารขยายพันธุ์แบบดัง้ เดมิ เปน็ เคร่อื งมือแบบใหมํ ท่ีให๎โอกาสทางการเกษตรและชํวยกา้ จดั อุปสรรคทม่ี อี ยูํ ลดกรรมวธิ ีทางการเกษตรที่สรา๎ งความ เสียหาย เชนํ การไถพรวน และการใช๎สารเคมีทางการเกษตร ภาพที่ 2การปรบั ปรงุ พนั ธส์ุ ตั วก์ ารพฒั นาพอํ แมํพันธก์ุ งุ๎ กลุ าดา้ จากการเลีย้ ง การขาดแคลน พอํ แมพํ ันธ์กุ ๎ุงกลุ าดา้ ขนาดใหญํ ที่เป็นปญั หาของเกษตรกร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยชี วี ภาพแหงํ ชาติ วิจัยและเก็บพอํ แมํพันธ์ุดมี ีคณุ ภาพ ข้นั ตอนสา้ คัญคอื กุ๎งทุกตวั ต๎องถูก นา้ ไปตรวจสอบโรคท่ศี นู ย์กักกนั สตั ว์น้า จากนน้ั จะถูกสงํ ไปยังศนู ย์เพิม่ จ้านวนพํอแมพํ นั ธก์ุ งุ๎ เพอ่ื ขยายจา้ นวนและตรวจสอบคุณภาพพํอแมํพนั ธุก์ ๎ุงที่มาจากการเลย้ี ง ซ่งึ จะถูกสงํ ไปโรงเพาะฟกั เพอื่ ผลิตลกู กุ๎งสงํ ให๎เกษตรกรทา้ การเลี้ยงตอํ ไป ภาพท่ี 3 การใช๎เทคโนโลยชี ีวภาพเพือ่ การเหน่ยี วน้าการตกไขํและผสมเทยี มโคนมตาม ระยะเวลาก้าหนด ปจั จุบันผลผลติ น้านมในประเทศยังไมเํ พียงพอ ปญั หาทพ่ี บคอื แมํโคไมํแสดง อาการเป็นสดั จึงพลาดโอกาสได๎รับการผสมเทยี มและตง้ั ท๎อง อนั นา้ มาซึง่ นา้ นม วธิ ีแกป๎ ัญหา คือ ใช๎
12 การเหนีย่ วน้าการตกไขํและผสมเทยี มตามเวลาที่ก้าหนด โดยไมํต๎องรอสงั เกตอาการเปน็ สัดของแมํ โค วิธนี ถ้ี กู พัฒนาโดย ศนู ยพ์ ันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงํ ชาติ ซ่ึงตํอมาได๎ด้าเนนิ การ ถํายทอดเทคโนโลยี และใหบ๎ รกิ ารไปแล๎วกับสหกรณ์ และบริษัทหลายแหงํ รวมถงึ เกษตรกรรายยํอย ท้าใหแ๎ มโํ คท่ีมีปญั หาการผสมพันธ์ตุ ดิ ยากกลับมาต้งั ท๎องได๎ ภาพที่ 4การปรับปรงุ พันธุพ์ ืชต๎านทานโรคเทคโนโลยีชวี ภาพเพอื่ การปรบั ปรุงพนั ธ์มุ ะเขอื เทศต๎านทานโรค ประเทศไทยใหผ๎ ลผลิตมะเขอื เทศต่้ากวาํ ประเทศอืน่ ๆ เนื่องจากโรคและแมลง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ได๎วจิ ัยและพัฒนาพนั ธุ์มะเขอื เทศตา๎ นทานโรค โดยนา้ เทคนคิ ดเี อน็ เอ เครือ่ งหมาย มาใช๎คดั เลอื กพันธุ์ รํวมกับการปรบั ปรงุ พันธุ์ดว๎ ยวิธีปกติ เพ่ือชวํ ยคัดเลือกพนั ธ์ุที่มี ลักษณะตามตอ๎ งการได๎อยํางรวดเรว็ และแมนํ ยา้ ผลการวิจยั ทา้ ให๎ได๎มะเขอื เทศทั้งหมด 36 สายพนั ธุ์ แบงํ เปน็ 3 กลํุมไดแ๎ กํ กลํมุ พันธสุ์ ดี าทิพย์ 3 กลมํุ พนั ธุ์ P502 และกลุํมพันธุ์ CLN399 ภาพที่ 5 การปรบั ปรงุ พันธ์พุ ชื ตา๎ นทานโรคพนั ธถ์ุ ัว่ เหลืองตา๎ นทานโรคราสนิม ซ่งึ เปน็ ปญั หาส้าคัญของการปลูกถัว่ เหลอื ง ท้าให๎เมลด็ ถ่ัวเหลืองมีคุณภาพต่า้ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชวี ภาพแหํงชาติ และกรมวิชาการเกษตร รํวมพัฒนาการใชด๎ ีเอน็ เอเคร่ืองหมายใน การศกึ ษาต้าแหนงํ ยนี ต๎านทานโรคราสนิมถัว่ เหลอื ง พบวํา พันธถุ์ ่วั เหลอื งเชยี งใหมํ 5 เปน็ แหลงํ พันธกุ รรมถั่วเหลืองต๎านทานโรคราสนิม และพบดีเอ็นเอเครอ่ื งหมาย 3 คํทู ส่ี ัมพนั ธก์ บั ลกั ษณะความ ตา๎ นทานโรคราสนิม สามารถนา้ ไปใช๎ในการคัดเลือกและปรบั ปรงุ พนั ธไุ์ ดอ๎ ยาํ งแมํนยา้ ภาพท่ี 6 การปรับปรงุ พันธ์พุ ชื เพอ่ื ทนตํอสภาพแวดล๎อมการถํายทอดพนั ธขุ์ า๎ วหอมมะลิ 105 ทนน้าทวํ มฉับพลัน ปญั หาน้าทํวมนาขา๎ วฉบั พลนั ทเี่ กิดขึน้ เป็นประจา้ เกือบทุกปี เปน็ สาเหตทุ ้า ให๎ตน๎ ข๎าวทป่ี ลูกอยูตํ ายหลังมีนา้ ทวํ มขงั เพียงไมํกี่วัน ศนู ยพ์ ันธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพ แหํงชาติ รวํ มกบั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล๎านนา จึงได๎ ปรับปรงุ สายพนั ธขุ์ า๎ วขาวดอกมะลิ105 ให๎สามารถทนตํอน้าทํวมขงั ได๎นาน15-21 วนั ภาพที่ 7 การปรบั ปรุงพันธ์ุพืชเพื่อทนตํอสภาพแวดลอ๎ มการปรบั ปรงุ พนั ธขุ์ า๎ วเหนียว กข6 สา้ หรบั นาปรงั ข๎าวเหนยี วพันธ์ุ กข6 มคี ณุ สมบตั ิเดนํ ทข่ี า๎ วสุกอํอนนมํุ และมกี ลิ่นหอม แตปํ ัญหาคือ เปน็ ขา๎ วนาปีท่ไี วตํอแสง จึงปลกู ไดเ๎ ฉพาะชวํ งฤดูนาปี (ฤดฝู น) ศนู ย์พนั ธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแหงํ ชาติ รวํ มกับศูนยว์ ิจยั ข๎าวเชยี งใหมํ ทา้ การวิจยั และพฒั นาปรับปรงุ พนั ธุข์ ๎าวให๎ สามารถปลูกไดท๎ ้ังฤดูนาปีและนาปรงั กลําวคือใหม๎ ีคณุ สมบตั ิไมไํ วตอํ แสง การทดสอบเบื้องต๎นพบวาํ ผลผลติ องคป์ ระกอบ และคุณสมบตั ทิ างกายภาพ ใหผ๎ ลดไี มแํ ตกตาํ งจากพนั ธขุ์ า๎ วเหนยี ว กข6 เดมิ ภาพที่ 8 การปรบั ปรุงพันธพุ์ ชื การขาดแคลนอ๎อยพันธ์ดุ ี ท่เี หมาะสมในแตลํ ะพ้นื ทเ่ี ปน็ ปญั หาส้าคัญในอตุ สาหกรรมอ๎อย และนา้ ตาล มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ทา้ การเก็บรวบรวมสาย พนั ธ์อุ ๎อยทมี่ อี ยใูํ นประเทศ ทั้งสายพันธุ์อ๎อยเชงิ การค๎า และสายพนั ธ์ุออ๎ ยป่า ไวท๎ ี่สถานีผสมพันธุ์ออ๎ ย จ.กาญจนบรุ ีกวํา 1,280 สายพนั ธุ์ เนอื่ งจากพืน้ ที่ดังกลาํ วออ๎ ยเกอื บทุกสายพนั ธุ์ออกดอกได๎ โทรทัศน์เครื่องท่ี 3 สุขภาพดีด๎วยเทคโนโลยีชีวภาพ ภาพท่ี 1 การวิจยั พฒั นาและใชป๎ ระโยชนเ์ ทคโนโลยชี ีวภาพด๎านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข การวจิ ยั พฒั นาและใชป๎ ระโยชนเ์ ทคโนโลยชี ีวภาพด๎านการแพทย์และสาธารณสุข เชนํ การพัฒนา วคั ซนี ยาและชดุ ทดสอบตรวจวนิ ิจฉัยโรค เป็นความจ้าเป็นส้าหรบั ประเทศไทยในการพง่ึ ตนเอง ระยะยาว ในการป้องกัน ควบคมุ รกั ษาโรคภัยไข๎เจบ็ ทีเ่ ป็นปญั หาตอํ สขุ ภาพของประชาชนไทย
13 นอกจากนน้ั ยงั เป็นประโยชนใ์ นการสํงเสริมสขุ ภาพ ใหป๎ ระชาชนมีสุขภาพแขง็ แรง มีคณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี ตลอดจนเปน็ การคุ๎มครองความปลอดภยั ของประชาชน ภาพท่ี 2 การพัฒนายา และวัคซนี ศนู ย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแหํงชาติ ศกึ ษา กลไกและวิวฒั นาการการดือ้ ยาของเช้อื ทก่ี ํอโรคมาลาเรียหรือโรคไขจ๎ บั ส่ัน พบวาํ การด้ือยาเกิดขน้ึ เนื่องจากการกลายพนั ธุ์ของยนี ทา้ ให๎ประสทิ ธิภาพของยาไพรเิ มธามีนฆําเช้ือมาเลเรียลดลง การ คน๎ พบนี้นา้ ไปประยุกต์ออกแบบยาให๎สารยับย้ังใหมสํ ามารถจบั กบั เอนไซม์กลายพันธ์ุได๎อยาํ งแนบ แนนํ กวํายาไพริเมธามนี เดิม ภาพที่ 3 การพฒั นายา และวคั ซีนศูนยพ์ ันธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี ีวภาพแหํงชาติ ได๎ พฒั นาเทคโนโลยกี ารสร๎างไวรัสไข๎หวัดนกสายพันธ์ุ H5N1 ดว๎ ยวธิ ีรีเวิรส์ เจเนตกิ ส์ ( Reverse Genetics)โดยการสรา๎ งไวรัสไข๎หวดั ใหญํ และไวรสั ไข๎หวดั นกทม่ี คี วามรนุ แรงตา้่ เหมาะส้าหรับใช๎ เป็นสายพนั ธ์ใุ นการผลติ วัคซนี และหากมกี ารเปล่ียนแปลงของสายพนั ธ์ุไวรสั ก็สามารถดัดแปลง ไวรัสตน๎ แบบนีเ้ พ่ือใช๎เป็นสายพันธต์ุ ๎นแบบสา้ หรบั ผลิตวัคซนี ชนดิ ใหมํไดอ๎ ยาํ งรวดเร็ว ภาพท่ี 4 การตรวจและวินจิ ฉยั โรคการตรวจและพยากรณ์โรคไขเ๎ ลอื ดออกชนิดรุนแรง ปญั หาการรักษาผู๎ปว่ ยโรคไขเ๎ ลือดออกได๎ไมทํ นั ทํวงที เนอื่ งจากไมํสามารถวนิ จิ ฉัยการติดเช้อื ไวรัสเดง็ กไี ดต๎ ง้ั แตรํ ะยะเริม่ แรกทีผ่ ู๎ปว่ ยติดเช้ือ ศูนยพ์ ันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยชี ีวภาพแหงํ ชาติ ศึกษาการใชโ๎ ปรตีนNS1 เนอ่ื งจากขณะติดเช้อื ไวรัสเด็งกีภายในเซลล์สร๎างโปรตนี NS1 แลว๎ ปลํอย ออกสํกู ระแสเลือด จากความร๎นู น้ี ้าไปสูกํ ารพัฒนาชุดตรวจโรคไขเ๎ ลือดออกท่ชี ํวยท้านายความรนุ แรง ของโรคโดยการวดั ปริมาณ โปรตีนNS1 ในซรี ม่ั ของผู๎ป่วยโดยวธิ ี ELISA ทา้ ให๎การวนิ จิ ฉัยการติดเชอ้ื ไวรสั เดง็ กีรวดเร็ว มีประโยชนต์ ํอการรักษาได๎ทนั ทวํ งที ภาพที่ 5 การตรวจและวนิ จิ ฉัยโรคเลปโตสไปโรซสิ หรือโรคฉ่ีหนู มีสาเหตุจากเช้อื แบคทีเรีย Leptospirainterrogansการผลติ โมโนโคลแอนติบอดีท่ีมคี ณุ สมบตั จิ ้าเพาะตอํ เชอื้ กลุมํ ตํางๆ ทพ่ี บ บํอยในประเทศไทย และน้ามาพัฒนาเปน็ ชุดทดสอบ Latex Agglutination (LA)สา้ หรับเชือ้ เลปโตส ไปราํ นอกจากนยี้ งั ออกแบบตัวตรวจจับจ้าเพาะในการเพมิ่ จา้ นวนยนี และศึกษารูปแบบลายพมิ พ์ดี เอ็นเอ ของเช้ือเลปโตสไปราํ ทม่ี ีซีโรไทป์ตํางกัน มปี ระโยชน์ในการแยกสายพันธุ์ และหาตน๎ ตอการ แพรํระบาดในเชงิ ระบาดวิทยา ภาพท่ี 6การตรวจและวนิ ิจฉยั โรควัณโรคแบบทราบผลเร็ว โดยตรวจหาดเี อ็นเอของเช้อื วัณ โรคในส่งิ สงํ ตรวจเพอื่ ทราบชนิดของเชื้อมยั โคแบคทีเรยี ในเวลาอันรวดเรว็ โดยใชต๎ วั จับจ้าเพาะตอํ เชือ้ แตํละชนดิ ท่ีพัฒนาข้ึน พบวําสามารถตรวจพบเช้ือจากดีเอ็นเอเรม่ิ ต๎นจากเซลล์เพยี ง 20 เซลล์ ภาพที่ 7 การตรวจและวินจิ ฉยั โรคการตรวจภาวะปญั ญาออํ นของทารกในครรภ์ ภาวะ ปัญญาออํ นแตํก้าเนดิ เป็นปญั หาสา้ คญั ทางสาธารณสขุ ของทุกประเทศ จากการศกึ ษาพบวาํ ความ ผิดปกตขิ นาดเลก็ ทบ่ี ริเวณสํวนปลายโครโมโซม เปน็ สาเหตุการเกดิ ภาวะปญั ญาอํอนชนดิ ทีไ่ มเํ ข๎ากับ กลํมุ อาการใดๆ การตรวจวเิ คราะห์ด๎วยวธิ ที ่ัวไป ไมํสามารถหาความผิดปกตสิ วํ นนี้ได๎อยาํ งแมนํ ยา้ การพัฒนาวธิ ตี รวจหาความผิดปกตขิ องปลายโครโมโซม ใชเ๎ ทคนิคพนื้ ฐานท่มี คี วามแมนํ ยา้ สงู โดย ตรวจดูการเรอื งแสงของสารเรอื งแสงท่ีย๎อมติดกบั ตวั ตรวจจบั ดเี อ็นเอทีจ่ า้ เพาะสา้ หรับแตลํ ะปลาย ของโครโมโซม ภาพท่ี 8 การตรวจและวนิ จิ ฉัยโรคการตรวจวนิ ิจฉัยโรคพยาธใิ บไม๎ในตบั มคี วามส้าคัญในแงํ การควบคมุ และการรกั ษาโรค โดยการตรวจวนิ ิจฉัยใช๎วิธีการตรวจไขํพยาธใิ นตัวอยํางอุจจาระ ซึง่ ตอ๎ งใชท๎ กั ษะและความแมํนยา้ สงู ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยแี หงํ ชาติ และคณะแพทยศาสตร์
14 มหาวทิ ยาลยั ขอนแกํน พฒั นาวธิ ีพซี ีอาร์ โดยใชต๎ ัวตรวจจับจ้าเพาะทอ่ี อกแบบจากช้ินสวํ นดีเอน็ เอที่ จ้าเพาะของพยาธใิ บไม๎ในตับ เพ่อื ตรวจหาสารพนั ธกุ รรมจากไขขํ องพยาธใิ บไม๎ในอุจจาระ การตรวจ วธิ นี ีม้ ีความไวและความจ้าเพาะสงู สามารถตรวจหาไขํในอจุ จาระในตัวอยาํ งควบคมุ ไดแ๎ ม๎มไี ขพํ ยาธิ เพยี ง 1 ใบ ภาพท่ี 9การตรวจลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมเพอื่ ลดความเสยี่ งจากพิษยากดภูมิค๎ุมกนั ในการ ปลกู ถาํ ยไตในการปลูกถาํ ยไต เมอ่ื มีการผาํ ตัดแล๎วผู๎ปว่ ยต๎องไดร๎ ับยากดภมู คิ ุม๎ กันเพอื่ ป้องกนั การ เกิดปฏกิ ิริยาระหวํางเน้อื เยอื่ ของผูป๎ ่วยกบั ไตที่ไดร๎ บั บรจิ าค จากการศกึ ษาพบวาํ ยากดภมู ิ Azathioprine มรี าคาถกู แตใํ ห๎ผลการรักษาดี และเปน็ ยาท่ีถกู ยอํ ยสลายดว๎ ยยนี ท่คี วบคมุ การสร๎าง เอนไซม์Thiopurine S-Methyltransferase (TPMP) การศกึ ษาความสัมพนั ธ์ระหวาํ งลักษณะทาง พนั ธุกรรมของยีนและการทา้ งานของเอนไซม์ TPMTในเมด็ เลือดแดงกับผลการรักษา และความ เสย่ี งในการเกิดพษิ จากการใช๎ยา Azathioprine ในผูป๎ ่วยปลกู ถาํ ยไต จนสามารถมาประยกุ ต์ใชใ๎ น การประมาณขนาดยาทเ่ี หมาะสมสา้ หรบั ผป๎ู ่วย ภาพที่ 10การตรวจลักษณะทางพันธุกรรม เพื่อลดความเสี่ยงและป้องกันโรคกระดูกพรนุ ซึ่งเปน็ โรคท่ีพบบํอยในสตรวี ัยหมดประจา้ เดือน น้าไปสํโู รคกระดกู เปราะ อันเป็นสาเหตุของความ ทพุ พลภาพ เปน็ ความสญู เสียทางเศรษฐกจิ ศูนย์พันธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยแี หงํ ชาติ พัฒนา วธิ ีการตรวจทางพนั ธกุ รรมเพ่อื ลดความเส่ยี งการเกิดโรคกระดูกพรนุ โดยหลักการคอื ยีนทม่ี ีความ ผดิ ปกติจะปฏิสัมพนั ธ์ระหวํางยนี ด๎วยกันเอง และปฏสิ มั พนั ธก์ ับสิง่ แวดล๎อมด๎วย ถ๎าพบยนี เครอ่ื งหมายของโรค อาจนา้ ผลนี้ไปใชว๎ างแผนปอ้ งกนั เพ่อื ลดความเสีย่ งของการเป็นโรคในอนาคต โทรทศั นเ์ คร่ืองที่ 4 สขุ ภาพดีดว๎ ยเทคโนโลยีชวี ภาพ ภาพท่ี 1เทคโนโลยีชวี ภาพเพ่ือสงิ่ แวดล๎อม ทา้ ให๎โลกของเราใบนีน้ ําอยยูํ ่งิ ขึ้น ไดแ๎ กํ การลด การใช๎สารเคมีที่เป็นผลเสยี ตํอสง่ิ แวดล๎อม ตัวอยาํ งเชนํ การน้าของเสยี จากส่งิ มีชวี ติ ไปท้าปยุ๋ หรอื การ ผลิตปุ๋ยชวี ภาพจากสารอนิ ทรยี ์ และการใชจ๎ ุลนิ ทรีย์ในการก้าจัดขยะหรือน้าเสยี ภาพท่ี 2 การฟ้นื ฟสู ภาพแวดล๎อมการฟน้ื ฟูสภาพดิน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของไทยเป็น แหลํงสะสมของช้ันดนิ เคม็ ไมเํ หมาะสมสา้ หรับท้าการเกษตรเทําใดนัก ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีแหํงชาติ ทา้ การทดสอบและประเมนิ หญ๎าสายพันธุ์รูซ่ี กินนสี ีมวํ งและเนเปียรแ์ คระ ซึง่ เปน็ หญ๎าอาหารสัตวท์ ่ปี รบั ปรุงสายพนั ธเ์ุ พอ่ื ใหท๎ นความเค็มโดยการฉายรังสี หลังจากท้าการวิจยั พบวําหญา๎ ดังกลําวสามารถปรับตัวได๎ในดนิ เค็มได๎ดขี น้ึ นอกจากนย้ี ังมกี ารคดั พันธ์ุพชื ท่ีทนเคม็ ได๎ดี ในสภาพปิดที่ปลอดเช้อื อีกด๎วย ภาพท่ี 3การบ้าบดั นา้ เสีย ศูนยพ์ นั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยแี หํงชาติ พัฒนาระบบบา้ บดั น้าเสียแบบตรงึ ฟิล์มจลุ นิ ทรยี ไ์ มํใชอ๎ ากาศแบบประสิทธภิ าพสูง ซงึ่ เปน็ ระบบปดิ ไมตํ อ๎ งใช๎พลังงานใน การบ้าบดั มาก ไมมํ ีปัญหาเรื่องกลน่ิ ท้าให๎ลดพื้นท่ีทีใ่ ชใ๎ นการบา้ บดั ลงจากบอํ เปดิ ได๎มากกวําคร่ึงหน่งึ ลดปรมิ าณสารเคมที ่ใี ชใ๎ นระบบ และทา้ ให๎เกิดกา๏ ซชวี ภาพท่มี ี มีเทนเป็นสํวนประกอบน้าไปใช๎ผลิต ไฟฟา้ หรือน้ามันเตาได๎ ภาพท่ี 4 การควบคมุ ศัตรพู ชื และยงุ ด๎วยชีวนิ ทรยี ์ แบคทเี รียบาซลิ ลัส สเฟยี รคิ ัส เปน็ แบคทีเรียทม่ี ีอยตูํ ามธรรมชาติจะสร๎างโปรตนี ออกฤทธิ์ฆําลกู นา้ ยุงก๎นปลอํ ง ศูนย์พันธุวศิ วกรรมและ เทคโนโลยีแหงํ ชาติ พัฒนาการสรา๎ งโปรตีนฆําลกู นา้ ยุงให๎มปี รมิ าณสูงและมีความเป็นพษิ มากข้ึน โดยการเช่ือมตอํ ยีนท่ีท้าหน๎าท่ีสร๎างโปรตีนแตลํ ะชนิดเข๎าด๎วยกนั ดว๎ ยวธิ กี ารทางพนั ธุวิศวกรรม โดย
15 นา้ ยนี ท่ีเชือ่ มตอํ กนั นีใ้ สํเขา๎ ไปในจุลชีพทเี่ ปน็ เซลล์เจา๎ บา๎ นเพื่อให๎จุลชีพทส่ี ร๎างขึ้นใหมํ มคี วามเป็นพิษ มากกวาํ โปรตีนทีไ่ ด๎จากเชื้อตามธรรมชาติ ภาพที่ 5การพฒั นาชวี ินทรยี ์เพ่อื กา้ จดั ศตั รูพืช การนา้ สงิ่ มชี วี ิต หรอื ผลิตภัณฑส์ ิง่ มชี วี ิตมา เพาะเลีย้ งแลว๎ น้ากลับมาใชใ๎ นการควบคมุ ศัตรพู ชื เรียกวาํ การใชช๎ วี ินทรีย์ ศนู ย์พันธวุ ิศวกรรมและ เทคโนโลยีแหํงชาติ ค๎นหาจลุ ินทรียส์ ายพนั ธุท์ ่มี ีศักยภาพจากธรรมชาติ น้ามาเพาะเลีย้ ง พัฒนาเปน็ ผงหรือน้า เพอ่ื สะดวกตอํ การใชง๎ าน ตัวอยํางแบบจา้ ลองผลติ ภณั ฑเ์ ทคโนโลยีชีวภาพ 1) ปลากะพงขาว ปลากะพงขาวเนําเสียไดง๎ ําย เนอ่ื งจากประกอบดว๎ ยโปรตนี และความชืน้ สูง รวมท้งั อาจเกิด อาหารเปน็ พษิ เนอื่ งจากจลุ ินทรยี ท์ ่ีกอํ ใหเ๎ กดิ โรคอันเกิดจากการขนสํงหรอื การวางจ้าหนํายทไี่ มํ เหมาะสม ดงั น้นั กรรมวิธีหรอื เทคโนโลยกี ารยดื อายกุ ารเก็บรักษา การบรรจุแบบดดั แปลงบรรยากาศ จงึ เป็นแนวทางในการยดื อายุการเกบ็ รักษาและสามารถลดการใช๎สารกนั บดู รวมทัง้ สรา๎ งความ หลากหลายใหก๎ บั ผลิตภณั ฑใ์ นทอ๎ งตลาด การบรรจชุ นดิ ดดั แปลงบรรยากาศ ส้าหรับยืดอายกุ ารเกบ็ รักษาช้นิ ปลากะพงขาวระหวาํ งการเก็บรักษาทอี่ ุณหภมู ติ ้า่ โดยท้าการตรวจสอบองคป์ ระกอบทาง เคมี สมบตั ิทางกายภาพ จุลินทรีย์ รวมทง้ั สมบัตทิ างด๎านประสาทสมั ผัสของชน้ิ ปลากะพงขาว ระหวํางการเกบ็ รักษา 2) กุ๎งกลุ าดา้ การขาดแคลนพอํ แมํพนั ธ์ุกุ๎งกลุ าด้าเป็นปญั หาของเกษตรกร ศนู ย์พันธวุ ศิ วกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแหํงชาติ วจิ ยั และเกบ็ พอํ แมํพันธุด์ มี ีคณุ ภาพ ขน้ั ตอนส้าคัญคือ กุง๎ ทุกตวั ตอ๎ งถกู น้าไปตรวจสอบโรคที่ศูนย์กกั กนั สตั ว์น้า จากน้นั จะถกู สํงไปยงั ศูนยเ์ พมิ่ จ้านวนพอํ แมํพนั ธ์กุ ุง๎ เพอ่ื ขยายจา้ นวนและตรวจสอบคุณภาพพอํ แมํพนั ธ์ุกุ๎งที่มาจากการเล้ียง ซง่ึ จะถกู สํงไปโรงเพาะฟัก เพื่อ ผลิตลกู กง๎ุ สงํ ให๎เกษตรกรทา้ การเล้ียงตอํ ไป
16 3) ไขํแดง ไขไํ กํเป็นอาหารท่มี โี ปรตนี สูง มกี รดอะมโิ นและกรดไขมนั ทจี่ า้ เปน็ สวํ นใหญนํ ิยมนา้ ไขํไกมํ า ประกอบอาหาร โดยทั่วไปไขํไกมํ ีปรมิ าณคอลเลสเตอรอลประมาณ 213 มลิ ลิกรัม (จากไขํแดง ทงั้ หมด) ซึง่ ผู๎บรโิ ภคมคี วามกงั วลหากได๎รับคอลเลสเตอรอลมาก จะเสย่ี งตอํ การเกดิ โรคหลอดเลือด หัวใจอุดตนั มีการวิจยั ศกึ ษาชนิดและปรมิ าณเสน๎ ใยอาหารเพอ่ื ชวํ ยลดคอเลสเตอรอลในไขแํ ดง พบวําผลผลติ ไขแํ ดงมปี รมิ าณโคเลสเตอรอลทเ่ี หมาะสม 4) ถัว่ เหลือง ปรับปรุงพันธ์ุถ่ัวเหลอื งตา๎ นทานโรคราสนมิ ซึ่งเปน็ ปัญหาสา้ คญั ของการปลูกถว่ั เหลือง ท้าให๎เมลด็ ถ่ัวเหลอื งมีคณุ ภาพต่้า จึงมีการพัฒนาการใชด๎ เี อน็ เอเครอื่ งหมายในการศึกษาต้าแหนํงยีน ตา๎ นทานโรคราสนิมถั่วเหลือง พบวํา พนั ธถ์ุ ว่ั เหลืองเชียงใหมํ 5 เปน็ แหลงํ พนั ธกุ รรมถวั่ เหลือง ต๎านทานโรคราสนิม และพบดเี อ็นเอเครอื่ งหมาย 3 คํทู ีส่ มั พนั ธก์ บั ลกั ษณะความต๎านทานโรคราสนิม สามารถนา้ ไปใช๎ในการคัดเลือกและปรับปรงุ พันธุไ์ ด๎อยํางแมนํ ยา้ 5) วคั ซนี ไข๎หวัดนก ปัจจุบนั มีวัคซีนปอ้ งกนั ไขห๎ วดั นกเปน็ วคั ซีนทฉี่ ดี ใหส๎ ัตว์ปกี ปอ้ งกันการตดิ เช้ือระหวํางสัตว์ ปีกแตํยังไมมํ ปี ระสิทธภิ าพพอเพราะเพียงแตํลดปรมิ าณเช้อื ทีจ่ ะออกมาในสารคัดหลัง่ และยงั มี ปัญหาอืน่ ๆในประสทิ ธิภาพของวัคซนี อีกหลายประการกรมปศุสตั วแ์ ละรฐั บาลไทยจงึ ยังไมํแนะน้า การฉีดวคั ซนี ในสัตวป์ กี ขณะนีข้ ณะนม้ี วี คั ซีนป้องกันไข๎หวดั นกในคนผลติ ในสหรฐั อเมรกิ าเป็น วคั ซนี ป้องกันการตดิ เชือ้ ในคนจากไวรสั ไขห๎ วดั นกสายพนั ธุ์H5N1
17 6) ยาตา๎ นมาลาเรีย ยาที่ใชร๎ ักษา หรือใช๎ปอ้ งกนั โรคไข๎มาลาเรียซงึ่ มีสาเหตเุ กิดจากการตดิ เช้ือโปรโตซวั เข๎าสูํ ราํ งกาย หลงั จากถูกยงุ กน๎ ปลอํ งทีม่ ีเชื้อโปรโตซวั นี้กดั การรกั ษาโรคมาลาเรียทีผ่ ํานมาสามารถทา้ ได๎ อยํางมปี ระสิทธิภาพโดยการใชย๎ าตา๎ นมาลาเรยี โดยสมยั กํอนใช๎ยาควินิน ( Quinine) แตปํ ัจจุบนั ยา ชนิดน้กี ็ใช๎ไมไํ ด๎ผลแล๎ว เนือ่ งจากเชือ้ มาลาเรียไดพ๎ ัฒนาจนมภี มู ติ ๎านทานยา ส้าหรับประเทศไทยนัน้ ได๎ประสบปญั หาเชอ้ื มาลาเรียดอ้ื ตอํ ยามานาน โดยเฉพาะเชือ้ ชนดิ ฟัลซปิ ารมั่ จนกระทงต๎องพิจารณา ใช๎ยาหลายชนิดรวํ มกันเชํน การใช๎ยาเมโฟลควนิ รํวมกบยาอาร์ตซิ เู นท การใชเ๎ ตตรา๎ ซัยคลนิ รวํ มกบั ควนิ ิน รวมทง้ั การปรับเปลี่ยนขนาดยา การปรบั เปลี่ยนระยะเวลาในการบรหิ ารยา เพอ่ื ใหอ๎ ตั ราการ รักษาหายขาดเพิ่มขึน้ 7) ขา๎ วเหนียวพนั ธ์ุ กข 6 ไดจ๎ ากการปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ โดยการใช๎รังสชี กั น้าให๎เกิดการกลายพันธ์ุ โดยใช๎รังสีแกมมาอาบ เมล็ดพนั ธ์ุข๎าวขาวดอกมะลิ 105 แล๎วนา้ มาปลูก จนได๎ข๎าวสายพนั ธุ์ดี ใหผ๎ ลผลิตสูง ตา๎ นทานโรคใบ จุดสีนา้ ตาล คณุ ภาพหงุ ต๎มดี มีกลิ่นหอม โดยใชว๎ ธิ ีชกั น้าพนั ธ์ุพชื ใหเ๎ ปล่ยี นกรรมพันธุ์โดยใช๎รงั สี 8) ข๎าวขาวดอกมะลิ 105
18 การปรับปรงุ พนั ธุ์ขา๎ วขาวดอกมะลิ 105 โดยวธิ ผี สมโดยใช๎ DNA markers ที่วางตวั ใกล๎กับ ยีนควบคมุ ความทนน้าทํวม ความหอม ความเตย้ี จะไดข๎ ๎าวขาวดอกมะลิ 105 ท่ีมียีนทนน้าทวํ ม ต๎น เตยี้ และไมํไวแสง และยงั คงรกั ษาคณุ ภาพหงุ ตม๎ เอาไว๎ได๎ 9) อ๎อย การปรับปรงุ พนั ธ์ุอ๎อยเป็นขน้ั ตอนส้าคัญในการพัฒนาพนั ธอ์ุ ๎อยให๎ไดพ๎ ันธท์ุ ่ใี ห๎ผลผลิตและ คณุ ภาพสงู เปน็ ทย่ี อมรับของเกษตรกรและโรงงาน ทนทานตํอโรคและแมลง มีการสุกแกํเกิดข้ึน พรอ๎ มเพรยี งกัน และสามารถรกั ษาระดับน้าตาลและคุณภาพในลา้ อ๎อยอยูํไดน๎ านโดยขน้ั ตอนการ ปรบั ปรุงพนั ธเุ์ ชนํ การสรา๎ งความแปรผันทางพันธุกรรม การคัดเลอื ก เป็นต๎น 5. บอรด์ แสดงขอ้ มูลยนี บาบดั และไมโครแอเรย์ของดเี อน็ เอ ขอ้ มลู เพ่มิ เติม ยีนบา้ บัด คือ การรักษาโรค หรอื ความผดิ ปกติทางพันธุกรรมโดยการนา้ สารพันธกุ รรม หรือยีนทท่ี า้ งานไดเ๎ ข๎าสเูํ ซลลผ์ ป๎ู ่วย เพื่อชดเชยการทา้ งานของยนี ที่ไมทํ ้างาน หรอื ยีนทีผ่ ดิ ปกติ การ ใสยํ ีนปกติเขา๎ ไปท้างานแทนทย่ี นี ทผ่ี ดิ ปกติจะตอ๎ งมีโมเลกลุ ที่พายีนเข๎าไปในเซลล์ เรียกวํา เวคเตอร์ ซึง่ มักเป็นไวรสั ท่ดี ัดแปลงพนั ธุกรรมให๎พาดีเอ็นเอมนุษยเ์ ข๎าไปได๎ ไวรสั จะเขา๎ ไปในเซลล์เปา้ หมาย อาทเิ ซลล์ตบั หรอื ปอด และสํงถาํ ยยนี ทีพ่ ามาน้นั ไปสเํู ซลลม์ นษุ ย์ โปรตีนท่ีผลติ จากเซลล์นน้ั จะเป็น
19 โปรตนี ปกติ ทา้ ใหเ๎ ซลล์เปา้ หมายท้างานเปน็ ปกตใิ นอนาคต โรคทีม่ ีความเกีย่ วข๎องกับทางพันธุกรรม เชนํ โรคมะเรง็ โรคเบาหวาน และธารสั ซเี มีย อาจมที างรกั ษา และบา้ บัดใหห๎ ายขาดได๎ ไมโครแอเรย์ของดเี อน็ เอแม๎วําทุกเซลล์ในราํ งกายมนุษยม์ ีขอ๎ มูลทางพันธุกรรมหรอื ยนี ท่ี เหมือนกัน แตํมีการแสดงออกไมํเหมือนกัน หากยีนมกี ารทา้ งานทผี่ ดิ ปกตไิ ปอาจสงํ ผลใหเ๎ กดิ โรคบาง ชนิด เชํน โรคมะเรง็ การศึกษาวํายนี ใดท่ีทา้ งานตํางกนั เปน็ เรอื่ งยาก แตปํ ัจจบุ ันสามารถทา้ ไดง๎ าํ ย ขึ้นด๎วยเทคโนโลยีไมโครแอเรย์ของดเี อน็ เอ ซึ่งเปน็ เทคนคิ ท่ใี ชใ๎ นการตรวจสอบระดับการแสดงของ ยนี โดยรวมทงั้ หมดได๎อยาํ งแมํนย้าหลกั การคือการจบั กันอยาํ งจา้ เพาะเจาะจงของสายดเี อน็ เอสอง สายทเ่ี ป็นคูํกัน ดีเอ็นเอหรือยนี ท่ที ราบบทบาทหนา๎ ที่แล๎วจะถูกติดอยํูบนฐานซ่งึ เป็นแผํน กระจกสไลด์เรยี กแผํนกระจกน้วี ําแผนํ ไมโครแอเรย์ ซ่ึงเม่ือน้าดเี อ็นเอมาทา้ ปฏิกริ ิยาเพื่อให๎จับคํกู นั ดีเอ็นเอท่ีมลี า้ ดับนวิ คลโี อไทด์เขา๎ คํกู บั ดีเอน็ เอท่ตี ิดอยูํบนแผํนไมโครแอเรยจ์ ะสามารถจบั คกํู ันได๎ จากนั้นน้าแผนํ ไมโครแอเรย์นี้ไปเขา๎ เครือ่ งอาํ น 6.เครือ่ งเลน่ การโคลนน่ิง การโคลน (Clone) คือกระบวนการสบื พนั ธโุ์ ดยไมอํ าศัยเพศ เป็นการสร๎างสัตว์ตวั ใหมํขนึ้ มา โดยใช๎นิวเคลยี สจากเซลลเ์ ต็มวัยของสัตว์เพศอะไรกไ็ ด๎ใสํลงไปทเี่ ซลล์สืบพนั ธขุ์ องสตั ว์เพศเมยี หรือ เซลล์ไขํทนี่ ้าสารพันธุกรรม หรือ DNA ออกไปกอํ น จากนัน้ นา้ เซลลส์ บื พันธ์นุ ้นั ไปใสใํ นตัวเพศเมยี เมอ่ื สัตวค์ ลอดออกมาจะมีรปู รํางหน๎าตา ลกั ษณะภายนอก และพนั ธกุ รรมเหมือนกับสตั ว์ตัวทเ่ี ปน็ เจา๎ ของเซลลเ์ ดิมทุกประการ
20 7. เคร่ืองเล่นพันธวุ ศิ วกรรม ข้อมูลเพิม่ เติม พันธวุ ศิ วกรรม (genetic engineering) คือกระบวนการทไ่ี ดน๎ า้ ความร๎ูตาํ งๆทไี่ ด๎จาก การศึกษาชวี วทิ ยาระดบั โมเลกุลน้ามาประยุกต์ใชใ๎ นการปรบั เปล่ยี นดัดแปลงเคลือ่ นย๎ายตรวจสอบ สารพันธกุ รรม(DNA)ยีน(gene) และผลติ ภัณฑข์ อง สารพนั ธกุ รรม อยํางพวก อาร์เอ็นเอ (RNA) และ โปรตนี ของสง่ิ มีชวี ติ เพอ่ื น้ามาใชใ๎ ห๎เปน็ ประโยชน์ พนั ธุวศิ วกรรม เปน็ การตดั ตํอยีนหรือเป็นการเคลอ่ื นย๎ายยีนจากสิ่งมชี วี ิตชนิดหนึ่งใสํเขา๎ ไป กบั ยนี ของสิ่งมชี ีวิตอกี ชนดิ หนึง่ น่นั คือทา้ ให๎เกิดการถาํ ยทอดของ ยีนและลักษณะที่ ยนี นัน้ ได๎ทา้ การ ควบคุมอยูํ เพอื่ ให๎สิง่ มชี วี ติ ทีถ่ ูกน้ายนี ใสํเขา๎ ไปมียนี ทมี่ ีคณุ สมบตั ติ ามท่ีตอ๎ งการ โดยอาจท้าการเพ่ิม
21 ปริมาณยีนขนึ้ อกี เพื่อให๎มีปริมาณทมี่ ากเพยี งพอทจี่ ะน้าไปท้าใหไ๎ ดผ๎ ลผลิตมีคุณภาพที่ดีขน้ึ และทา้ ใหไ๎ ด๎ปรมิ าณของผลผลิตท่ีสงู ขนึ้ อีกด๎วย โดยที่พนั ธุวิศวกรรมอาจจะท้าให๎เกิดส่งิ มชี ีวิตรูปแบบใหมทํ ่ี อาจไมเํ คยปรากฏในธรรมชาตมิ ากอํ น 8.บอรด์ ข้อมลู การค้นพบเซลล์ 9. แบบจาลองโครงสร้างสายดเี อน็ เอ
22 ขอ้ มลู เพ่มิ เติม ดีเอ็นเอ (DNA) หรอื สารพนั ธกุ รรม เป็นสารโมเลกลุ ใหญํ มีลกั ษณะเหมอื นบันไดเวยี นขวา ซ่ึงมีองคป์ ระกอบส้าคัญ คือไนโตรจนี ัสเบส เปน็ เบสทม่ี ไี นโตรเจนเป็นองค์ประกอบ คือ พีวรนี ได๎แกํ อะดีนนี (A) กับกวานนี (G) และ ไพรมิ ิดนี ได๎แกํ ไทมนี ( T) กบั ไซโทซีน ( C) น้าตาลดอี อกซไี รโบส และสารประกอบฟอสเฟส ดีเอน็ เอ สามารถจา้ ลองตัวเองไดเ๎ กิดเปน็ พอลนี วิ คลโี อไทดส์ ายใหมซํ งึ่ มี คณุ สมบตั เิ หมอื นสายเดมิ ดเี อ็นเอมหี นา๎ ท่ีควบคมุ การสังเคราะห์โปรตีนซึง่ เป็นตวั ก้าหนดลกั ษณะท่ี สงิ่ มชี ีวิตแสดงออก 10. แบบจาลองเซลล์
23 ภาพตัวอยา่ งหน้าจอโครงสรา้ งของเซลล์ ข๎อมลู เพิ่มเตมิ เยอ่ื ห๎มุ เซลล์ ( Cell membrane)มีลักษณะเป็นเยื่อบางๆ หอํ หม๎ุ สวํ นตาํ งๆ ของเซลล์ โดย คอยควบคุมการผํานเข๎าออกของสารระหวํางภายในเซลล์และภายนอกเซลล์ มีสมบัติเปน็ เยือ่ เลือกผําน คือ ยอมให๎สารบางชนดิ เทาํ นัน้ ผํานเข๎าออกได๎ เย่ือห๎ุมเซลลส์ ามารถยืดและหดได๎ แตํ ถ๎าได๎รบั แรงดนั มากๆ เยื่อหม๎ุ เซลลจ์ ะขาดและท้าใหเ๎ ซลลต์ ายได๎ นวิ เคลียส (Nucleus)เซลล์ทุกเซลลต์ ๎องมีนวิ เคลียส เพราะมีหนา๎ ท่คี วบคุมการทา้ งานของ เซลลแ์ ละการถํายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของสง่ิ มีชีวิต เพราะในนวิ เคลียสมสี ารพันธุกรรมที่
24 เรียกวําดีเอ็นเอ อยํใู นโครโมโซม นิวเคลียสของเซลล์ทวั่ ๆ ไปจะมีลักษณะเป็นกอ๎ นคอํ นขา๎ งกลม มี เยือ่ หุม๎ เซลล์ เรียกวาํ ยูคาริโอตกิ เซลล์ (Eukaryotic cell) สํวนสิง่ มชี ีวติ บางชนดิ นิวเคลยี สไมมํ เี ยือ่ หุ๎ม ดังน้นั ดีเอน็ เอจึงกระจายอยภูํ ายในไซโทพลาสซึม ลักษณะนี้เรียกวาํ โปรคาริโอตกิ เซลล์(Prokaryotic Cell) ราํ งแหเอนโดพลาซมึ ( Endoplasmic reticulum) รํางแหเอนโดพลาซมึ แบํงออกเปน็ 2 ชนดิ คือ ราํ งแหเอนโดพลาซึมทม่ี ีไรโบโซม และแบบท่ีไมมํ ีไรโบโซมโดยแบบทีม่ ไี รโบโซมเกาะอยูเํ ปน็ แหลงํ สร๎างโปรตนี และเอนไซม์ นอกจากน้ียังทา้ หน๎าทค่ี วบคุมการลา้ เลยี งสารระหวํางนิวเคลยี สกบั ไซโทพลาสซมึ ดว๎ ย ไมโทคอนเดรยี (Mitochondria) มีลักษณะเป็นก๎อนกลมๆ มผี นังห๎ุม ประกอบด๎วยเย่อื 2 ชนั้ ท้าหน๎าท่ีเป็นแหลงํ สรา๎ งพลังงานใหแ๎ กํเซลล์ โดยกระบวนการหายใจระดับเซลล์
25 ไรโบโซม (Ribosome)เปน็ ออร์เเกเนลล์ขนาดเลก็ ท่ีไมํมเี ย่ือหุ๎มประกอบด๎วยหนํวยยํอย 2 หนวํ ยคอื หนวํ ยยํอยขนาดเล็กและหนวํ ยยํอยขนาดใหญมํ รี ปู ราํ งเปน็ กอ๎ นไรโบโซมประกอบดว๎ ย โปรตีนเเละ RNA ทม่ี สี ัดสวํ นใกลเ๎ คยี งกันท้าหน๎าทส่ี ังเคราะหโ์ ปรตีนหนวํ ยยํอยท้ังสองชนดิ ของไรโบ โซมอยํูแยกกันและจะมาตดิ กันขณะมีการสังเคราะห์โปรตนี แวคิวโอล(Vacuole)เป็นออร์แกเนลล์ทีม่ ีลกั ษณะเปน็ ถงุ โดยแวคิวโอลจะมเี มมเบรนเรียกวาํ โทโนพลาสตห์ อํ หม๎ุ ภายในมีสารตํางๆ บรรจุอยูํ โดยท่ัวไปจะพบในเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ชนั้ ต่า้ ใน สตั วช์ น้ั สงู ไมคํ ํอยพบ
26 เซนทรโิ อล (Centriole)เปน็ ออร์แกเนลลร์ ปู ทรงกระบอก ไมมํ เี ย่ือหม๎ุ ไมํพบในเซลล์พืช แตํ จะพบในโปรตีสตบ์ างชนดิ หนา๎ ท่คี อื สร๎างสายสปินเดลิ ซ่ึงทา้ หนา๎ ทค่ี วบคุมการเคล่ือนท่ี ของ โครโมโซมในขณะเซลลแ์ บํงตัว ควบคุมการเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟลกเจลลมั ไลโซโซม ( Lysosome) เป็นออรแ์ กเนลล์ทมี่ เี ย่ือห๎มุ ชน้ั เดียว รปู รํางกลมรี เป็นเวสเิ คิลที่ สร๎างจากกอลจิคอมเพล็กซ์ไลโซโซมพบในโพรทิสตบ์ างชนดิ และพบในสตั ว์เกือบทุกชนิด (ยกเว๎น เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดงของสตั วเ์ ลย้ี งลกู ด๎วยน้านม) ไมพํ บในเซลลพ์ ืช ไลโซโซมมเี อนไซมย์ ํอยอาหาร มี เอนไซม์ท้าลายสิ่งแปลกปลอม และท้าลายออร์แกเนลล์ท่ีเสอื่ มสภาพ ไซโทรพลาซมึ (Cytoplasm)เป็นสวํ นท่ลี อ๎ มรอบนิวเคลยี สอยูํภายในเยื่อหุม๎ เซลล์ ไซโทรพลาซมึ ประกอบด๎วยสวํ นที่ส้าคญั 2 สวํ น คือ ออร์แกเนลล์เเละไซโทรซอล มอี อรแ์ กเนลล์ หลายชนดิ กระจายอยูตํ าม ต้าแหนงํ ตํางๆ ในไซโทรพลาซมึ
27 กอลจิคอมเพล็กซ์ (Golgi complex) เปน็ กลํมุ ของถุงกลมแบนขนาดใหญํ มีในเซลลพ์ ชื และ เซลลส์ ัตวช์ ้นั สูงเกอื บทกุ ชนิดทา้ หน๎าทีเ่ ตมิ กลํมุ คาร์โบไฮเดรตใหก๎ บั โปรตีนหรือลพิ ิดท่สี งํ มาจาก ER เกิดเป็นไกลโคโปรตีนและไกลโคลพิ ดิ แลว๎ สรา๎ งเวสเิ คลิ บรรจุสารเหลําน้ไี วเ๎ พอื่ งสงํ ออกไปภายนอก เซลลห์ รือเก็บไวใ๎ ช๎ภายในเซลล์ดงั นัน้ เวสิเคิลจึงเปน็ สวํ นหนึง่ ของกอลจคิ อมเพล็กซท์ ่สี ร๎างเปน็ ถุง ออกมา 11.เคร่อื งเลน่ หนเู ปน็ ลกู ใครกันนะ
28 ข้อมูลเพิม่ เติม ลายพมิ พ์ดีเอน็ เอ (DNA Fingerprinting) คือ การตรวจสอบความแตกตํางในระดบั ดเี อน็ เอ (DNA) โดยอาศยั หลักการท่วี ํา โครงสร๎างทางเคมขี องดีเอน็ เอในมนุษย์มลี กั ษณะเหมือนกนั แตํมี ความแตกตาํ งกนั ท่ลี ้าดบั ของคเํู บส (base pairs) ซงึ่ มีจ้านวนหลายล๎านคูํในดีเอน็ เอของมนุษยแ์ ตํละ คน ลายพมิ พ์ดีเอ็นเอน้ีจึงสามารถนา้ มาตรวจพิสจู น์บุคคลไดอ๎ ยํางชดั เจนและแมนํ ย้า ดีเอ็นเอเป็นที่ เก็บรวบรวมพนั ธกุ รรมทเ่ี ฉพาะตวั ตนของสง่ิ มีชีวิต ลายพิมพด์ เี อ็นเอของสิง่ มชี ีวิตแตํละชนดิ หรือแตํ ละตวั ตนในส่งิ มีชีวิตชนิดเดียวกัน กจ็ ะแสดงความแตกตํางที่เฉพาะตัวให๎เหน็ แตกํ ็ขน้ึ อยกํู บั ประสิทธภิ าพของวิธกี ารท่ีท้าใหเ๎ กิดรายพิมพ์ดีเอ็นเอประโยชนข์ องเทคโนโลยลี ายพมิ พ์ดเี อ็นเอ เชนํ ใชพ๎ ิสูจน์ความสมั พนั ธ์ทางสายเลอื ด ใชใ๎ นการพสิ ูจนห์ ลักฐานทางนติ ิวิทยาศาสตร์ เป็นตน๎ 12.ชดุ สอื่ เทคโนโลยีการหมัก ขอ้ มูลเพ่มิ เติม การหมกั เป็นการถนอมอาหารที่ใชจ๎ ลุ นิ ทรยี ต์ ํางๆ เชนํ แบคทีเรยี ยสี ต์ หรือ รา ซ่ึงเปน็ เชอ้ื เริม่ ตน๎ ซ่งึ อาจเป็นเช้ือบรสิ ทุ ธิ์ เชือ้ ผสม เชํน ลูกแปง้ โคจิ หรือเชือ้ ท่ปี นเปอ้ื นจากธรรมชาติ
29 เปลี่ยนแปลงสารอนิ ทรยี ใ์ นอาหารเกิดเปน็ สารตํางๆ เชนํ กล่นิ เอทิลแอลกอฮอล์ กรดอินทรีย์ คารบ์ อนไดออกไซด์ การหมักสามารถเกดิ ได๎ท้ังในสภาวะทม่ี ีอากาศ หรอื ไมํมีอากาศโดยการหมัก อาหารมีวัตถุประสงคด์ งั น้ี 1) เพอ่ื การถนอมอาหาร ยืดอายกุ ารเกบ็ รักษา และท้าใหอ๎ าหารปลอดภัยตํอการนา้ ไป บรโิ ภค เพราะผลติ ผลท่ีจุลนิ ทรียส์ ร๎างข้นึ เชนํ กรดอินทรีย์ เอทิลแอลกอฮอล์ แบคทรี โิ อซนิ เป็นต๎น ซงึ่ สามารถยบั ย้งั หรือชะลอการเจรญิ ของจุลินทรียท์ ที่ ้าใหอ๎ าหารเส่ือมเสยี และจุลนิ ทรียท์ ี่ทา้ ใหเ๎ กิด โรค ทา้ ใหอ๎ าหารปลอดภัย ยดื อายกุ ารเก็บรกั ษา สามารถเกบ็ รกั ษาอาหารเพอื่ บริโภคนอกฤดูกาล กระจายสินคา๎ ได๎กวา๎ งขวางมากขึน้ เชํน ผกั ดอง กิมจิ ผลไมด๎ อง แหนม และไวน์ เป็นต๎น 2) เพม่ิ คุณคาํ ทางโภชนาการของอาหารดว๎ ยการหมกั โดยหมกั ดว๎ ยจุลนิ ทรยี โ์ พรไบโอติก เชนํ lactic acid bacteriaในผลติ ภัณฑ์ เชนํ นมเปรี้ยวโยเกริ ต์ แหนมกมิ จิเป็นต๎น มสี รรพคุณที่ดี ตอํ สขุ ภาพ เชํนลดคอเลสเตอรอล ชวํ ยการท้างานของระบบยํอยอาหารสรา๎ งสารอาหาร เชํน กรดอะมโิ น ท่จี ้าเปน็ วติ ามินกรดไขมันทจี่ า้ เป็นซง่ึ มปี ระโยชน์ตํอสุขภาพ อีกท้ังการหมักยังท้าให๎ อาหารยํอยได๎งาํ ย ขน้ึ ดว๎ ย 3) ท้าใหเ๎ กดิ ผลติ ภณั ฑใ์ หมแํ ละเพิ่มมูลคาํ ใหก๎ ับผลติ ภัณฑ์ จุลนิ ทรียส์ ร๎างเอนไซมไ์ ด๎ หลากหลายชนดิ ระหวาํ งการหมัก เพ่อื ยอํ ยสลายสารตัง้ ต๎น เชํน คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ลพิ ิด ซง่ึ มี โมเลกลุ ใหญํ เกิดเป็นสารใหมํทมี่ ีโมเลกลุ เล็กลง ระเหยได๎งํายขน้ึ ท้าใหอ๎ าหารหมกั มีคณุ ภาพทาง ประสาทสัมผสั เชํน สี กลิ่น และรสชาตทิ ่ีแตกตาํ งจากวัตถดุ ิบและไมํสามารถเลยี นแบบไดจ๎ ากการ แปรรูปอาหารด๎วยวธิ อี น่ื เชนํ นัตโตะ ว๎ุนมะพรา๎ ว สีแดงในเตา๎ หย๎ู ี้ การหมกั และการบํม ไวน์ วิสกี้ บรั่นดี เนยแข็ง ทา้ ให๎ผลติ ภณั ฑ์ มกี ลนิ่ หอม จากสารใหก๎ ลิน่ รสหลายชนิดผสมกนั รสชาติ กลมกลํอมย่ิงขึน้ เปน็ การเพิม่ มูลคาํ ผลิตภัณฑ์ใหส๎ ูงกวําวตั ถดุ บิ หลายเทาํ ตัว
30 4) ปลารา๎ หมายถึง ผลิตภณั ฑ์ปลาหมักทไ่ี ด๎จากการน้าปลาสดมาหมักกบั เกลอื และข๎าวค่ัว หรือร้าข๎าวในอตั ราสวํ นท่ีเหมาะสม กอํ นจะหมักในภาชนะนาน 7-8 เดอื น หรอื มากกวําเปน็ ปี จนได๎ เนอ้ื ปลาสนี า้ ตาลหรือสเี หลอื ง เนื้อและน้ามรี สเค็ม คนอีสานเรยี กปลาแดกจัดเป็นอาหารทอ๎ งถน่ิ ท่ี ด้ังเดมิ ผลติ กันเฉพาะในภาคอีสาน และประเทศลาว แบคทีเรียแลคตคิ เปน็ จลุ ินทรยี ์สํวนใหญทํ พ่ี บไดท๎ ่ัวไปในอาหารหมัก เชํน นมเปรย้ี ว กะหล้่าปลีดอง แตงกวาดอง เนยแข็ง เป็นต๎น เชอ่ื กนั วําแบคทเี รยี กลํุมนี้เปน็ ตัวการสา้ คญั ที่ทา้ ใหเ๎ กิด กระบวนการหมักในอาหาร เน่ืองจากสามารถเปล่ียนน้าตาลให๎เปน็ กรดอินทรียแ์ ละสารอน่ื ๆได๎ ซ่งึ มี ผลโดยตรงกับกลน่ิ รสชาติและเนอื้ สมั ผสั ของอาหาร นอกจากนแี้ บคทเี รยี แลคติคหลายชนดิ ยังมีสวํ น ส้าคัญในการยับยั้งจุลนิ ทรยี ท์ ่ีทา้ ใหอ๎ าหารเนาํ เสยี และจุลินทรียท์ ี่ท้าใหเ๎ กิดโรคอีกดว๎ ย
31 ไหปลารา๎ เปน็ ภาชนะดินเผา มีรูปราํ งป้อม ปากแคบ กลางปอ่ ง กน๎ สอบไหปลารา๎ จะเปน็ ภาชนะเคลือบส้าหรบั กันความช้นื หรือเป็นภาชนะดินเผาเน้อื แกรงํ หรอื อาจเรียกวาํ ภาชนะดินเผา เน้อื หนิ ซง่ึ ลักษณะของเนอ้ื ภาชนะดนิ เผาประเภทนี้จะแกรํงคลา๎ ยหนิ เพราะเน้ือดนิ หลอมละลาย ตดิ กัน นา้ ไมสํ ามารถซมึ ผํานได๎ โดยภาชนะประเภทนเ้ี ผาด๎วยอุณหภมู ิประมาณ 1,220 – 1,280 องศาเซลเซียส หรอื ระหวาํ ง1,200 – 1,350 องศาเซลเซยี ส ไหปลาร๎าจะมีลกั ษณะพิเศษที่แตกตํางจากไหประเภทอ่ืนคือ บริเวณรอบปากไหจะท้าเป็น ขอบซ๎อนกันสองชนั้ มีประโยชน์คือใช๎ส้าหรับใสขํ ้ีเถ๎าเพ่อื ปอ้ งกนั แมลงวันตอม และปิดปากไหโดย การใชผ๎ ๎าหนา ๆ หํอขเ้ี ถา๎ เพ่ือปอ้ งกนั แมลงวันลงไปวางไขํเชนํ กัน ในภาคอีสานเรยี กไหปลาร๎าวาํ ไห ปลาแดก หรอื ไหปลาแหลก กระบงุ มลี กั ษณะเปน็ รปู วงกลมท่ีสวํ นปากมีขอบไมไ๎ ผํประกบ และขัดดว๎ ยเส๎นหวาย เปน็ ชวํ งๆ โดยรอบ สํวนคอ สานเปน็ ลายขัดทบึ เพ่ือให๎แลดูสวยงามและแข็งแรง ตวั กระบุงสานด๎วย เนอื้ ไมไ๎ ผํ สานเปน็ ลายสอง สวํ นก๎นกระบงุ สานเปน็ รูปส่ีเหล่ียมจตั รุ สั มกี า๎ นไมไ๎ ผเํ หลาเปน็ เส๎นขดั รอง ไว๎เปน็ รูปกากบาท เพื่อเสรมิ ให๎แขง็ แรง กระบงุ เป็นภาชนะทใี่ ช๎ส้าหรับใสํขา๎ วเปลือกและตวงข๎าว โดยทว่ั ไปมีอยูํ 3 ขนาด รูปทรงแตกตํางกนั ไปตามลักษณะของการใชส๎ อย กระบงุ ขนาดใหญมํ ีหู สา้ หรบั รอ๎ ยเชือก เพ่ือใชห๎ าบข๎าวหรอื สิ่งของไปไหนมาไหน กระบุงขนาดกลางใชส๎ ้าหรบั ตวง หรอื โกยข๎าว และกระบุงขนาดเลก็ ใช๎สา้ หรบั งานเบด็ เตล็ด
32 กระบวยตักนา้ กะลามะพร๎าว เปน็ ภาชนะส้าหรบั ตักนา้ หรอื ของเหลวตาํ งๆในอดตี ชาวบ๎าน มกั จะท้ากระบวยตกั น้าขึน้ ใช๎เองโดยจะใชว๎ สั ดุธรรมชาติ เชํน ไม๎ไผํกะลามะพรา๎ ว ซึ่งมีสวํ นประกอบ 2 สํวน คือตวั กระบวยและด๎ามจบั สา้ หรบั การทา้ กระบวยตักน้าจากกะลามะพร๎าว กระชอน เปน็ เครอื่ งจกั สานมีลักษณะเป็นรโู ปรงํ สานด๎วยไมไ๎ ผํเส๎นเล็กๆ ขัดสานกันให๎มรี ู เล็กๆ ท่ัว ๆ ไปขึงตดิ กับขอบไมไ๎ ผํ หวาย ไม๎ มีทง้ั รูปกลมและส่เี หลย่ี มมหี ยู าวยนื่ ออกมาเพอ่ื ส้าหรับ วางพาดปากหม๎อหรอื ปากชามเพอื่ รองรับน้ากะทิ และใชเ๎ ป็นทีจ่ บั ส้าหรบั ใช๎รํอนสิ่งของตํางๆ โดยมี ขนาดหลายขนาดแตกตาํ งกันขึ้นอยูํกบั การใชง๎ าน เชํน กรองกะทหิ รอื นา้ ปลารา๎ กรองเมล็ดพนั ธุพ์ ืช หรือตากเมล็ดพชื เล็กๆ ใช๎ช๎อนกง๎ุ ปู ปลา ตามบรเิ วณแหลงํ น้า หรอื รอํ นข๎าวลบี เปน็ ต๎น กระด๎ง เปน็ อุปกรณท์ ใ่ี ชใ๎ นการลอํ นขา๎ วหรือตากเมล็ดพันธ์ุตํางๆ นอกจากนี้ ยังใช๎รองใน การทา้ ขนม ตัวกระดง๎ ท้ามาจากไมไ๎ ผํ และในการสานกระดง๎ น้นั จะสานจากสวํ นกลางใหเ๎ รียบรอ๎ ย กํอน แล๎วจากนน้ั จะทา้ การตดั ขอบ และดดั ให๎โคง๎ เปน็ วงกลมเพอื่ ทจ่ี ะท้าสนั กระดังหรือขอบกระดง๎ ซึง่ การทา้ ขอบกระดง๎ นัน้ เพ่อื ใหก๎ ระดง๎ แขง็ แรงทนทานกบั การใชง๎ าน
33 หวดนง่ึ ข๎าว ภาชนะน่งึ ข๎าวเหนยี วจากไม๎ไผํ เปน็ เครื่องใชอ๎ ยํางหนึ่งทเี่ กีย่ วขอ๎ งกบั ชีวติ ประจ้าวันของชาวบา๎ นทกุ วันจะตอ๎ งใชห๎ วดนึ่งข๎าวเปน็ ประจา้ การน่ึงขา๎ วเหนียวด๎วยหวดนั้น นบั วําเปน็ วธิ งี าํ ยและสะดวกท่สี ดุ ดังนน้ั หวดน่ึงขา๎ วจงึ เปน็ เคร่ืองใช๎ทผ่ี ู๎ผลติ สามารถท้ารายไดใ๎ หก๎ บั ครอบครวั โดยท้าเป็นอาชีพเสริมได๎ เพราะนอกจากจะใช๎หวดนงึ่ ข๎าวแล๎ว ยังสามารถดดั แปลงหวด เป็นเครือ่ งใช๎อยํางอื่นได๎ดว๎ ยเชนํ ประดษิ ฐเ์ ป็นโคมไฟตกแตํงร๎าน ประดิษฐ์เปน็ หน๎ากากแสดงผีตา โขน และส่ิงอ่ืนได๎อีกมากมาย กระตบิ ข๎าว คือ ภาชนะในการเก็บอาหารทเ่ี ป็นงานหตั ถกรรมอนั ทรงคุณคําชนิดหนงึ่ ทีม่ าก ด๎วยภูมิปญั ญาทอ๎ งถนิ่ เป็นของทีม่ ปี ระจา้ บา๎ นของชาวไทยทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือและ ภาคเหนอื มายาวนาน ใชส๎ า้ หรับบรรจขุ ๎าวเหนยี วทน่ี ง่ึ สกุ แล๎วหรือใช๎เกบ็ เมลด็ พนั ธพ์ุ ชื หรอื แมแ๎ ตใํ ช๎ เป็นเครอ่ื งประดับในครัวเรือนหรอื ประดับสถานทีต่ าํ งๆ เป็นเคร่อื งจักสานทท่ี ้าจากวสั ดธุ รรมชาติ เชนํ ไมไ๎ ผํ ใบจาก ใบตาล ใบลาน ตน๎ คล๎า หรือ จากต๎นพืชทมี่ ีลักษณะยาวเรยี ว
34 ขอ๎ ง เป็นเครอ่ื งจกั สานชนิดหนง่ึ สานดว๎ ยผวิ ไมไ๎ ผํ ปากแคบอยํางคอหม๎อ มฝี าปดิ เปดิ ได๎ เรยี กวาํ ฝาขอ๎ ง ฝาข๎องมชี นดิ ท่ที ้าด๎วยกะลามะพรา๎ ว และใช๎ไม๎ไผสํ านเปน็ รปู กรวย ปลายกรวย แหลมปลอํ ยเปน็ ซไ่ี ม๎ไว๎เรียกวาํ งาแซง ข๎องใชส๎ า้ หรบั ใสํ ปลาปู ก๎ุง หอย กบ เขียด เป็นตน๎ สวิงเปน็ อุปกรณท์ ใี่ ช๎ชอ๎ นกง๎ุ ปู ปลาบางชนิด ถกั เป็นตาขําย หรือราํ งแหถี่ ลกั ษณะเป็นถุง โดยขอบปากสวิงใช๎ไม๎ไผํ หรอื เหล็กเส๎น หรอื หวาย ดัดเป็นวงกลม ไซ เปน็ เครอ่ื งมือดกั สัตว์นา้ โดยมากดกั ปลาในกลุํมปลาเลก็ ปลานอ๎ ย ใชง๎ านในแหลงํ น้าไมํ ลึก มกั เปน็ แหลงํ น้าไหลและเป็นการเปิดชํองระบายน้าเขา๎ ออกตามคันนา ไซมีหลายรูปทรง ตง้ั ชอ่ื ตามรูปทรงนน้ั แม๎วําจะมรี ปู ลักษณ์ทตี่ ํางกัน แตมํ ีลกั ษณะรํวมกนั คอื สานเปน็ ทรงกระบอกและทา้ ปากทางเข๎าเปน็ งาแซง (ซีไ่ ม๎เสย้ี มปลายแหลม รปู ทรงคล๎ายกรวยทบี่ บี แบนๆ ทา้ ให๎ปลาเข๎าได๎ แตํ
35 วาํ ยสวนความคมของปลายไมอ๎ อกมาไมํได๎)ไซตาํ งๆ มกั ไมํต๎องใช๎เหย่ือเพราะจะดกั ปลาทีต่ ๎องไหลใน กระแสน้า เว๎นแตํไซกบท่ตี อ๎ งมเี หยื่ออยาํ งลกู ปลา ลูกปู 13. บอร์ดส่ือแสดงข้อมลู ชวี จริยธรรม ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชวี ภาพ ขอ้ มูลเพ่มิ เติม ชีวจรยิ ธรรม หมายถึงการปฏบิ ตั ติ อํ ส่ิงมีชวี ติ อยาํ งมคี ณุ ธรรม ไมทํ ้ารา๎ ย หรอื ทา้ อนั ตรายตํอ สตั วห์ รือมนษุ ยเ์ พ่ือการศกึ ษาหรือการวจิ ยั เชํนการใชส๎ ตั ว์ทดลอง ผู๎ใช๎สัตวต์ อ๎ งตระหนักถึงคณุ คาํ ของชวี ิตสตั ว์ ตระหนกั ถึงความแมํนย้าของผลงานโดยใชส๎ ตั วจ์ า้ นวนน๎อยที่สุด ไมขํ ัดตํอกฎหมายและ นโยบายการอนรุ ักษ์ป่า ตระหนักวาํ สตั ว์เปน็ สิ่งมชี วี ติ เชํนเดียวกบั มนุษย์ ตอ๎ งบนั ทึกการปฏบิ ัตติ อํ สตั วไ์ ว๎เปน็ หลกั ฐานอยาํ งครบถ๎วน อาวุธชีวภาพ เป็นมหนั ตภัยทค่ี ุกคามมวลมนษุ ยอ์ ยํางมาก สิ่งมีชวี ติ ท่ีน้ามาใชเ๎ ป็นอาวธุ ชีวภาพได๎แกพํ วกจุลนิ ทรยี ์ ทเ่ี ป็นเชื้อโรค และสารพิษท่ีสกดั จาก สิ่งมชี วี ติ การโคลนมนษุ ยว์ งการแพทย์มกี ารวิจยั การโคลนเอ็มบรโิ อของคน โดยมเี ป้าประสงค์เพือ่ นา้ อวยั วะไปทดแทนผป๎ู ว่ ย เชนํ ไต แตกํ ็เปน็ การทา้ ให๎มนุษย์โคลนมีอวัยวะไมํครบ บางประเทศจึงไมํ สนบั สนนุ โดยเหตนุ ีท้ กุ ประเทศทว่ั โลกจึงห๎ามการโคลนมนษุ ย์ สิง่ มีชีวิต GMOsและอ่ืนๆเปน็ ตน๎
36
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: