การใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะพฒั นาการอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ดว้ ยกจิ กรรมการเรยี นร้แู บบรว่ มมอื เทคนคิ STAD ส�าหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นเทศบาล 1 วัดพรหมวหิ าร อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชยี งราย THE USE OF EXERCISE PACKAGE FOR DEVELOPMENT OF READING OBSCURE THAI SPELLING RULES BY USING LEARNING STAD TECHNIQUE FOR PRATHOMSUKSA 2 STUDENTS OF THESABAN 1 WAT PROM WIHAN SCHOOL IN MAE SAI DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE สังวาลย์ จนั ทร์เทพ1*, ยพุ ิน จนั ทร์เรอื ง2 และ อญั ชลี เท็งตระกลู 3 Sangwan Chanthep1*, Yupin Chanroung2 and Anchalee Thengtragul3 มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งราย 80 ถ.พหลโยธนิ ต.บ้านดู่ อ.เมอื งเชียงราย จ.เชียงราย 57100 1.2.3 Chiangrai Rajabhat University, 80 Pahonyothin Road, Baan Du Sub-district, Muang District, Chiang Rai Province, 57100 1.2.3 *Corresponding author E-mail: [email protected] (Received: Feb 23, 2019; Revised: Jun 12, 2019; Accepted: Jun 24, 2019) บทคดั ย่อ การวิจัยน้ี มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะพัฒนา การอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เพื่อศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านสะกดค�าโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่านตัวสะกด ไม่ตรงมาตราด้วยกิจกรรมการเรียนรู้เทคนิค STAD และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ทม่ี ตี อ่ การใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทกั ษะพฒั นาการอา่ นตวั สะกดไมต่ รงมาตราดว้ ยกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ทคนคิ STAD ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเทศบาล 1 (วดั พรหมวหิ าร) อา� เภอแมส่ าย จงั หวดั เชียงราย ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 1 (วัดพรหมวิหาร) อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 3 ห้องเรียน จ�านวนนักเรียน 104 คน กลุ่มตัวอย่าง เปน็ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/3 จา� นวน 34 คน เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั เปน็ แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ 1นักศึกษาหลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์ 2รองศาสตราจารย์ สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์ 3ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์
24 วารสารบณั ฑิตวจิ ยั JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) การอา่ นตวั สะกดไมต่ รงมาตรา จา� นวน 4 ชดุ ชดุ ละ 8 แบบฝกึ แผนการจดั การเรยี นรู้ จา� นวน 4 หนว่ ย หนว่ ยละ 6 แผน แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กอ่ นเรยี น-หลงั เรยี น (Pre-test–Post-test) แบ่งเป็นการอ่านออกเสียง 40 ค�า แบบเลือกตอบ จ�านวน 20 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 40 คะแนน และแบบส�ารวจความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนา การอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราด้วยกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบร่วมมอื เทคนิค STAD จา� นวน 10 ข้อ ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะเรื่องการอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แม่กก แมก่ ด แมก่ น แมก่ บ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นเทศบาล 1 (วดั พรหมวหิ าร) อา� เภอแมส่ าย จงั หวดั เชียงราย มีค่า E1/ E2 เท่ากับ 84.83/85.67 ซ่ึงมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ท่ีก�าหนด 80/80 เป็นไป ตามสมมุตฐิ านที่ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนเทศบาล 1 (วัดพรหมวิหาร) หลังได้รับการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการ อ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มีคะแนนค่าเฉลี่ย เท่ากับ 18.26 คิดเป็นร้อยละ 85.66 สงู กว่าเกณฑ์ทตี่ ั้งไว้ มีนยั สา� คัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 3. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่านตัวสะกด ไม่ตรงมาตราด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มีค่าเฉล่ียระดับความพึงพอใจ เท่ากับ 2.60 อยู่ในระดับมาก คา� สา� คญั : แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ, ตวั สะกดไมต่ รงมาตรา, กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เทคนคิ STAD ABSTRCT The study aimed as: 1) to develop and validate the efficiency of the exercise package for development of reading obcure Thai spelling Rules by using learning STAD technique 2) to compare the learning achievements before and after implementation of the exercise package for development of reading obcure Thai spelling Rules by using learning STAD technique and 3) to examine the students’ satisfaction towards the implementation of exercise package for development of reading obcure Thai spelling Rules by using learning STAD technique. The population was 104 Prathomsuksa 2 students. The samples were 34 students selected by purposive sampling from Prathomsuksa 2/3. The research instruments were 4 sets of the exercise package for development of reading obcure Thai spelling Rules and each set contained 8 practice sets, 4 units of the lesson plan and each unit contained 6 lessons, the achievement test (pre- post- test) included 40-word reading aloud test, 20-item multiple-choice and the 10-item students’
วารสารบณั ฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 25 ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) satisfaction questionnaire towards the implementation of the exercise package for development of reading obcure Thai spelling Rules, the results showed that: 1. The exercise package for development of reading obcure Thai spelling rules for Prathomsuksa 2 students showed the efficiency scores (E1/E2) at 84.83/85.67 which were higher than the 80/80 standard criteria and agreed with the set hypothesis. 2. The learning achievement of the after implementation of the exercise package for development of reading obcure Thai spelling rules by using learning STAD technique for Prathomsuksa 2 students showed the posttest mean at 18.26 accounting 85.66% which were higher than the set criteria and were statistically significant at .05. 3. The students after implementation of the exercise package for development of reading obcure Thai spelling rules by using learning STAD technique showed their satisfaction at the high level accounting for 2.60. KEYWORDS: Thai Obscure Spelling Rules, Exercise Package, Learning STAD Technique บทน�า เขยี นไมไ่ ด้ อา่ นไมค่ ลอ่ ง เขยี นไมค่ ลอ่ ง ในขณะนี้ เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ครูผู้สอนทุกคนจะต้อง ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจ�าชาติ ร่วมมือกันไม่ใช่เฉพาะแต่ครูภาษาไทยเท่านั้น เปน็ สมบตั ทิ างวฒั นธรรมอนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ ต้องร่วมมือร่วมใจกันแก้ปัญหาเพ่ือให้เยาวชน เอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคน ผู้เป็นอนาคตของชาติมีการพัฒนาหรือได้รับ ในชาติให้มีความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการ การแกไ้ ขตงั้ แตช่ นั้ ประถมศกึ ษาการอา่ นสะกดคา� ติดต่อส่ือสารเพื่อสร้างความเข้าใจและความ เป็นวิธี การสอนหนึ่งท่ีจะท�าให้นักเรียนมี สัมพันธ์ที่ดีต่อกันเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญา ความเช่ือม่ันว่าจะอ่านได้แม่นย�าและเขียน ของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี ได้ถูกต้อง การอ่านสะกดค�าเป็นกระบวนการ สนุ ทรยี ภาพ เปน็ สมบตั ลิ า้� ค่าควรแก่การเรยี นรู้ ขั้นพ้ืนฐานของการน�าเสียง พยัญชนะต้น สระ อนรุ กั ษ์และสบื สานให้คงอย่คู ่ชู าตไิ ทยตลอดไป วรรณยุกต์ และเสียงตัวสะกด มาประสม (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. กรมวชิ าการ, 2552) เรียงกันท�าให้ออกเสียงต่าง ๆ ท่ีมีความหมาย ในภาษาไทยเพราะ ในการสอนแจกลูกประสม การอา่ นสะกดคา� ภาษาไทยเปน็ พน้ื ฐาน ค�าจะด�าเนินไปด้วยกันอย่างประสมกลมกลืน ที่ส�าคัญของผู้เรียน ถือว่าเป็นทักษะที่มี เ พ่ื อ ใ ห ้ นั ก เ รี ย น ไ ด ้ ห ลั ก เ ก ณ ฑ ์ ท า ง ภ า ษ า ความส�าคัญ เพื่อใช้ใน การเรียนรู้ในระดับชั้น ทง้ั การอา่ นและการเขยี นไปพรอ้ มกนั (กระทรวง ประถมศึกษายึดหลักการเรียนรู้จากง่าย ไปหายากและจะฝกึ จากสว่ นยอ่ ยไปหาสว่ นรวม ศึกษาธกิ าร. กรมวชิ าการ, 2546) การแก้ปัญหาการอ่านการเขียนภาษาไทย หรืออีกนัยหน่ึงก็คือ ปัญหาการอ่านไม่ออก
26 วารสารบณั ฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) สภาพปัญหาการเรียนภาษาไทยใน 1. นักเรียนอ่าน-เขียนสะกดค�าได้ ระดับ ประเทศ พบว่า ปัญหาการใช้ภาษาไทย ไมถ่ กู ตอ้ งเพราะไมม่ คี วามรพู้ น้ื ฐานในการสะกด ของเยาวชนไทยในปัจจุบันมีปัญหาในเร่ือง ค�าตามมาตราตัวสะกดโดยเฉพาะตัวสะกด การพูด อ่าน เขียน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ ไมเ่ หมาะสมกบั กาลเทศะและจากผลการสา� รวจ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ท่ัวประเทศใน 2. นกั เรยี นขาดการเตรยี มความพรอ้ ม ปีการศึกษา 2549 ท้ังหมดกว่า 636,000 คน ในระดับช้ันก่อนประถมศึกษา ครอบครัว พบว่า มนี กั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา ปที ่ี 2 จา� นวน แตกแยก ถูกทอดท้ิงให้อยู่กับปู่ย่าตายาย 79,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 12 ที่ยัง อยู่ในครอบครัวท่มี ีฐานะยากจน อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ตามเกณฑ์ คือ ต้องอ่าน และเขียนค�าศัพท์ได้ 3,000 ค�า เป็นอย่างต่�า 3. ครูผู้สอนเคยชินกับการสอน ซ่ึงส�านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แบบเดิม โดยยึดแบบเรียนหนังสือเรียนเป็น ขั้นพื้นฐานได้วิเคราะห์สาเหตุที่ท�าให้เด็ก หลกั ขาดการตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐาน อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ พบว่า มีสาเหตุมาจาก การเรยี นรเู้ นน้ มงุ่ สอนเนอ้ื หาใหจ้ บตามบทเรยี น ปัญหาความยากจน และเด็กขาดเรียนบ่อย การไม่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาส่ือสารกันในบ้าน 4. ผปู้ กครองไมม่ เี วลาใหแ้ กบ่ ตุ รหลาน และเด็กท่ีมีปัญหาการเรียนรู้ (Learning จงึ เกดิ ผลกระทบตอ่ สภาพจติ ใจ และการเรยี นรู้ Disability) ซ่ึงแต่ละโรงเรียนจะมีเด็กประเภทน้ี ของนกั เรียน อยปู่ ระมาณรอ้ ยละ 5-6 นอกจากนี้ ยงั มปี ญั หา ครูไม่เพียงพอส่วนใหญ่มีงานอื่นนอกเหนือ 5. สังคม ภาษาพูดของคนในชุมชน จากงานสอนเช่น งานธุรการ ส่งผลให้ครูไม่มี และสงั คม แตกต่างผิดเพี้ยนไปจากภาษากลาง เวลาสอนเด็กได้อย่างเต็มท่ี (กษมา วรวรรณ (ภาษาราชการ) นักเรียนได้รับการถ่ายทอด ณ อยุธยา, 2551) ซ่ึงเป็นปัญหาต่อเนื่อง ในการพดู -เขยี นผดิ มากบา้ งนอ้ ยบา้ งตามสภาพ มาจนถึงปัจจุบัน ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนระดับ ของท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 2 ได้ตระหนักถึงความ ส�าคัญของการพัฒนานักเรียนให้อ่านออก 6. ขาดแคลนครูสอนไม่ครบช้ัน เขียนได้ตามนโยบายของสถานศึกษา จึงได้ ครคู นเดยี วสอนหลายชน้ั หลายกลุ่มสาระ วิเคราะห์ สภาพการณ์จากการจัดกิจกรรม การเรียนรู้กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิชาภาษาไทย จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้น จะเห็น พบว่า ปัญหา การอ่าน-เขียน ภาษาไทยได้ ได้ว่าปัญหา ที่ส�าคัญของการอ่านไม่ออก ไม่ถกู ต้องนนั้ มสี าเหตุ ดังนี้ (โรงเรยี นเทศบาล 1 เขียนไม่ได้ที่ต้องเร่งปรับปรุง แก้ไขโดยเร่งด่วน วัดพรหมวหิ าร, 2560) คอื ปญั หานกั เรยี นไมม่ พี น้ื ฐาน การอา่ นสะกดคา� โดยเฉพาะการอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ ได้ส่งผลต่อ การเรียนรู้ด้านการอ่าน เขียน ภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จ�านวน 3
วารสารบัณฑติ วิจยั JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 27 ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) ห้องเรียน จ�านวนนักเรียน 104 คน และจาก การเรยี นของกลมุ่ จะดไู ดจ้ ากการประเมนิ ตาม การส�ารวจของฝ่ายวิชาการโรงเรียนเทศบาล สภาพของสมาชิกในกลุ่ม และแบบทดสอบ 1 วัดพรหมวิหาร พบว่า มีนักเรียน จ�านวน ที่ผู้สอนสร้างขึ้น D - Division หมายถึง การแบ่ง 35 คน คิดเป็นร้อยละ 33.65 ท่ีอ่านไม่ออก ผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ กลุ่มละ เขยี นไมไ่ ดแ้ ละตอ้ งเรง่ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขโดยเรง่ ดว่ น 4 - 5 คน โดยมีอัตราส่วน ระหว่างนักเรียนเก่ง (โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร, 2560) ปานกลางและอ่อนเป็น 1 : 2 : 1 (ภาไฉน จึงมีความจ�าเป็นที่จะต้องหาวิธีการที่จะ เข็มเพ็ชร, 2547) การศึกษาค้นคว้างานวิจัย พัฒนาในเรื่อง การอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ที่ ผ ่ า น ม า มี นั ก วิ ช า ก า ร ท่ี น า ก า ร เ รี ย น รู ้ แม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานใน แบบร่วมมือเทคนิค STAD มาใช้ในการศึกษา การอ่านเขียนภาษาไทยให้ถูกต้องซึ่งสามารถ พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ส่งผลต่อการเรียนรู้ในกลุ่มสาระอื่น ๆ ด้วย หลังเรียนรู้โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. กรมวิชาการ, 2546) ร่วมมือเทคนิค STAD สูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (เบ็ญจวรรณ ผู้วิจัย จึงได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เสาวโค, 2553) และนวตั กรรม ท่ชี ่วยพฒั นาการสอนภาษาไทย ให้มีประสิทธิภาพสามารถ ส่งเสริมผู้เรียนให้ จากความส�าคัญของแบบฝึกเสริม เกิดการเรียนรู้ที่คงทนจากการศึกษา พบว่า ทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เ ค ร่ื อ ง มื อ ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ เทคนิค STAD ดังที่กล่าวมา ผู้วิจัยจึงได้น�า ทางการอ่านแนวทางหนึ่งที่แก้ปัญหาได้ คือ แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่านตัวสะกด การใช้แบบฝึกเสริมทักษะมาใช้ในการพัฒนา ไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ น�ามา การอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตรา และกิจกรรม ประกอบกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เทคนคิ การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ซ่ึงเป็น STAD มาใช้ส�าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา เทคนิคท่ีพัฒนาข้ึนโดย สลาวิน (Slavin, 1995) ปที ่ี 2 โรงเรยี นเทศบาล 1 วดั พรหมวหิ าร อา� เภอ เปน็ การจดั การเรยี นรแู้ บบนกั เรยี นมปี ฏสิ มั พนั ธ์ แม่สาย จังหวัดเชียงราย เพื่อพัฒนาทักษะ ทีดีต่อเพื่อน โดยมีความหมายจากค�าศัพท์ การอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แม่กก แม่กด ภาษาอังกฤษที่ว่า S - Student หมายถึง กลุ่ม แม่กน แม่กบ และพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ผู้เรียนท่ีมีความ สามารถ ทางการเรียนท่ี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 โรงเรียน แตกตา่ งกนั ซง่ึ อยรู่ วมกนั ในหอ้ งเรยี นทมี สี ภาพ เทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร อ�าเภอแม่สาย แวดล้อมเดียวกัน T - Team หมายถึง กลุ่ม จังหวัดเชยี งรายให้สงู ย่งิ ขน้ึ ต่อไป ผู้เรียนทีมีสมาชิก ทีคละความสามารถทาง การเรียน ผู้ที่มีความรู้ จะต้องอธิบายให้ วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย ค ว า ม ช ่ ว ย เ ห ลื อ แ ก ่ ส ม า ชิ ก ที ยั ง ไ ม ่ เ ข ้ า ใ จ A - Achievement หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ทาง 1. เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพ ของแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะพฒั นาการอา่ นตวั สะกด
28 วารสารบณั ฑติ วจิ ัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) ไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบด้วย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญ กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 ส�าหรบั นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี น เทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร อ�าเภอแม่สาย 3. ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมี จงั หวัดเชยี งราย ต่อแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะพฒั นาการอ่านตวั สะกด ไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบด้วย 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทาง กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD การเรียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกเสริม อยู่ในระดับ มาก ทักษะพัฒนาการอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ ด้วยกิจกรรม วิธกี ารดา� เนนิ การวจิ ยั การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ส�าหรับ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นเทศบาล 1 ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถม วดั พรหมวหิ าร อ�าเภอแม่สาย จังหวดั เชียงราย ศกึ ษาปที ี่ 2 จา� นวน 3 หอ้ งเรยี น 104 คน ทกี่ า� ลงั ศึกษาในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2560 3. เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรยี น ท่ีมีต่อแบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่าน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนห้อง 2/3 ตัวสะกดไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random แม่กบ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ Sampling) ด้วยวิธีการจับฉลาก โดยใช้ห้อง เทคนิค STAD ส�าหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา เปน็ หน่วยสุ่ม (Cluster Sampling) ปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร อา� เภอแม่สาย จังหวัดเชยี งราย เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั สมมตฐิ านของการวจิ ัย เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชป้ ระกอบการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้แบบร่วมมอื เทคนคิ STAD คอื 1. แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะพฒั นาการอา่ น ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แม่กก แม่กด แม่กน 1. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน แม่กบ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ตวั สะกดไมต่ รง มาตรา จา� นวน 4 ชดุ ประกอบดว้ ย เทคนิค STAD ส�าหรับนักเรียนช้ันประถม ศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร 1.1 แบบฝึกการอ่านสะกดค�า อา� เภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย มปี ระสทิ ธภิ าพ เร่อื ง มาตราแม่กก ทีร่ ะดับ 80/80 1.2 แบบฝึกการอ่านสะกดค�า 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้าน เรื่อง มาตราแม่กด การอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 1 1.3 แบบฝึกการอ่านสะกดค�า วัดพรหมวิหาร อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เรอ่ื ง มาตราแม่กน 1.4 แบบฝกึ การอา่ นสะกดคา� เรอ่ื ง มาตราแม่กบ 2. แผนการจัดการเรียนรู้จ�านวน 4 หน่วยการเรยี นรู้
วารสารบณั ฑติ วจิ ัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 29 ปีที่ 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) 2.1หน่วยท่ี 1 เรื่อง มาตรา แม่กก จากคา� ศพั ทพ์ น้ื ฐาน มาตราแมก่ ก แมก่ ด แมก่ น จ�านวน 6 แผน แผนละ 1 ชว่ั โมง แมก่ บ คา� ใหม่ คา� ยาก จากหนงั สอื เรยี นภาษาไทย ช้ันประถมศึกษา ปีที่ 2 ซ่ึงเป็นหนังสือท่ีจัดท�า 2.2 หน่วยท่ี 2 เร่ือง มาตรา แม่กด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน จา� นวน 6 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง พุทธศักราช 2551 มาก�าหนดขอบเขตเนื้อหา และคาบเวลาในการจัดท�าแบบฝึก เสริมทกั ษะ 2.3 หน่วยท่ี 3 เร่ือง มาตรา แม่กน จ�านวน 6 แผน แผนละ 1 ช่ัวโมง 1.2 ขนั้ ออกแบบ 1.2.1 ก�าหนดวัตถุประสงค์ 2.4 หน่วยที่ 4 เรื่อง มาตรา แม่กบ จา� นวน 6 แผน แผนละ 1 ชวั่ โมง ของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านสะกดค�า ใหต้ รงตามจดุ ประสงคข์ องการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้นประถมศึกษา การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปีท่ี 2 ก่อนเรียน – หลังเรียน (Pre-test –Post-test) เป็นแบบทดสอบที่เน้นการอ่านและเขียน 1.2.2 จัดเรียงล�าดับข้ันตอน ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา โดยการสุ่มจากมาตรา เนื้อหาศึกษาเอกสารต�ารางานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ตัวสะกดไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน กับการสร้างแบบฝึกตามทฤษฎีประเภท แม่กบ แบ่งเป็นการอ่านออกเสยี ง 40 คา� ข้อละ ของแบบฝึกพัฒนาการของเด็กกับการอ่าน 0.5 คะแนน และแบบเลือกตอบ จ�านวน 20 ข้อ ประโยชน์ของแบบฝึกรูปแบบหลักการและ ข้อละ 1 คะแนน รวม 40 คะแนน เทคนิคการสร้างแบบฝึก 4. แบบส�ารวจความพึงพอใจของ 1.2.3 ก� า ห น ด เ น้ื อ ห า จ า ก นักเรียนที่มีต่อ การเรียนรู้โดยการใช้แบบฝึก ค�าศัพท์บัญชีพ้ืนฐานมาตราตัวสะกดไม่ตรง เสริมทักษะเพื่อพัฒนาการอ่านตัวสะกดไม่ตรง มาตรา ค�าใหม่ ค�ายากจากบทเรียนในหนังสือ มาตราแมก่ ก แมก่ ด แมก่ น แมก่ บ จา� นวน 10 ขอ้ ภาษาไทยชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 การสรา้ งและหาคณุ ภาพเครอื่ งมอื 1.3 ขนั้ การพฒั นา 1.3.1 นา� เนอื้ หาเรอ่ื ง ตวั สะกด ในการวจิ ยั 1. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านตัว มาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบจากค�าบัญชี พ้ืนฐาน ค�ายาก ค�าใหม่ในบทเรียน และค�า สะกดไม่ตรงมาตรา ผู้วิจัยด�าเนินการสร้าง ที่นักเรียนควรรู้ จากหนังสือเรียนภาษาไทย ดังน้ี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สร้างเป็นแบบฝึก เสริมทักษะจ�านวน 4 ชดุ ชุดละ 8 แบบฝึก 1.1 ขนั้ วิเคราะห์ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ผู้เรียนจาก 1.3.2 น�าแบบฝึกเสริมทักษะ เสนออาจารย์ที่ปรึกษา และน�าข้อเสนอแนะ สภาพการณ์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาปรับปรุงแก้ไข จากน้ันน�าไปให้ผู้เชี่ยวชาญ และจากการสังเกตพบว่า นักเรียนไม่มีพ้ืนฐาน ทางการอ่านสะกดค�าโดยเฉพาะ การอ่าน ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา จึงได้วิเคราะห์เน้ือหา
30 วารสารบัณฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) 3 คน ตรวจสอบความตรงด้านเชิงโครงสร้าง จ�านวน 10 คน โดยทดลองใช้กับเด็กท่ีมี และความสอดคล้องระหว่างสาระสาคัญกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเก่ง 3 คน ปานกลาง จุดประสงค์การเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัด 4 คน เรียนอ่อน 3 คน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และประเมนิ ผล รวมท้งั เสนอแนะในเนอ้ื หาและ ประกอบแบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทยเร่ือง ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมในแบบฝึกเสริม การอ่านค�าท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา แล้วจึง ทักษะแต่ละชุด แล้วน�ามาหาค่าเฉลี่ยและ ให้นักเรียนท�าแบบทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทาง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นรายข้อการยอมรับ การเรียนจากการทดลอง พบว่า แบบฝึกเสริม ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 และส่วนเบี่ยงเบน ทกั ษะภาษาไทยเรอื่ ง การอ่านคา� ทม่ี ตี วั สะกด ไม่เกิน 1.0 (กาญจนา วัฒายุ, 2550) ซ่ึงผลการ ไม่ตรงมาตราทง้ั 4 ชดุ คอื แม่กก แม่กด แม่กน พิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญ ได้ค่าเฉล่ียของการ แม่กบ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.54/84.75 ประเมินเท่ากับ 4.06 มีความเหมาะสมอยู่ใน สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ระดับมาก 1.4.3 น�าไปทดลองใช้ครั้งที่ 3 1.4 ขน้ั ทดลองใช้ ทดลองแบบกลมุ่ ใหญ่ กบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา 1.4.1 น�าไปทดลองใช้ครั้งที่ 1 ปีที่ 2/2 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร จ�านวน 30 คน โดยทดลองใช้กับเด็กที่มี ทดลองแบบ 1 : 1 กับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเก่ง 10 คน ปานกลาง ปีท่ี 2/1 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร 10 คน เรียนอ่อน 10 คน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จ�านวน 3 คน โดยทดลองใช้กับเด็กท่ีมีผล ป ร ะ ก อ บ แ บ บ ฝ ึ ก เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ภ า ษ า ไ ท ย สัมฤทธิ์ทางการเรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 1 คน เร่ือง การอ่านค�าที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา เรียนอ่อน 1 คน โดยใช้เกณฑ์จากผลสัมฤทธิ์ แล้วจึงให้นักเรียนท�าแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียน ทางการเรียนพบว่า แบบฝึกเสริมทักษะภาษา ในภาคเรียนที่ 1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ไทย เรอื่ ง การอา่ นคา� ทม่ี ตี วั สะกดไมต่ รงมาตรา ประกอบด้วยแบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย ทั้ง 4 ชุด คือ แม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ เร่ือง การอ่านค�าท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.83/85.67 สูงกว่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 แล้วจึงให้นักเรียน เกณฑ์ 80/80 จากนั้นพิมพ์ฉบับจริง จ�านวน ท�าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 34 เล่ม เพ่ือน�าไปทดลองจริงกับกลุ่มตัวอย่าง จากการทดลอง พบว่า แบบฝึกเสริมทักษะ ในขั้นประเมนิ ผล ภาษาไทยเร่ือง การอ่านค�าที่มีตัวสะกดไม่ตรง มาตรา ทง้ั 4 ชดุ คอื แม่กก แมก่ น แมก่ ด แมก่ บ 1.5 ขัน้ ประเมนิ ผล มปี ระสิทธภิ าพเท่ากบั 87.19/85.00 น� า แ บ บ ฝ ึ ก เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ท่ี 1.4.2 น�าไปทดลองใช้ครั้งท่ี 2 หาประสิทธิภาพแล้วตามข้อ 1.4.3 ไปใช้กับ ทดลองแบบกลมุ่ เลก็ กบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 2/1 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร ปีท่ี 2/3 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร
วารสารบณั ฑติ วจิ ัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 31 ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) เพือ่ ศึกษาผลสมั ฤทธ์ติ ามวัตถุประสงค์ที่ตง้ั ไว้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เร่ือง 2. แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง มาตราตัวสะกดแม่กบ การอ่านค�าที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตราแม่กก 2.2.2 ก�าหนดการจัดกิจกรรม แม่กน แม่กด แม่กบ ส�าหรับช้ันประถมศึกษา การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ซึ่งมี ปีที่ 2 ดา� เนนิ การสร้าง ดงั น้ี 5 ขน้ั ตอน ดังนี้ 2.1 ขั้นวิเคราะห์ 1) ขั้นน�าเข้าสู่บทเรียน 2.1.1 ศึกษาหลักสูตรสถาน และแจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ ศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา 2) ขนั้ กจิ กรรมการเรยี น ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การสอน การเรียนรู้ภาษาไทย และคู่มือ การสอนภาษา ไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ตลอดจนหนังสือ 3) ขัน้ สรปุ เรียนและแบบเรยี นท่เี กยี่ วข้อง 4) ขนั้ วดั และประเมนิ ผล 5) ขนั้ สรา้ งความประทบั ใจ 2.1.2 ศึกษาเอกสาร งานวิจัย 2.2.3 เขียนแผนการจัดการ ทเ่ี กีย่ วข้องกับการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ เรียนรู้ตามหัวเรื่องให้มีเนื้อหาสอดคล้องกับ ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ทกี่ า� หนดไวโ้ ดยกา� หนด 2.1.3 วิเคราะห์จุดประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค STAD ตาม การเรียนรู้วิชาภาษาไทยจากคู่มือภาษาไทย ขั้นตอนในข้อ 2.2.2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 แล้วเขียนจุดประสงค์ 2.3 ขั้นพฒั นา เชงิ พฤติกรรม 2.3.1 นา� แผนการจดั การเรยี นรู้ ทส่ี รา้ งขน้ึ เสนออาจารยท์ ปี่ รกึ ษาเพอื่ ตรวจสอบ 2.1.4 วิเคราะห์เนื้อหาให้ ความถกู ตอ้ งและความเหมาะสมในดา้ นเนอื้ หา สอดคล้องจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ได้วิเคราะห์ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง กิจกรรมการเรียนรู้ ไว้ในข้อ 2 ส่ือการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล และน�าข้อแนะน�ามาปรบั ปรงุ แก้ไข 2.2 ขัน้ ออกแบบ 2.3.2สรา้ งแบบประเมนิ คณุ ภาพ 2.2.1 น�าเนื้อหาท่ีวิเคราะห์ ของแผนการจัดการเรียนรู้ไปให้ผู้เช่ียวชาญ จ�านวน 3 คนประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน แ ล ้ ว ก� า ห น ด เ ป ็ น แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ ของผู้เช่ยี วชาญก�าหนดเปน็ 5 ระดับ ดังน้ี โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 4 หน่วย หน่วยละ ระดับ 5 หมายถึงเหมาะสม 6 แผน แผนละ 1 ชัว่ โมง คือ มากท่สี ดุ ระดบั 4 หมายถงึ เหมาะสมมาก หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม มาตราตวั สะกด แม่กก หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง มาตราตวั สะกดแม่กด หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง มาตราตวั สะกดแม่กน
32 วารสารบณั ฑิตวิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีที่ 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) ระดบั ปานกลาง คร้ังที่ 3 ทดลอง แบบกลุ่มใหญ่ คือ นักเรียน ระดบั 2 หมายถงึ เหมาะสมนอ้ ย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/2 โรงเรียนเทศบาล 1 ระดับ 1 หมายถึง เหมาะสม วัดพรหมวิหาร จ�านวน 30 คน โดยทดลองใช้ กับเด็กที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเก่ง 10 คน น้อยที่สุด ปานกลาง 10 คน เรยี นอ่อน 10 คน จดั กจิ กรรม แล้วน�าผลการประเมินไปหา การเรียนรู้ประกอบการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ภาษาไทยเรื่อง การอ่านค�าที่มีตัวสะกดไม่ตรง ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน ผลการ มาตราชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 แล้วท�าแบบ ประเมินคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เพื่อหา ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.66 อยู่ในระดับ ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ จากนั้นจึงได้ เหมาะสมมากที่สุด ทา� การพมิ พฉ์ บบั จรงิ เพอื่ นา� ไปศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ กับกลุ่มตวั อย่าง ในขนั้ ประเมินผล 2.4 ข้ันทดลอง น�าไปทดลองใช้ประกอบกับ 2.5 ข้นั ประเมินผล ผวู้ จิ ยั นา� แผนการจดั การเรยี นรู้ การทดลองหาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริม ทักษะ ดงั นี้ เรอื่ ง การอา่ นตวั สะกดไมต่ รงมาตราแมก่ ก แมก่ ด แม่กน แม่กบ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ไปใช้กับ 2.4.1 นา� ไปทดลองใชป้ ระกอบ กลมุ่ ตวั อยา่ ง ทกี่ า� หนดไว้ เพอ่ื ศกึ ษาเปรยี บเทยี บ การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้แบบ ครงั้ ที่ 1 ทดลองแบบ 1 : 1 กบั นกั เรยี นชน้ั ประถม ฝกึ เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย เรอ่ื ง การอา่ นคา� ทม่ี ี ศกึ ษาปที ่ี 2/1 โรงเรยี นเทศบาล 1 วดั พรหมวหิ าร ตวั สะกดไมต่ รงมาตราดว้ ยกจิ กรรม การเรยี นรู้ จ�านวน 3 คน โดยทดลองใช้กับเด็กท่ีมี แบบร่วมมอื เทคนคิ STAD เป็นล�าดับต่อไป ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เกง่ 1 คน ปานกลาง 1 คน เรยี นออ่ น 1 คน จากนน้ั นา� แผนมาปรบั ปรงุ แกไ้ ข 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่อง ขอ้ บกพรอ่ งทพี่ บเกยี่ วกบั ภาษา และการใชค้ �าถาม ก า ร อ ่ า น ค� า ที่ มี ตั ว ส ะ ก ด ไ ม ่ ต ร ง ม า ต ร า แม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ เป็นแบบทดสอบ 2.4.2 นา� ไปทดลองใชป้ ระกอบ (ก่อนเรียน - หลังเรียน) ท่ีมีวัตถุประสงค์ การหาประสิทธิภาพ แบบฝึกเสริมทักษะ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านตัวสะกดไม่ตรง คร้ังที่ 2 ทดลองแบบกลุ่มเล็ก กับนักเรียน มาตรา โดยมีข้ันตอนในการสร้าง และหา ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/1 โรงเรียนเทศบาล 1 ประสทิ ธิภาพ ดงั นี้ วัดพรหมวิหาร จ�านวน 10 คน โดยทดลองใช้ กับเด็กที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเก่ง 3 คน 3.1 ขัน้ วเิ คราะห์ ปานกลาง 4 คน เรียนอ่อน 3 คน จากน้ัน วิเคราะห์เนื้อหาท่ีใช้สร้าง น�ามาปรับปรุงเก่ียวกับการด�าเนินกิจกรรม อกี ครัง้ หน่งึ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จากค�าศัพท์บัญชี พื้นฐาน ค�าใหม่ ค�ายาก ของมาตราตัวสะกด 2.4.3 นา� ไปทดลองใชป้ ระกอบ การหาประสิทธิภาพแบบฝึกเสริมทักษะ
วารสารบัณฑติ วจิ ยั JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 33 ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) ไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบใน และข้อสอบปรนัยท่ีผ่านเกณฑ์ จ�านวน 30 ข้อ หนังสือเรียนภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ไดข้ อ้ สอบทม่ี คี ณุ ภาพตามเกณฑ์ จา� นวน 70 ขอ้ ซ่ึงเป็นหนังสือที่ได้จัดท�าขึ้นตามหลักสูตร (กาญจนา วัฒายุ, 2550) แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อกา� หนดขอบเขตเนื้อหา 3.4 ขน้ั ทดลองใช้ 3.4.1 น�าแบบทดสอบท่ีผ่าน 3.2 ข้นั ออกแบบ ศึกษาเอกสาร ต�ารา งานวิจัย การตรวจจากผู้เช่ียวชาญมาปรับปรุงแก้ไขไป ทดลองใชก้ บั นกั เรยี นกลมุ่ รอบรู้ ซง่ึ เปน็ นกั เรยี น แนวคิด และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการสร้าง ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นเทศบาล 1 แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ ที่สอดคล้องกับ วัดพรหมวิหาร อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย หลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลาง ซ่ึงเคยเรียนเนื้อหา เร่ือง การอ่านตัวสะกดไม่ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตรงมาตรา แม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ มาแล้ว การสร้างข้อสอบวิชาภาษาไทย และคู่มือการ จ�านวน 34 คน มาสอบอ่าน 40 ค�า ค�าละ 0.5 วัดประเมินผลระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 คะแนน และข้อสอบปรนัย 30 ข้อ จากนั้นน�า ออกแบบโดยให้ครอบคลุมการวัดพฤติกรรม มาตรวจให้คะแนน โดยข้อท่ีตอบถูกต้องให้ ด้านความรู้ ความจ�า ความเข้าใจ การน�าไปใช้ 1 คะแนน ข้อท่ีตอบผิดหรือไม่ตอบมากกว่า การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ เป็นแบบ 1 ตัวเลือก ในข้อเดียวกันให้ 0 คะแนน ทดสอบท่ีเน้นทักษะด้านการอ่านตัวสะกด รวมคะแนนการอ่านค�า 20 คะแนน ปรนัย ไม่ตรงมาตรา โดยการสุ่มเนื้อหาจากตัวสะกด 30 คะแนน มาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ แบ่งเป็น แบบทดสอบการอ่านสะกดค�า 40 ค�า ค�าละ 3.4.2 น� า ค ะ แ น น ท่ี ไ ด ้ จ า ก 0.5 คะแนน รวมคะแนน 20 คะแนน และแบบ การทดสอบข้อสอบปรนัยมาวิเคราะห์หาค่า ปรนัยชนดิ เลอื กตอบ 3 ตวั เลอื ก จา� นวน 20 ข้อ ความยากง่าย (p) และอ�านาจจ�าแนก (r) ของ ข้อละ 1 คะแนน รวมทงั้ สนิ้ 40 คะแนน แบบทดสอบเปน็ รายขอ้ โดยคดั เลอื กขอ้ สอบทม่ี ี ค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.2 - 0.8 (นพพร 3.3 ขน้ั พัฒนา ธนะชัยขันธ์, 2555) ได้ข้อสอบปรนัย 20 ข้อ นา� แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ ่ี และข้อสอบอัตนัย จ�านวน 40 ข้อ รวมเป็น 60 ขอ้ สา� หรบั ใชเ้ ปน็ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ สรา้ งขน้ึ ไปใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญดา้ นการวดั ประเมนิ ผล ทางการเรียนจากนั้นน�ามาหาค่าความเช่ือมั่น 3 คน ตรวจสอบความตรงของเนอ้ื หา และความ (Reliability) ค�านวณโดยใช้สูตร KR-20 ตามวิธี สอดคล้อง ระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การ ของ Kuder - Richardson (นพพร ธนะชัยขันธ์, เรียนรู้ แล้วน�ามาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง 2555) ได้ค่าความเชอ่ื มนั่ เท่ากบั 0.86 ระหว่างข้อสอบกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ค่า (IOC) พบว่า มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.8 – 1.00 4. แบบวัดความพึงพอใจ มีข้ันตอน ไดข้ อ้ ทดสอบอตั นยั ทผ่ี า่ นเกณฑ์ จา� นวน 40 ขอ้ ในการสร้างและหาประสทิ ธิภาพ ดงั นี้
34 วารสารบัณฑติ วจิ ยั JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) 4.1 ขน้ั วเิ คราะห์และการออกแบบ น�าข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแบบวัดความพึง วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาจากจดุ ประสงค์ พอใจให้มคี ุณภาพยง่ิ ขึ้น การวจิ ยั และศกึ ษาเอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 4.3 ขนั้ ทดลองใช้ กับการสร้างแบบวัดความพึงพอใจโดยศึกษา น� า แ บ บ วั ด ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ แนวคดิ ทฤษฎมี รี ายละเอยี ด ดังน้ี ทมี่ ตี อ่ แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะไปทดลองใช้ (Try Out) 4.1.1 ก�าหนดข้อค�าถาม กับนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 2/1 โรงเรียน ท่ีต้องการวัดความพึงพอใจให้ครอบคลุม เทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร อ�าเภอแม่สาย วัตถปุ ระสงค์ จงั หวดั เชยี งราย จา� นวน 30 คน ซง่ึ เปน็ นกั เรยี น ทไ่ี มใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งแลว้ นา� มาหาคา่ สมั ประสทิ ธิ์ 4.1.2 ตรวจข้อค�าถามและ อลั ฟาครอนบาค ไดค้ า่ ความเชอื่ มน่ั เทา่ กบั 0.87 ก�าหนดมาตราวัดประมาณค่า (Rating Scale) 3 ระดับ ดังน้ี 4.4 ขน้ั ประเมินผล น� า แ บ บ วั ด ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ คะแนน 3 คะแนน หมายความว่า พงึ พอใจมาก ใช้สัญลกั ษณ์ ที่ปรับปรุงแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างช้ันประถม คะแนน 2 คะแนน หมายความว่า ศกึ ษาปที ่ี 2/3 โรงเรยี นเทศบาล 1 วดั พรหมวหิ าร พงึ พอใจปานกลาง ใช้สญั ลกั ษณ์ อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ท่ีเป็น คะแนน 1 คะแนน หมายความว่า กลุ่มตัวอย่างเพ่ือศึกษาความพึงพอใจตาม พึงพอใจน้อย ใช้สัญลักษณ์ วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 4.1.3 ก�าหนดเกณฑ์ประเมิน การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ความพึงพอใจดงั น้ี 1. ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ด้วย คะแนน 2.60 - 3.00 หมายถงึ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น พงึ พอใจมาก 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค คะแนน 1.60 - 2.59 หมายถึง STAD ประกอบการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการ พงึ พอใจปานกลาง อ่านสะกดค�าทั้ง 4 ชุด ชุดละ 8 แบบฝึก และ แผนการจัดการเรียนรู้ จ�านวน 4 หน่วย หน่วย คะแนน 1.00 - 1.59 หมายถึง ละ6 ชั่วโมง รวม 24 ชั่วโมง โดยได้จัดกิจกรรม พึงพอใจน้อย การเรียนรู้ครบทุกแผน 4.2 ข้นั พฒั นา 3. ทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น น� า แ บ บ วั ด ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ หลงั เรยี น (Post-test) ดว้ ยแบบทดสอบชดุ เดยี ว กบั ท่ใี ช้ทดสอบก่อนเรยี น ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต้อง แล้วเสนอผู้เชี่ยวชาญ จ�านวน 3 คน ประเมิน 4. ให้นักเรียนตอบแบบวัดความพึง ความเท่ียงตรงเชิงโครงสร้างและหาค่าความ พอใจท่มี ีต่อกจิ กรรมการเรียนรู้ สอดคล้องระหว่างค�าถามกับวัตถุประสงค์ (IOC) พบว่า มีค่า IOC ระหว่าง 0.80-1.00 และ
วารสารบณั ฑิตวจิ ยั JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 35 ปีที่ 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) การวเิ คราะห์ข้อมลู แม่กด แม่กน แม่กบ ด้วยกิจกรรมการเรียน รู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ส�าหรับนักเรียน 1. หาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริม ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาล ทักษะตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80โดยใช้สูตร 1 (วัดพรหมวิหาร) อ�าเภอแม่สาย จังหวัด E1/ E2 (นพพร ธนะชัยขนั ธ์, 2555) เชียงราย มีค่า E1/ E2 เท่ากับ 84.83/85.67 ซ่ึง มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ท่ีก�าหนด 80/80 2. วิเคราะห์ความตรงเชิงโครงสร้าง เป็นไปตามสมมตุ ฐิ านท่ีตั้งไว้ ของเนื้อหา โดยหาค่า IOC ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าความยากง่าย (p) 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีคะแนน คา่ อา� นาจจา� แนก (r) คา่ ความเชอื่ มนั่ ของขอ้ สอบ ค่าเฉล่ียหลังเรียนเท่ากับ 34.56 คิดเป็นร้อย ปรนัย หาค่าความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม ละ 86.40 สงู กว่าเกณฑ์ทตี่ ง้ั ไวเ้ มอื่ นา� ไปเปรยี บ โดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิอัลฟ่าครอนบาค เทียบคะแนนความก้าวหน้า ของผลสัมฤทธ์ิ และหาความแตกต่างคะแนนวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนด้วยตาราง t-test พบว่า ได้ค่า ก่อนเรียน หลังเรียน ด้วย t-test (นพพร คะแนนเท่ากับ 18.26 มีความแตกต่างของ ธนะชยั ขันธ์, 2555) คะแนนกอ่ นเรยี นกบั หลงั เรยี นอยา่ งมนี ยั สา� คญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 ดังตารางท่ี 1 ผลการวจิ ยั 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริม ทักษะการอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราแม่กก ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบคะแนนความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน-หลังเรียน ด้วยตาราง T-Test ทดสอบ nx S df t p-value 33 18.26* .0000 ก่อนเรยี น 34 23.12 1.02 หลังเรยี น * P< .05 34 34.56 1.18 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้น การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มีระดับ ประถม ศึกษา ปีที่ 2/3 ที่เรียนโดยใช้แบบฝึก ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( x = 2.60) เสริมทักษะพัฒนาการอ่านตัวสะกดไม่ตรง ดงั ตารางที่ 2 มาตราแม่กก แม่กด แม่กน แมก่ บด้วยกจิ กรรม
36 วารสารบัณฑิตวจิ ัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีท่ี 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) ตารางท่ี 2 ความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะด้วยกิจกรรม การเรียนรู้แบบร่วมมอื เทคนคิ STAD รายการประเมนิ x S.D การแปลความหมาย ด้านครผู ู้สอน 2.60 0.42 มาก ด้านเนือ้ หา 2.50 0.50 มาก ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียน 2.72 0.80 มาก ด้านสภาพแวดล้อมในห้องเรยี น 2.58 0.77 มาก 2.60 0.62 มาก รวม การอภิปรายผล คือ กลุ่ม 1:1 กลุ่ม 1:10 และกลุ่ม 1:100 จนท�าให้แบบฝึกเสริมทักษะมีประสิทธิภาพ การวิจัยครั้งน้ีเป็นการศึกษาผลการ (E1 / E2) เท่ากับ 84.83/85.67 ทั้งน้ีอาจเน่ือง ใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่านตัวสะกด มาจากกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค ไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ ด้วย STAD เปน็ กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ การเรยี นร้ทู ม่ี กี าร กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ทา� งานแบบรว่ มมอื กนั เปน็ กลมุ่ มกี ารชว่ ยเหลอื ส�าหรับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 แนะน�าความรู้ให้แก่กัน เพ่ือน�าไปสู่ผลสัมฤทธิ์ โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร อ�าเภอ ทางการเรียนที่สูงข้ึน (สุคนธ์ สินธพานนท์ แม่สาย จังหวดั เชยี งราย อภิปรายผลได้ ดังนี้ และคนอื่น ๆ, 2545) จึงท�าให้แบบฝึก มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ต า ม เ ก ณ ฑ ์ ท่ี ก� า ห น ด ไ ว ้ 1. แบบฝึกเสริมทักษะเพื่อพัฒนาการ สอดคล้องกับณัฏฐนาถ สุกสี (2558) ท่ีศึกษา อา่ นตวั สะกดไมต่ รงมาตรา แมก่ ก แมก่ ด แมก่ น เรื่อง การสร้างแบบฝึกร่วมกับภาพการ์ตูนเพ่ือ แม่กบ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ พัฒนาการเขียนสะกดค�าท่ีมีตัวสะกดไม่ตรง เทคนิค STAD ส�าหรับนักเรียนระดับชั้นประถม ตามมาตรา ส�าหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา ศึกษาปีท่ี 2 มีเนื้อหาท่ีใช้สอนเหมาะสมกับ ปีท่ี 3 พบว่า แบบฝึกมีประสิทธิภาพ เท่ากับ ระดับความรู้ ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการ 91.29/89.33 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนนัยทาง อยากที่จะเรียนรู้เนื่องจากมีภาพท่ีน่าสนใจ สถิติท่ีระดับ .05 ความคิดเห็นของนักเรียนท่ี และเนื้อหาท่ีท้าทาย ท�าให้นักเรียนสนใจใน มตี ่อการใช้แบบฝึกโดยภาพรวมเหน็ ด้วยมาก การอ่านค�าในตัวสะกดไม่ตรงมาตรามากขึ้น มีการสร้างและพัฒนาอย่างเป็นข้ันตอน น�าไป 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ปรึกษาผู้เช่ียวชาญให้ประเมินความสอดคล้อง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการ ของเน้ือหากับสาระการเรียนรู้ในหลักสูตร จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกเสริม และยังได้น�าไปทดลองใช้กับนักเรียน 3 กลุ่ม
วารสารบณั ฑติ วิจัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 37 ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) ทักษะคิดเป็นร้อยละ 87.79 สูงกว่าเกณฑ์ท่ี รว่ มมอื เทคนคิ STAD สา� หรบั นกั เรยี นชนั้ ประถม ตั้งไว้ และมีคะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าก่อน ศึกษาปีที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ อาจเป็นเป็นเพราะว่าแบบฝึกเสริมทักษะท�าให้ ระดบั .05 และสอดคลอ้ งกบั อมั พวรรณ์ โคโตสี นักเรียนสามารถฝึกทักษะได้ด้วยตนเอง และ (2550) ทพี่ บวา่ แผนการจดั การเรยี นรแู้ ละแบบ มีรูปแบบน่าสนใจ กระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้ ฝึกทักษะการสะกดค�ามีความเป็นไปได้ท่ีท�าให้ มีเนื้อหาเข้าใจง่ายส่งเสริมทักษะการอ่านดีขึ้น ผลการเรียนของนักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลง กว่าเดิม และเม่ือเสริมด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ ไปในทางท่ีสูงขึ้นร้อยละ 73.49 และผลสัมฤทธิ์ แบบร่วมมือเทคนิค STAD (Slavin, 1995) ท่ีได้ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง จัดกลุ่มย่อยคละระดับความสามารถด้านการ มีนัยส�าคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .01 เรียนระหว่างผู้ที่เรียนเก่ง เรียนปานกลาง และ เรียนอ่อน ในอัตราส่วน 1:2:1 โดยจัดให้สมาชิก 3. ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อ ภายได้ทา� หน้าทใ่ี นกล่มุ เช่น มผี ้นู า� กล่มุ ผ้ชู แ้ี นะ การเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการ และผู้ตรวจสอบต่างคนต่างท�าหน้าท่ีให้ความ อ่านตวั สะกดไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน ช่วยเหลือกันในการเรียนบทเรียนเกี่ยวกับการ แม่กบ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้เทคนิค STAD อ่านออกเสียงไม่ตรงตามมาตรา แม่กก แม่กด พบว่า นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มาก แม่กน และแม่กบ ซงึ่ เดก็ ทย่ี งั ออกเสยี งได้ไม่ถกู ความสนใจ ในการเรียน มีความต้ังใจและ ตอ้ ง จะไดเ้ ดก็ เกง่ ทอี่ อกเสยี งไดถ้ กู ตอ้ งเปน็ ผใู้ ห้ กระตือรือร้น ท่ีจะท�าแบบฝึกเสริมทักษะมาก ค�าช้ีแนะฝึกฝนให้จนสามารถอ่านออกเสียงได้ อาจเน่ืองมาจากการเรียนด้วยแบบฝึกเสริม ถูกต้อง เม่ือวัดผลและประเมินผลการทดสอบ ทักษะการอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราร่วม การอ่านออกเสียงนักเรียนในกลุ่มสามารถ กับ วิธีสอนแบบร่วมมือเทคนิค STAD ท�าให้ อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง เมื่อครูได้ประกาศ นกั เรยี นไดร้ บั ความรู้ เหมาะสมตอ่ วยั ของผเู้ รยี น ผลคะแนนในแต่ละบทเรียนทั้งคะแนนบุคคลและ จึงช่วยให้ผู้เรียนสามารถ อ่าน เขียนและเข้าใจ คะแนนกลุ่มสามารถท�าคะแนนได้ดีข้ึน ท�าให้ เน้ือหามากข้ึน ซึ่งวิธีการสอนดังกล่าวได้ตอบ ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจ มีความกระตือรือร้นอยาก สนองความต้องการของผู้เรียน ด้วยการได้รับ เรียนอยากประสบความส�าเร็จจึงเป็นผลให้ผล การยอมรับจากกลุ่มเพ่ือน ตลอดจนการได้รับ การเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านตัวสะกด ผลตอบแทนเป็นความภาคภูมิใจในการได้ ไม่ตรงมาตราประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ คะแนนผลสมั ฤทธท์ิ ส่ี งู ขน้ึ นกั เรยี นมคี วามสนใจ แบบร่วมมือเทคนิค STADมีผลสัมฤทธ์ิดีขึ้น ต้ังใจท่ีจะร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เนื่องจาก สอดคล้องกับการศึกษาของเบ็ญจวรรณ ได้รับความรู้มากข้ึน ดังท่ี Maslow (1970) ได้ เสาวโค (2553) ท่ีศึกษาการเขียนสะกดค�าตาม กล่าวไว้ว่ามนุษย์เม่ือได้รับการตอบสนองตาม มาตราตัวสะกดโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ความต้องการก็จะมีความพึงพอใจเพ่ิมขึ้น สอดคลอ้ งกบั สวสั ดิ์ สขุ โสม (2551) ทศ่ี กึ ษาการ
38 วารสารบัณฑติ วจิ ัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีที่ 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะเรอื่ ง 3. ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการ การอ่านและการเขียนค�าที่สะกดไม่ตรงมาตรา เรยี นรใู้ หน้ กั เรยี นไดท้ า� กจิ กรรมเปน็ กลมุ่ บอ่ ย ๆ ตัวสะกดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยระดับ เพราะการทา� งานเปน็ กลมุ่ ทา� ใหน้ กั เรยี นไดแ้ สดง ช้ันประถมศึกษาที่พบว่า นักเรียนมีความพึง ความคดิ เหน็ ร่วมกนั เปน็ การชว่ ยส่งเสรมิ ใหแ้ ก่ พอใจต่อการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมโดยการใช้ เดก็ ทมี่ ปี ญั หาการอา่ น โดยวธิ กี ารใหเ้ ดก็ เกง่ ชว่ ย แบบฝึกทักษะอยู่ในระดับมาก (สุภาพ พงษ์ตุ้ย, เด็กอ่อนเป็นการปลูกฝังคุณธรรมท้ังผู้ให้และ 2551) ผรู้ บั ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะการวจิ ยั ครัง้ ต่อไป 1. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบการ ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื นา� ผลการวจิ ยั ไปใช้ ใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนาการอ่านตัวสะกด 1. ครผู ้สู อนควรใช้แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ ไม่ตรงมาตราแม่กก แม่กด แม่กน แม่กบ ด้วย พัฒนาการอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราด้วย กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD รว่ มกบั เครอ่ื งมอื นวตั กรรม และวธิ สี อนเทคนคิ โดยคา� นงึ ถงึ ศกั ยภาพของผเู้ รยี นและบรบิ ทของ อื่น ๆ เพ่ือน�าข้อมูลมาใช้ประกอบการพัฒนา สถานศกึ ษา เพอ่ื ความเหมาะสมตอ่ การสง่ เสรมิ ทักษะการอ่านและเขียนให้มีประสิทธิภาพมาก การเรียนวิชาภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งข้นึ ยง่ิ ขึน้ 2. ควรมกี ารศกึ ษาการใชแ้ บบฝกึ เสรมิ 2. ครูผู้สอน ควรศึกษาคู่มือการใช้ให้ ทกั ษะพฒั นา การอา่ นตวั สะกดไมต่ รงมาตราแม่ เข้าใจ ก่อนใช้แบบฝึกเสริมทักษะพัฒนา กก แม่กด แม่กน แม่กบ ด้วยกจิ กรรมการเรยี น การอ่านตัวสะกดไม่ตรงมาตราด้วยกิจกรรม รู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ในรูปแบบของส่ือ การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD และอาจ คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (สื่อ CAI) มีการเปล่ียนแปลงหรือปรับปรุงแก้ไขได้ตาม ความเหมาะสมหรอื ดลุ ยพนิ จิ เอกสารอ้างองิ กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. (2546). การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลกั สตู ร การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2544. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การรบั ส่ง สนิ ค้าและพสั ดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ.). กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ส�านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จา� กดั .
วารสารบัณฑิตวจิ ัย JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH 39 ปีท่ี 10 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา. (2551). การเขยี นแผนการเรยี นรู้. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์. กาญจนา วฒั าย.ุ (2550). การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: สถาบนั พฒั นาผบู้ รหิ าร การศึกษา ส�านักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ณัฏฐนาถ สุกสี. (2558). การสร้างแบบฝึกร่วมกับภาพการ์ตูนเพื่อพัฒนาการเขียนสะกดค�าที่มี ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราส�าหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3. (วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบัณฑติ , สาขาการสอนภาษาไทย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร). นพพร ธนะชัยขันธ์. (2555). สถิติเพื่อการวิจัยฉบับเสริมการวิเคราะห์ข้อมูล Microsoft Excel. (พมิ พค์ รง้ั ที่ 2). เชยี งใหม:่ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งราย. เบญ็ จวรรณ เสาวโค. (2553). การพฒั นาทกั ษะการอ่านและเขยี นคา� พนื้ ฐานภาษาไทยของนกั เรยี น ชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD + R. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์). ภาไฉน เขม็ เพช็ ร. (2547). การสรา้ งแผนการจดั การเรยี นรเู้ รอื่ งพนื้ ทผ่ี วิ และปรมิ าตร โดยใชก้ จิ กรรม การเรียนรู้ตามรูปแบบ เอส ทีเอ ดี ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ , สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ศกึ ษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่). โรงเรียนเทศบาล 1 วัดพรหมวิหาร. (2560). โครงการแก้ไขปัญหานักเรียนอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้. เชยี งราย: โรงเรยี นเทศบาล 1 (วดั พรหมวิหาร). สวสั ดิ์ สขุ โสม. (2551). การจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอื่ งการอา่ นและการเขยี นสะกดคา� ไมต่ รงมาตรา ตวั สะกดโดยใช้แบบฝึกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2. (การค้นคว้า แบบอิสระศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย มหาสารคาม). สุคนธ์ สินธพานนท์, วีณา ณ ระนอง, ฟองจันทร์ สุขยิ่ง, ปัญญา สังข์ภิรมย์, ศรีลักษณ์ มาโกมล, จันทร์เพ็ญ ชุมคช และพิวัสสา นภารัตน์. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้เน้นผู้เรียน เป็นสา� คัญ. กรงุ เทพฯ: อักษรเจรญิ ทศั น์. สภุ าพ พงษต์ ยุ้ . (2551). ผลการใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย เรอ่ื ง การอา่ นสะกดคา� แมก่ น แมก่ ด แม่กบท่ีไม่ตรงมาตราส�าหรับนักเรียนช่วงชั้นท่ี 1 (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2) โรงเรียนอนุบาล แม่สาย (สายศิลปะศาสตร์) ส�านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเชียงราย เขต 3. (วิทยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ , สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี ราย). อัมพวรรณ์ โคโตสี. (2550). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะการสะกดคา� กลุ่ม สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรยี นอนบุ าลศรวี ไิ ล สา� นกั งานเขตพนื้ ท่ี การศึกษาหนองคาย เขต 3. (ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม).
40 วารสารบัณฑิตวิจยั JOURNAL OF GRADUATE RESEARCH ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2562) Vol.10 No.1 (January-June 2019) Cronbach, L. J. (1970). Essentials of psychological test. (5th ed.). New York: Harper Collins. Maslow, A. H. (1970). Motivation and personality. New York: Harper & Row Publishers. Slavin, R. E. (1995). Cooperative learning theory, research and practice. (2nd ed). Massachusetts: Macmillan Publishing Company.
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: