Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore O-NET ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1

O-NET ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1

Published by Admin, 2021-08-22 07:04:52

Description: รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1

Keywords: O-NET,2563,สพม.กท 1

Search

Read the Text Version

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่าเท่ากับ 59.66 วิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 59.32 และภาษาไทย มีคา่ เทา่ กับ 58.85 ตามลำดับ 2) สถานศึกษาขนาดใหญ่ 2.1) คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉล่ีย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชาที่คะแนน เฉลีย่ ของสถานศกึ ษาขนาดใหญม่ ีค่ามากทส่ี ดุ คือ ภาษาไทย มคี า่ เท่ากบั 46.64 ซง่ึ สงู กว่าคะแนนเฉล่ีย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 1.42 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ อยู่ 2.28 แตต่ ่ำกวา่ คะแนนเฉล่ยี ของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 อยู่ 8.39 ส่วนวชิ าทค่ี ะแนนเฉลยี่ ของสถานศึกษาขนาดใหญ่มีค่าน้อยที่สดุ คือคณติ ศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 26.54 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 0.21 และสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 0.50 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 10.14 2.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของสถานศึกษาขนาดใหญ่ เรียงลำดับ ค่าจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 51.41 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่า เท่ากับ 50.87 ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 50.85 วิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 50.51 และคณิตศาสตร์ มคี ่าเทา่ กับ 50.29 ตามลำดบั 3) สถานศกึ ษาขนาดกลาง 3.1) คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษของสถานศึกษาขนาดกลาง สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ส่วนคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของสถานศึกษาขนาดกลาง ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนน เฉลี่ยของประเทศ โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดกลางมีค่ามากที่สุดคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 43.96 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 9.07 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานอยู่ 1.26 และต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 0.40 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ย ของสถานศึกษาขนาดกลางมีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 24.62 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลยี่ ของสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 12.06 ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ยี ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 1.71 และต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ อยู่ 1.42 81

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 3.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของสถานศกึ ษาขนาดกลาง เรยี งลำดับ คา่ จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มคี ่าเทา่ กับ 50.46 ภาษาไทย มีคา่ เท่ากบั 49.75 คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 49.16 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่าเท่ากับ 49.01 และวิทยาศาสตร์ มีค่า เท่ากับ 48.95 ตามลำดบั 4) สถานศึกษาขนาดเลก็ 4.1) คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดเล็กทุกวิชา ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ สถานศึกษาขนาดเล็กมีค่ามากที่สุดคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 37.42 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 15.61 ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 7.80 และต่ำกว่าคะแนนเฉลีย่ ของประเทศอยู่ 6.94 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดเล็กมีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 19.73 ซึ่งต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 16.95 ตำ่ กว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐานอยู่ 6.60 และต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 6.31 4.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของสถานศึกษาขนาดเล็ก เรียงลำดับ ค่าจากมากไปหาน้อยคือ วิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 46.50 ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 46.46 คณติ ศาสตร์ มีคา่ เท่ากบั 46.25 ภาษาไทย มีค่าเท่ากบั 45.70 และสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 45.48 ตามลำดบั 5) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) รวมทุกวิชา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา เรียงลำดับค่าจากมากไปหาน้อย คือสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีค่าเท่ากับ 53.69 สถานศึกษา ขนาดใหญ่ มีค่าเท่ากับ 45.34 สถานศึกษาขนาดกลาง มีค่าเท่ากับ 44.23 และสถานศึกษาขนาดเลก็ มีค่าเทา่ กับ 41.32 ตามลำดบั 82

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 4.2.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลุ่มคุณภาพ และขนาดสถานศึกษา ตารางท่ี 4.19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 ของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลมุ่ คุณภาพและขนาดสถานศึกษา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 กลุม่ คณุ ภาพของสถานศกึ ษา* ขนาด กลุ่ม กลมุ่ กลุ่ม กลุ่ม สถานศึกษา/ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ วชิ า จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ (แห่ง) (แห่ง) (แห่ง) (แห่ง) ขนาดใหญ่พเิ ศษ (N = 17) ภาษาไทย 16 94.12 1 5.88 0 0.00 0 0.00 คณิตศาสตร์ 13 76.47 4 23.53 0 0.00 0 0.00 วิทยาศาสตร์ 15 88.24 1 5.88 0 0.00 1 5.88 ภาษาอังกฤษ** 13 76.47 4 23.53 0 0.00 0 0.00 ขนาดใหญ่ (N = 14) ภาษาไทย 6 42.86 6 42.86 0 0.00 2 14.29 คณติ ศาสตร์ 2 14.29 8 57.14 0 0.00 4 28.57 วทิ ยาศาสตร์ 3 21.43 6 42.86 1 7.14 4 28.57 ภาษาอังกฤษ** 2 14.29 11 78.57 0 0.00 1 7.14 ขนาดกลาง (N = 15) ภาษาไทย 5 33.33 3 20.00 0 0.00 7 46.67 คณิตศาสตร์ 3 20.00 5 33.33 0 0.00 7 46.67 วทิ ยาศาสตร์ 3 20.00 3 20.00 1 6.67 8 53.33 ภาษาอังกฤษ** 3 20.00 7 46.67 0 0.00 5 33.33 ขนาดเลก็ (N = 16) ภาษาไทย 2 12.50 1 6.25 1 6.25 12 75.00 คณติ ศาสตร์ 0 0.00 2 12.50 1 6.25 13 81.25 วทิ ยาศาสตร์ 0 0.00 2 12.50 0 0.00 14 87.50 ภาษาอังกฤษ** 1 6.25 3 18.75 0 0.00 12 75.00 83

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 หมายเหตุ * กลุ่มคุณภาพของสถานศึกษา เป็นการจัดกลุ่มตามบริบทของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เข้าร่วมการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจของนักเรียนเทา่ นั้น มิได้รวมถึง จำนวนนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ท้ังหมดของสถานศกึ ษา กลุ่มดมี าก คือคะแนนเฉลีย่ ของสถานศกึ ษา สูงกว่าคะแนนเฉล่ียของประเทศ สพฐ. และสงู กว่าหรอื เท่ากับ คะแนนเฉล่ียของ สพม.กท 1 กลมุ่ ดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ และสูงกว่าหรือเท่ากับ คะแนนเฉลยี่ ของ สพฐ. แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ียของ สพม.กท 1 กล่มุ พอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลย่ี ของ สพฐ. และ สพม.กท 1 กลมุ่ ปรับปรงุ คือคะแนนเฉลีย่ ของสถานศกึ ษา ตำ่ กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของประเทศ สพฐ. และ สพม.กท 1 ** ภาษาอังกฤษ เน่อื งจากคะแนนเฉลย่ี ของ สพฐ. ต่ำกวา่ คะแนนเฉล่ยี ของประเทศ กลุ่มดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. และสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ แต่ต่ำกวา่ คะแนนเฉลี่ยของ สพม.กท 1 กล่มุ พอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ และ สพม.กท 1 จากตารางที่ 4.19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตาม กลมุ่ คณุ ภาพและขนาดสถานศกึ ษา พบวา่ 1) สถานศกึ ษาขนาดใหญพ่ ิเศษ 1.1) กลุ่มดีมาก เรยี งลำดบั จำนวนจากมากไปหานอ้ ยคือ ภาษาไทย จำนวน 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 94.12 วิทยาศาสตร์ จำนวน 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 88.24 คณิตศาสตร์ และภาษาองั กฤษ จำนวน 13 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 76.47 เท่ากนั ตามลำดับ 1.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 23.53 เท่ากัน ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 1 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.88 เทา่ กนั ตามลำดบั 1.3) กล่มุ ปรบั ปรุง คือ วิทยาศาสตร์ จำนวน 1 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.88 2) สถานศึกษาขนาดใหญ่ 2.1) กลุม่ ดีมาก เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 42.86 วิทยาศาสตร์ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 21.43 คณิตศาสตร์ และภาษาองั กฤษ จำนวนวิชาละ 2 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.29 เท่ากนั ตามลำดับ 2.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.57 คณิตศาสตร์ จำนวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 57.14 ภาษาไทย และวทิ ยาศาสตร์ จำนวนวชิ าละ 6 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 42.86 เท่ากัน ตามลำดับ 84

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 2.3) กลุม่ พอใช้ คอื วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 7.14 2.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 28.57 เท่ากัน ภาษาไทย จำนวน 2 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 14.29 และภาษาอังกฤษ จำนวน 1 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 7.14 ตามลำดับ 3) สถานศกึ ษาขนาดกลาง 3.1) กลมุ่ ดมี าก เรยี งลำดับจำนวนจากมากไปหานอ้ ยคือ ภาษาไทย จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 33.33 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 3 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.00 เท่ากนั ตามลำดบั 3.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 46.67 คณิตศาสตร์ จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 33.33 ภาษาไทย และวทิ ยาศาสตร์ จำนวนวชิ าละ 3 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 20.00 เท่ากนั ตามลำดับ 3.3) กลุ่มพอใช้ คือ วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.67 3.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ วิทยาศาสตร์ จำนวน 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 53.33 ภาษาไทย และคณิตศาสตร์ จำนวนวิชาละ 7 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 46.67 เท่ากัน และภาษาองั กฤษ จำนวน 5 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.33 ตามลำดบั 4) สถานศกึ ษาขนาดเลก็ 4.1) กลมุ่ ดีมาก เรียงลำดบั จำนวนจากมากไปหานอ้ ยคือ ภาษาไทย จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 12.50 และภาษาองั กฤษ จำนวน 1 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 6.25 ตามลำดบั 4.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.75 คณิศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 12.50 และภาษาไทย จำนวน 1 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 6.25 ตามลำดบั 4.3) กลุ่มพอใช้ คือ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์ จำนวนวิชาละ 1 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.25 เทา่ กัน ตามลำดับ 4.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ วิทยาศาสตร์ จำนวน 14 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.50 คณติ ศาสตร์ จำนวน 13 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 81.25 ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ จำนวนวิชาละ 12 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 75.00 เท่ากัน ตามลำดบั 85

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 ตารางท่ี 4.20 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2563 ของสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลุม่ คณุ ภาพและขนาดสถานศึกษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 กลมุ่ คณุ ภาพของสถานศึกษา* ขนาด กลุ่ม กล่มุ กล่มุ กลุ่ม สถานศกึ ษา/ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ วิชา จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ (แหง่ ) (แห่ง) (แหง่ ) (แหง่ ) ขนาดใหญพ่ ิเศษ (N = 18) ภาษาไทย 10 55.56 8 44.44 0 0.00 0 0.00 คณติ ศาสตร์ 8 44.44 9 50.00 0 0.00 1 5.56 วทิ ยาศาสตร์ 8 44.44 8 44.44 2 11.11 0 0.00 สังคมศึกษาฯ 10 55.56 7 38.89 1 5.56 0 0.00 ภาษาองั กฤษ** 8 44.44 10 55.56 0 0.00 0 0.00 ขนาดใหญ่ (N = 15) ภาษาไทย 3 20.00 4 26.67 2 13.33 6 40.00 คณิตศาสตร์ 0 0.00 6 40.00 0 0.00 9 60.00 วิทยาศาสตร์ 0 0.00 6 40.00 1 6.67 8 53.33 สังคมศึกษาฯ 2 13.33 5 33.33 0 0.00 8 53.33 ภาษาองั กฤษ** 0 0.00 6 40.00 1 6.67 8 53.33 ขนาดกลาง (N = 16) ภาษาไทย 1 6.25 4 25.00 0 0.00 11 68.75 คณิตศาสตร์ 1 6.25 3 18.75 0 0.00 12 75.00 วิทยาศาสตร์ 1 6.25 3 18.75 1 6.25 11 68.75 สงั คมศึกษาฯ 0 0.00 3 18.75 0 0.00 13 81.25 ภาษาอังกฤษ** 1 6.25 3 18.75 0 0.00 12 75.00 ขนาดเล็ก (N = 18) ภาษาไทย 0 0.00 0 0.00 1 5.56 17 94.44 คณติ ศาสตร์ 0 0.00 0 0.00 0 0.00 18 100.00 วทิ ยาศาสตร์ 0 0.00 0 0.00 0 0.00 18 100.00 สงั คมศกึ ษาฯ 0 0.00 0 0.00 0 0.00 18 100.00 ภาษาองั กฤษ** 0 0.00 0 0.00 0 0.00 18 100.00 86

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 หมายเหตุ * กล่มุ ดมี าก คือคะแนนเฉลยี่ ของสถานศกึ ษา สูงกวา่ คะแนนเฉลยี่ ของประเทศ สพฐ. และสูงกวา่ หรือเท่ากับ คะแนนเฉลย่ี ของ สพม.กท 1 กลุ่มดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ และสูงกว่าหรือเท่ากับ คะแนนเฉล่ยี ของ สพฐ. แตต่ ำ่ กว่าคะแนนเฉลย่ี ของ สพม.กท 1 กลมุ่ พอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉล่ียของ สพฐ. และ สพม.กท 1 กล่มุ ปรบั ปรงุ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ียของประเทศ สพฐ. และ สพม.กท 1 ** ภาษาองั กฤษ เนือ่ งจากคะแนนเฉลยี่ ของ สพฐ. ตำ่ กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของประเทศ กล่มุ ดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. และสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉล่ีย ของประเทศ แต่ตำ่ กวา่ คะแนนเฉลี่ยของ สพม.กท 1 กลุม่ พอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ีย ของประเทศ และ สพม.กท 1 จากตารางที่ 4.20 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตาม กลมุ่ คณุ ภาพและขนาดสถานศกึ ษา พบว่า 1) สถานศกึ ษาขนาดใหญพ่ ิเศษ 1.1) กลุ่มดีมาก เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวนวิชาละ 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.56 เท่ากัน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.44 เท่ากัน ตามลำดับ 1.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55.56 คณิตศาสตร์ จำนวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.44 และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 7 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 38.89 ตามลำดับ 1.3) กลุ่มพอใช้ เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยคือ วิทยาศาสตร์ จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 11.11 และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 5.56 ตามลำดบั 1.4) กล่มุ ปรับปรงุ คอื คณิตศาสตร์ จำนวน 1 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 5.56 2) สถานศกึ ษาขนาดใหญ่ 2.1) กลุ่มดมี าก เรยี งลำดบั จำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.00 และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 13.33 ตามลำดบั 87

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 2.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 40.00 เท่ากัน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 33.33 และภาษาไทย จำนวน 4 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 26.67 ตามลำดับ 2.3) กลมุ่ พอใช้ เรยี งลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 13.33 วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 6.67 เทา่ กนั ตามลำดบั 2.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อย คือคณิตศาสตร์ จำนวน 9 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.00 วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาองั กฤษ จำนวนวิชาละ 8 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 53.33 เทา่ กนั และภาษาไทย จำนวน 6 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.00 ตามลำดับ 3) สถานศกึ ษาขนาดกลาง 3.1) กลุม่ ดมี าก คอื ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 1 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.25 เท่ากนั ตามลำดับ 3.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 25.00 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 3 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 18.75 ตามลำดับ 3.3) กล่มุ พอใช้ คอื วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 6.25 3.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 13 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.25 คณิตศาสตร์ และภาษาองั กฤษ จำนวน วิชาละ 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 75.00 ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 11 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 68.75 ตามลำดบั 4) สถานศกึ ษาขนาดเลก็ 4.1) กลมุ่ พอใช้ คอื ภาษาไทย จำนวน 1 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 5.56 4.2) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 18 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 100.00 ตามลำดบั 88

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 4.3 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของ สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลมุ่ โรงเรียน 4.3.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลุ่มโรงเรยี น ตารางท่ี 4.21 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลมุ่ โรงเรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 รายการ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ รวมทุกวชิ า กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 1 (N = 8) คะแนนเฉลยี่ 61.25 43.29 37.23 49.91 190.83 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 16.60 24.83 14.85 20.53 T-Score* 54.29 61.87 57.60 60.40 52.82 กลุ่มโรงเรยี นท่ี 2 (N = 14) คะแนนเฉลย่ี 64.50 39.90 37.74 51.00 193.38 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 15.69 25.09 14.41 22.42 68.11 T-Score* 56.30 59.61 58.13 61.13 53.26 กลุม่ โรงเรยี นท่ี 3 (N = 9) คะแนนเฉลยี่ 59.47 29.79 31.96 40.83 162.75 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 14.88 15.37 09.58 15.34 42.19 T-Score* 53.19 52.88 52.15 54.32 47.92 กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 4 (N = 11) คะแนนเฉลยี่ 62.38 34.11 34.40 46.94 178.29 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 15.53 20.34 11.95 20.00 56.96 T-Score* 54.99 55.76 54.67 58.41 50.63 กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 5 (N = 10) คะแนนเฉลยี่ 61.08 31.61 32.83 43.03 168.93 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 14.80 17.76 10.77 17.34 47.43 T-Score* 54.19 54.10 53.04 55.79 49.00 กล่มุ โรงเรยี นที่ 6 (N = 10) คะแนนเฉลยี่ 56.73 26.68 30.42 36.39 150.97 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน 16.78 14.67 09.43 14.83 42.92 T-Score* 51.50 50.81 50.54 51.35 45.87 89

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 ตารางที่ 4.21 (ตอ่ ) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 รายการ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ รวมทุกวชิ า คะแนนเฉลย่ี จำแนกตามระดบั - - ประเทศ 54.29 25.46 29.89 34.38 - สพฐ. 55.18 25.82 30.17 34.14 - - สพม.กท 1 61.11 34.13 34.16 44.91 - - ผลการเปรยี บเทียบคะแนนเฉลยี่ ระหวา่ งระดบั - - กลุ่มโรงเรยี นที่ 1 (N = 8) - กลุ่มโรงเรยี นท่ี 1 กบั ประเทศ 6.96 17.83 7.34 15.53 - - แปลผล สูงกวา่ สูงกวา่ สูงกวา่ สงู กวา่ - - กลุม่ โรงเรียนท่ี 1 กับ สพฐ. 6.07 17.47 7.06 15.77 - แปลผล สงู กว่า สงู กว่า สงู กวา่ สูงกว่า - - กลุ่มโรงเรยี นที่ 1 กบั สพม.กท 1 0.14 9.16 3.07 5.00 - - แปลผล สงู กว่า สูงกว่า สูงกวา่ สงู กว่า - - กลุ่มโรงเรียนท่ี 2 (N = 14) - กล่มุ โรงเรียนที่ 2 กบั ประเทศ 10.21 14.44 7.85 16.62 - - แปลผล สงู กว่า สูงกวา่ สูงกวา่ สงู กวา่ - - กลุ่มโรงเรียนท่ี 2 กับ สพฐ. 9.32 14.08 7.57 16.86 - แปลผล สูงกวา่ สูงกวา่ สงู กวา่ สงู กว่า กลมุ่ โรงเรียนที่ 2 กบั สพม.กท 1 3.39 5.77 3.58 6.09 แปลผล สงู กว่า สูงกว่า สงู กว่า สูงกวา่ กล่มุ โรงเรียนที่ 3 (N = 9) กลมุ่ โรงเรียนที่ 3 กบั ประเทศ 5.18 4.33 2.07 6.45 แปลผล สงู กวา่ สงู กว่า สูงกวา่ สูงกวา่ กลมุ่ โรงเรียนที่ 3 กบั สพฐ. 4.29 3.97 1.79 6.69 แปลผล สงู กวา่ สูงกวา่ สูงกว่า สงู กวา่ กลุ่มโรงเรยี นท่ี 3 กบั สพม.กท 1 -1.64 -4.34 -2.20 -4.08 แปลผล ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า ต่ำกวา่ ต่ำกวา่ กลุ่มโรงเรยี นท่ี 4 (N = 11) กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 4 กบั ประเทศ 8.09 8.65 4.51 12.56 แปลผล สูงกว่า สูงกวา่ สงู กว่า สงู กวา่ กลมุ่ โรงเรียนที่ 4 กับ สพฐ. 7.20 8.29 4.23 12.80 แปลผล สงู กวา่ สูงกวา่ สงู กวา่ สงู กว่า กลุ่มโรงเรียนที่ 4 กบั สพม.กท 1 1.27 -0.02 0.24 2.03 แปลผล สูงกวา่ ตำ่ กวา่ สูงกวา่ สงู กวา่ 90

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 ตารางที่ 4.21 (ตอ่ ) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 รายการ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ รวมทกุ วิชา ผลการเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียระหว่างระดบั กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 5 (N = 10) กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 5 กับ ประเทศ 6.79 6.15 2.94 8.65 - แปลผล สูงกว่า สงู กวา่ สงู กวา่ สูงกวา่ - กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 5 กับ สพฐ. 5.90 5.79 2.66 8.89 - แปลผล สูงกวา่ สูงกว่า สงู กว่า สูงกว่า - กลุม่ โรงเรยี นที่ 5 กับ สพม.กท 1 -0.03 -2.52 -1.33 -1.88 - แปลผล ต่ำกวา่ ตำ่ กวา่ ต่ำกวา่ ต่ำกวา่ - กลุ่มโรงเรยี นท่ี 6 (N = 10) กลุม่ โรงเรียนท่ี 6 กับ ประเทศ 2.44 1.22 0.53 2.01 - แปลผล สูงกว่า สูงกวา่ สงู กวา่ สูงกว่า - กลุ่มโรงเรยี นท่ี 6 กบั สพฐ. 1.55 0.86 0.25 2.25 - แปลผล สูงกวา่ สูงกว่า สงู กวา่ สงู กว่า - กลุ่มโรงเรยี นที่ 6 กับ สพม.กท 1 -4.38 -7.45 -3.74 -8.52 - แปลผล ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า - หมายเหตุ * T-Score วิชา คำนวณจากคะแนนดิบของนักเรียน คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของประเทศ T-Score รวมทุกวิชา คำนวณจากคะแนนดิบของนักเรียน คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จากตารางท่ี 4.21 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตาม กลุม่ โรงเรยี น พบว่า 1) กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 1 1.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กลุ่มโรงเรียนที่ 1 มคี า่ มากทีส่ ดุ คือ ภาษาไทย มีค่าเทา่ กบั 61.25 ซง่ึ สูงกว่าคะแนนเฉลย่ี ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 0.14 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 6.07 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 6.96 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 มีค่าน้อยที่สุดคือ วิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 37.23 ซงึ่ สงู กวา่ คะแนนเฉลีย่ ของสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 3.07 91

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 7.06 และสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 7.34 1.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ มีคา่ เท่ากับ 61.87 ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 60.40 วทิ ยาศาสตร์ มีค่าเท่ากบั 57.60 และภาษาไทย มคี า่ เท่ากับ 54.29 ตามลำดับ 2) กล่มุ โรงเรียนที่ 2 2.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 2 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กลมุ่ โรงเรยี นที่ 2 มีคา่ มากท่สี ดุ คือ ภาษาไทย มีค่าเทา่ กับ 64.50 ซ่งึ สงู กว่าคะแนนเฉลย่ี ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 3.39 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 9.32 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 10.21 ส่วนวิชาท่ีคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีค่าน้อยที่สุดคือ วิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 37.74 ซึง่ สูงกวา่ คะแนนเฉลี่ยของสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 3.58 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 7.57 และสูงกว่า คะแนนเฉลย่ี ของประเทศอยู่ 7.85 2.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 2 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มคี า่ เท่ากบั 61.13 คณติ ศาสตร์ มีค่าเท่ากบั 59.61 วทิ ยาศาสตร์ มีคา่ เท่ากบั 58.13 และภาษาไทย มคี ่าเทา่ กับ 56.30 ตามลำดับ 3) กลมุ่ โรงเรยี นที่ 3 3.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ีย ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กล่มุ โรงเรียนที่ 3 มีค่ามากท่สี ดุ คอื ภาษาไทย มีคา่ เทา่ กับ 59.47 ซ่ึงสงู กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานอยู่ 4.29 และสูงกว่าคะแนนเฉลย่ี ของประเทศอยู่ 5.18 แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลย่ี ของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 อยู่ 1.64 ส่วนวิชา ท่ีคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 มีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 29.79 ซึ่งสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 3.97 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ ประเทศอยู่ 4.33 แตต่ ำ่ กว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 4.34 3.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 54.32 ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 53.19 คณิตศาสตร์ มคี า่ เทา่ กับ 52.88 และวิทยาศาสตร์ มีคา่ เทา่ กบั 52.15 ตามลำดบั 92

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 4) กลมุ่ โรงเรยี นที่ 4 4.1) คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษของ กลุ่มโรงเรียนที่ 4 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ ส่วนคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ของกลุ่มโรงเรียนที่ 4 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กลุ่มโรงเรียนท่ี 4 มคี ่ามากที่สุดคอื ภาษาไทย มีค่าเท่ากบั 62.38 ซง่ึ สูงกวา่ คะแนนเฉลีย่ ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 1.27 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 7.20 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 8.09 ส่วนวิชา ที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 34.11 ซึ่งสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 8.29 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ของประเทศอยู่ 8.65 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรงุ เทพมหานคร เขต 1 อยู่ 0.02 4.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 4 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 58.41 คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 55.76 ภาษาไทย มีค่าเทา่ กับ 54.99 และวทิ ยาศาสตร์ มีคา่ เท่ากับ 54.67 ตามลำดับ 5) กลุ่มโรงเรียนที่ 5 5.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 5 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชา ที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 5 มีค่ามากที่สุดคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 61.08 ซึ่งสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 5.90 และสูงกว่าคะแนนเฉล่ีย ของประเทศอยู่ 6.79 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 0.03 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 5 มีค่าน้อยที่สุด คือคณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 31.61 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานอยู่ 5.79 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 6.15 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 อยู่ 2.52 5.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 5 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 55.79 ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 54.19 คณิตศาสตร์ มคี ่าเทา่ กับ 54.10 และวทิ ยาศาสตร์ มคี ่าเทา่ กับ 53.04 ตามลำดบั 93

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 6) กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 6 6.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชา ที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 มีค่ามากที่สุดคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 56.73 ซึ่งสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 1.55 และสูงกว่าคะแนนเฉล่ีย ของประเทศอยู่ 2.44 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 4.38 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 มีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 26.68 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานอยู่ 0.86 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 1.22 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 อยู่ 7.45 6.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 51.50 ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 51.35 คณิตศาสตร์ มคี า่ เทา่ กับ 50.81 และวทิ ยาศาสตร์ มคี า่ เทา่ กับ 50.54 ตามลำดบั 7) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) รวมทุกวิชา จำแนกตามกลุ่มโรงเรียน เรียงลำดบั ค่าจากมากไปหาน้อยคือ กลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีค่าเท่ากับ 53.26 กลุ่มโรงเรียนที่ 1 มีค่าเท่ากับ 52.82 กลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีค่าเท่ากับ 50.63 กลุ่มโรงเรียนที่ 5 มีค่าเท่ากับ 49.00 กลุ่มโรงเรียนที่ 3 มีค่าเท่ากบั 47.92 และกล่มุ โรงเรยี นท่ี 6 มคี า่ เทา่ กับ 45.87 ตามลำดับ 94

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 ตารางท่ี 4.22 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลุ่มโรงเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 รายการ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ รวมทกุ วิชา กล่มุ โรงเรยี นที่ 1 (N = 10) คะแนนเฉลยี่ 63.01 54.47 52.18 48.38 59.66 278.34 ส่วนเบ่ยี งเบน 18.34 28.63 22.25 13.32 23.99 94.68 มาตรฐาน T-Score* 61.56 66.89 64.92 64.71 70.64 57.97 กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 2 (N = 14) คะแนนเฉลยี่ 55.58 39.54 40.95 41.67 45.30 224.71 ส่วนเบ่ยี งเบน 17.46 24.55 17.12 10.55 20.94 78.65 มาตรฐาน T-Score* 56.95 58.02 56.33 56.79 60.67 51.37 กลมุ่ โรงเรียนท่ี 3 (N = 11) คะแนนเฉลย่ี 47.06 28.19 33.75 36.66 33.93 180.92 ส่วนเบี่ยงเบน 15.66 16.70 12.60 08.31 15.09 55.54 มาตรฐาน T-Score* 51.67 51.28 50.82 50.86 52.77 45.98 กล่มุ โรงเรยี นท่ี 4 (N = 11) คะแนนเฉลย่ี 52.40 33.71 36.70 39.61 39.00 202.84 สว่ นเบ่ียงเบน 17.44 21.23 14.53 09.89 18.22 69.92 มาตรฐาน T-Score* 54.98 54.56 53.08 54.35 56.29 48.68 กลุ่มโรงเรียนท่ี 5 (N = 11) คะแนนเฉลยี่ 47.07 28.62 34.33 36.94 33.43 181.68 สว่ นเบย่ี งเบน 15.57 17.09 12.80 08.22 14.31 55.29 มาตรฐาน T-Score* 51.68 51.54 51.26 51.19 52.42 46.07 กลุ่มโรงเรยี นที่ 6 (N = 10) คะแนนเฉลย่ี 47.46 26.20 33.69 36.88 30.92 176.43 ส่วนเบี่ยงเบน 14.98 14.62 11.92 08.04 11.99 49.62 มาตรฐาน T-Score* 51.92 50.09 50.77 51.12 50.68 45.43 95

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 ตารางท่ี 4.22 (ต่อ) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 รายการ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาอังกฤษ รวมทกุ วิชา คะแนนเฉลยี่ จำแนกตามระดบั 32.68 35.93 29.94 - 33.04 36.32 29.73 - ประเทศ 44.36 26.04 39.70 40.67 41.94 - สพฐ. 45.22 26.33 19.50 12.45 29.72 - สพม.กท 1 53.03 36.68 สูงกวา่ สงู กวา่ สงู กว่า - 19.14 12.06 29.93 - ผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลยี่ ระหวา่ งระดับ สงู กว่า สงู กวา่ สูงกว่า - กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 1 (N = 10) 12.48 7.71 17.72 - กลุ่มโรงเรียนท่ี 1 18.65 28.43 สงู กวา่ สูงกวา่ สงู กว่า - กบั ประเทศ 8.27 5.74 15.36 - แปลผล สงู กวา่ สูงกว่า สงู กวา่ สูงกวา่ สงู กวา่ - 7.91 5.35 15.57 - กลมุ่ โรงเรียนที่ 1 17.79 28.14 สงู กวา่ สงู กวา่ สูงกว่า - กบั สพฐ. 1.25 1.00 3.36 - แปลผล สูงกว่า สงู กวา่ สูงกว่า สูงกวา่ สงู กว่า - กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 1 9.98 17.79 กับ สพม.กท 1 แปลผล สงู กวา่ สูงกว่า กลุ่มโรงเรยี นท่ี 2 (N = 14) กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 2 11.22 13.50 กับ ประเทศ แปลผล สงู กว่า สงู กวา่ กลุ่มโรงเรียนที่ 2 10.36 13.21 กบั สพฐ. แปลผล สูงกว่า สงู กว่า กล่มุ โรงเรยี นท่ี 2 2.55 2.86 กบั สพม.กท 1 แปลผล สงู กว่า สงู กวา่ 96

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 ตารางที่ 4.22 (ต่อ) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 รายการ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาอังกฤษ รวมทกุ วิชา ผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี ระหว่างระดับ 1.07 0.73 3.99 - - กลุ่มโรงเรียนที่ 3 (N = 11) สงู กวา่ สูงกว่า สงู กว่า - 0.71 0.34 4.20 - กลมุ่ โรงเรยี นที่ 3 2.70 2.15 - สูงกวา่ สูงกวา่ สงู กว่า - กับ ประเทศ -5.95 -4.01 -8.01 - - แปลผล สงู กว่า สูงกวา่ ต่ำกวา่ ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า - - กลุ่มโรงเรยี นท่ี 3 1.84 1.86 4.02 3.68 9.06 - กับ สพฐ. สงู กว่า สงู กว่า สูงกว่า - 3.66 3.29 9.27 - แปลผล สูงกว่า สูงกวา่ - สงู กว่า สงู กวา่ สงู กว่า - กลุ่มโรงเรยี นที่ 3 -5.97 -8.49 -3.00 -1.06 -2.94 - - กับ สพม.กท 1 ต่ำกว่า ตำ่ กว่า ตำ่ กว่า แปลผล ตำ่ กว่า ต่ำกว่า 1.65 1.01 3.49 กลุ่มโรงเรยี นท่ี 4 (N = 11) สงู กวา่ สงู กวา่ สงู กว่า 1.29 0.62 3.70 กลุ่มโรงเรยี นท่ี 4 8.04 7.67 สูงกวา่ สงู กวา่ สงู กวา่ กับ ประเทศ -5.37 -3.73 -8.51 แปลผล สูงกวา่ สงู กวา่ ตำ่ กวา่ ตำ่ กวา่ ต่ำกว่า กลมุ่ โรงเรียนที่ 4 7.18 7.38 กับ สพฐ. แปลผล สูงกวา่ สูงกวา่ กลุม่ โรงเรยี นที่ 4 -0.63 -2.97 กบั สพม.กท 1 แปลผล ตำ่ กวา่ ตำ่ กวา่ กลุ่มโรงเรยี นที่ 5 (N = 11) กลุ่มโรงเรียนท่ี 5 2.71 2.58 กบั ประเทศ แปลผล สงู กวา่ สงู กว่า กลุ่มโรงเรียนท่ี 5 1.85 2.29 กบั สพฐ. แปลผล สงู กวา่ สูงกวา่ กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 5 -5.96 -8.06 กับ สพม.กท 1 แปลผล ตำ่ กว่า ต่ำกว่า 97

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 ตารางท่ี 4.22 (ต่อ) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 รายการ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาฯ ภาษาองั กฤษ รวมทกุ วชิ า ผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี ระหวา่ งระดับ กลมุ่ โรงเรียนที่ 6 (N = 10) กล่มุ โรงเรยี นที่ 6 3.10 0.16 1.01 0.95 0.98 - กบั ประเทศ แปลผล สงู กว่า สูงกวา่ สูงกว่า สูงกว่า สูงกว่า - กล่มุ โรงเรยี นที่ 6 2.24 -0.13 0.65 0.56 1.19 - กบั สพฐ. แปลผล สูงกว่า ตำ่ กว่า สูงกว่า สงู กว่า สูงกว่า - กลุ่มโรงเรยี นท่ี 6 -5.57 -10.48 -6.01 -3.79 -11.02 - กับ สพม.กท 1 แปลผล ต่ำกว่า ตำ่ กวา่ ตำ่ กว่า ตำ่ กวา่ ตำ่ กวา่ - หมายเหตุ * T-Score วิชา คำนวณจากคะแนนดิบของนักเรียน คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของประเทศ T-Score รวมทุกวิชา คำนวณจากคะแนนดิบของนักเรียน คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 จากตารางท่ี 4.22 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตาม กลมุ่ โรงเรยี น พบวา่ 1) กลุ่มโรงเรียนที่ 1 1.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กล่มุ โรงเรียนท่ี 1 มีคา่ มากท่ีสดุ คือ ภาษาไทย มีคา่ เท่ากับ 63.01 ซง่ึ สงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 9.98 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 17.79 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 18.65 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 มีค่าน้อยที่สุดคือ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่าเท่ากับ 48.38 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 7.71 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐานอยู่ 12.06 และสูงกว่าคะแนนเฉลยี่ ของประเทศอยู่ 12.45 1.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาองั กฤษ มคี า่ เทา่ กับ 70.64 คณติ ศาสตร์ มีค่าเท่ากบั 66.89 วทิ ยาศาสตร์ 98

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 มคี า่ เท่ากับ 64.92 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม มคี ่าเท่ากบั 64.71 และภาษาไทย มคี า่ เท่ากับ 61.56 ตามลำดับ 2) กลมุ่ โรงเรียนท่ี 2 2.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 2 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กลุม่ โรงเรยี นที่ 2 มคี ่ามากทสี่ ดุ คือ ภาษาไทย มคี ่าเท่ากบั 55.58 ซง่ึ สงู กวา่ คะแนนเฉล่ยี ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 2.25 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 10.36 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 11.22 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 39.54 ซ่งึ สงู กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 2.86 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 13.21 และสูงกว่า คะแนนเฉล่ียของประเทศอยู่ 13.50 2.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 2 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 60.67 คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 58.02 ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 56.95 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่าเท่ากับ 56.79 และวิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากบั 56.33 ตามลำดับ 3) กลุ่มโรงเรยี นท่ี 3 3.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ีย ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กลุ่มโรงเรียนที่ 3 มคี า่ มากทสี่ ุดคอื ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 47.06 ซง่ึ สงู กวา่ คะแนนเฉล่ยี ของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานอยู่ 1.84 และสงู กว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 2.70 แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลีย่ ของสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 5.97 ส่วนวิชา ที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 มีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 28.19 ซึ่งสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 1.86 และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ของประเทศอยู่ 2.15 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 8.49 3.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 52.77 ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 51.67 คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 51.28 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่าเท่ากับ 50.86 และวิทยาศาสตร์ มคี า่ เท่ากบั 50.82 ตามลำดับ 99

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 4) กลมุ่ โรงเรียนที่ 4 4.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 4 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ีย ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของ กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 4 มีคา่ มากทส่ี ุดคือ ภาษาไทย มคี า่ เทา่ กบั 52.40 ซึง่ สงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานอยู่ 7.18 และสูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ของประเทศอยู่ 8.04 แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 0.63 ส่วนวิชา ที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 33.71 ซึ่งสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 7.38 และสูงกว่าคะแนนเฉล่ีย ของประเทศอยู่ 7.67 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรงุ เทพมหานคร เขต 1 อยู่ 2.97 4.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 4 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 56.29 มีภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 54.98 คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 54.56 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่าเท่ากับ 54.35 และวิทยาศาสตร์ มีค่าเทา่ กับ 53.08 ตามลำดับ 5) กล่มุ โรงเรยี นที่ 5 5.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 5 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยวิชาท่ีคะแนนเฉลี่ยของ กลุม่ โรงเรยี นท่ี 5 มีค่ามากที่สดุ คือ ภาษาไทย มีคา่ เทา่ กับ 47.07 ซ่ึงสงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยู่ 1.85 และสงู กว่าคะแนนเฉลีย่ ของประเทศอยู่ 2.71 แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉล่ียของสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 5.96 ส่วนวิชา ที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 5 มีค่าน้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 28.62 ซึ่งสูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 2.29 และสูงกว่าคะแนนเฉล่ีย ของประเทศอยู่ 2.58 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 8.06 5.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 5 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 52.42 ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 51.68 คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 51.54 วิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 51.26 และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มคี า่ เท่ากับ 51.19 ตามลำดับ 100

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 6) กลุ่มโรงเรียนท่ี 6 6.1) คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษของกลุ่มโรงเรียนท่ี 6 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ส่วนคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ของกลมุ่ โรงเรยี นท่ี 6 สูงกว่าคะแนนเฉล่ียของประเทศ แต่ตำ่ กวา่ คะแนนเฉล่ียของสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 และคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 มีค่ามากที่สุดคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 47.46 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลีย่ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ 2.24 และสูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ของประเทศอยู่ 3.10 แต่ตำ่ กว่าคะแนนเฉล่ียของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 5.57 ส่วนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 มีค่า น้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 26.20 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศอยู่ 0.16 แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อยู่ 10.48 และตำ่ กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยู่ 0.13 6.2) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) ของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 เรียงลำดับค่า จากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย มีค่าเท่ากับ 51.92 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีค่าเท่ากบั 51.12 วิทยาศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 50.77 ภาษาอังกฤษ มีค่าเท่ากับ 50.68 และคณิตศาสตร์ มีคา่ เท่ากบั 50.09 ตามลำดบั 7) คะแนนมาตรฐานที (T-Score) รวมทุกวิชา จำแนกตามกลุ่มโรงเรียน เรียงลำดบั ค่าจากมากไปหาน้อยคือ กลุ่มโรงเรียนที่ 1 มีค่าเท่ากับ 57.97 กลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีค่าเท่ากับ 51.37 กลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีค่าเท่ากับ 48.68 กลุ่มโรงเรียนที่ 5 มีค่าเท่ากับ 46.07 กลุ่มโรงเรียนที่ 3 มีคา่ เทา่ กับ 45.98 และกล่มุ โรงเรียนที่ 6 มีค่าเทา่ กบั 45.43 ตามลำดับ 101

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 4.3.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลุ่มคุณภาพ และกลุม่ โรงเรียน ตารางที่ 4.23 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลุ่มคุณภาพและกลุ่มโรงเรยี น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 กลมุ่ คณุ ภาพของสถานศึกษา* กลุม่ โรงเรียน/ กลุ่ม กล่มุ กลุ่ม กลมุ่ วชิ า ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ (แหง่ ) (แห่ง) (แห่ง) (แหง่ ) กลุ่มโรงเรียนที่ 1 (N = 8) ภาษาไทย 5 62.50 0 0.00 0 0.00 3 37.50 คณติ ศาสตร์ 5 62.50 1 12.50 0 0.00 2 25.00 วทิ ยาศาสตร์ 5 62.50 0 0.00 0 0.00 3 37.50 ภาษาอังกฤษ** 4 50.00 2 25.00 0 0.00 2 25.00 กล่มุ โรงเรยี นท่ี 2 (N = 14) ภาษาไทย 7 50.00 2 14.29 1 7.14 4 28.57 คณติ ศาสตร์ 3 21.43 7 50.00 0 0.00 4 28.57 วทิ ยาศาสตร์ 6 42.86 4 28.57 0 0.00 4 28.57 ภาษาอังกฤษ** 5 35.71 7 50.00 0 0.00 2 14.29 กลมุ่ โรงเรยี นที่ 3 (N = 9) ภาษาไทย 4 44.44 3 33.33 0 0.00 2 22.22 คณติ ศาสตร์ 2 22.22 4 44.44 0 0.00 3 33.33 วิทยาศาสตร์ 2 22.22 3 33.33 0 0.00 4 44.44 ภาษาองั กฤษ** 1 11.11 6 66.67 0 0.00 2 22.22 กลมุ่ โรงเรียนท่ี 4 (N = 11) ภาษาไทย 5 45.45 3 27.27 0 0.00 3 27.27 คณิตศาสตร์ 5 45.45 0 0.00 1 9.09 5 45.45 วทิ ยาศาสตร์ 4 36.36 1 9.09 1 9.09 5 45.45 ภาษาอังกฤษ** 5 45.45 2 18.18 0 0.00 4 36.36 102

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 ตารางท่ี 4.23 (ต่อ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวนสถานศกึ ษาจำแนกตามกลมุ่ คุณภาพของสถานศึกษา* กลุม่ โรงเรียน/ กลมุ่ กลมุ่ กลุ่ม กลมุ่ วิชา ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) กลุ่มโรงเรียนท่ี 5 (N = 10) ภาษาไทย 5 50.00 1 10.00 0 0.00 4 40.00 คณิตศาสตร์ 3 30.00 2 20.00 0 0.00 5 50.00 วิทยาศาสตร์ 3 30.00 1 10.00 0 0.00 6 60.00 ภาษาอังกฤษ** 4 40.00 3 30.00 0 0.00 3 30.00 กลมุ่ โรงเรยี นที่ 6 (N = 10) ภาษาไทย 3 30.00 2 20.00 0 0.00 5 50.00 คณิตศาสตร์ 0 0.00 5 50.00 0 0.00 5 50.00 วิทยาศาสตร์ 1 10.00 3 30.00 1 10.00 5 50.00 ภาษาอังกฤษ** 0 0.00 5 50.00 0 0.00 5 50.00 หมายเหตุ * กลุ่มคุณภาพของสถานศึกษา เป็นการจัดกลุ่มตามบริบทของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เข้าร่วมการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจของนักเรียนเทา่ น้ัน มิได้รวมถึง จำนวนนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ทง้ั หมดของสถานศึกษา กลมุ่ ดมี าก คือคะแนนเฉลีย่ ของสถานศึกษา สงู กวา่ คะแนนเฉล่ยี ของประเทศ สพฐ. และสงู กวา่ หรือเท่ากับ คะแนนเฉล่ยี ของ สพม.กท 1 กลุ่มดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ และสูงกว่าหรือเท่ากับ คะแนนเฉลยี่ ของ สพฐ. แต่ตำ่ กว่าคะแนนเฉลี่ยของ สพม.กท 1 กลุ่มพอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉล่ยี ของ สพฐ. และ สพม.กท 1 กลุ่มปรับปรุง คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา ต่ำกวา่ คะแนนเฉลย่ี ของประเทศ สพฐ. และ สพม.กท 1 ** ภาษาองั กฤษ เนอ่ื งจากคะแนนเฉลีย่ ของ สพฐ. ตำ่ กว่าคะแนนเฉลยี่ ของประเทศ กลมุ่ ดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. และสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ แต่ตำ่ กว่าคะแนนเฉลยี่ ของ สพม.กท 1 กลมุ่ พอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ และ สพม.กท 1 103

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 จากตารางท่ี 4.23 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตาม กลมุ่ คุณภาพและกลุม่ โรงเรียน พบว่า 1) กลุ่มโรงเรยี นท่ี 1 1.1) กลุ่มดีมาก เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 5 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 62.50 เท่ากนั และภาษาอังกฤษ จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 ตามลำดบั 1.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 2 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 25.00 และคณิตศาสตร์ จำนวน 1 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.50 ตามลำดบั 1.3) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 3 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.50 เทา่ กนั คณติ ศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 2 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00 เท่ากัน ตามลำดับ 2) กลมุ่ โรงเรยี นที่ 2 2.1) กลุ่มดีมาก เรยี งลำดบั จำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 วิทยาศาสตร์ จำนวน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 42.86 ภาษาอังกฤษ จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 35.71 และคณิตศาสตร์ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 21.43 ตามลำดับ 2.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 เท่ากัน วิทยาศาสตร์ จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 28.57 และภาษาไทย จำนวน 2 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.29 ตามลำดบั 2.3) กลุ่มพอใช้ คือ ภาษาไทย จำนวน 1 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 7.14 2.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวชิ าละ 4 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 28.57 เทา่ กนั และภาษาอังกฤษ จำนวน 2 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 14.29 ตามลำดับ 3) กลุ่มโรงเรยี นที่ 3 3.1) กลุ่มดมี าก เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหานอ้ ยคือ ภาษาไทย จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.44 คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 22.22 เท่ากัน และภาษาอังกฤษ จำนวน 1 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.11 ตามลำดบั 3.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.67 คณิตศาสตร์ จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.44 ภาษาไทย และวทิ ยาศาสตร์ จำนวนวชิ าละ 3 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 33.33 เทา่ กัน ตามลำดบั 104

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 3.3) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ วิทยาศาสตร์ จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 44.44 คณิตศาสตร์ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 33.33 ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 2 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 22.22 เทา่ กัน ตามลำดับ 4) กลมุ่ โรงเรียนท่ี 4 4.1) กลุ่มดีมาก เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาองั กฤษ จำนวนวิชาละ 5 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 45.45 เท่ากัน และวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 4 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.36 ตามลำดบั 4.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 27.27 ภาษาอังกฤษ จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.18 และวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 9.09 ตามลำดับ 4.3) กลุ่มพอใช้ คือ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 1 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.09 เทา่ กนั ตามลำดบั 4.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 45.45 เท่ากัน ภาษาอังกฤษ จำนวน 4 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.36 และภาษาไทย จำนวน 3 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 27.27 ตามลำดับ 5) กล่มุ โรงเรียนที่ 5 5.1) กลมุ่ ดมี าก เรียงลำดบั จำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 ภาษาอังกฤษ จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 40.00 คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 3 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 30.00 เท่ากนั ตามลำดบั 5.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 30.00 คณิตศาสตร์ จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.00 ภาษาไทย และวทิ ยาศาสตร์ จำนวนวชิ าละ 1 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.00 เทา่ กัน ตามลำดบั 5.3) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ วิทยาศาสตร์ จำนวน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.00 คณิตศาสตร์ จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 ภาษาไทย จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 40.00 และภาษาอังกฤษ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 30.00 ตามลำดบั 6) กลุ่มโรงเรียนท่ี 6 6.1) กลมุ่ ดมี าก เรยี งลำดบั จำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 3 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 30.00 และวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.00 ตามลำดับ 6.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 เท่ากัน วิทยาศาสตร์ จำนวน 3 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 30.00 และภาษาไทย จำนวน 2 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 20.00 ตามลำดบั 6.3) กลมุ่ พอใช้ คอื วทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 10.00 105

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 6.4) กลุ่มปรับปรุง คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา องั กฤษ จำนวนวิชาละ 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 เทา่ กนั ตารางท่ี 4.24 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามกลมุ่ คณุ ภาพและกลุ่มโรงเรียน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 กลุ่มคณุ ภาพของสถานศกึ ษา* กลมุ่ โรงเรียน/ กลมุ่ กลมุ่ กล่มุ กลุ่ม วิชา ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) กลมุ่ โรงเรยี นท่ี 1 (N = 10) ภาษาไทย 3 30.00 3 30.00 0 0.00 4 40.00 คณติ ศาสตร์ 3 30.00 3 30.00 0 0.00 4 40.00 วทิ ยาศาสตร์ 3 30.00 3 30.00 0 0.00 4 40.00 สังคมศึกษาฯ 3 30.00 3 30.00 0 0.00 4 40.00 ภาษาองั กฤษ** 3 30.00 3 30.00 0 0.00 4 40.00 กลุ่มโรงเรยี นท่ี 2 (N = 14) ภาษาไทย 4 28.57 3 21.43 1 7.14 6 42.86 คณติ ศาสตร์ 3 21.43 3 21.43 0 0.00 8 57.14 วิทยาศาสตร์ 3 21.43 3 21.43 1 7.14 7 50.00 สังคมศึกษาฯ 3 21.43 3 21.43 0 0.00 8 57.14 ภาษาองั กฤษ** 3 21.43 3 21.43 0 0.00 8 57.14 กลุ่มโรงเรยี นที่ 3 (N = 11) ภาษาไทย 2 18.18 3 27.27 0 0.00 6 54.55 คณติ ศาสตร์ 1 9.09 3 27.27 0 0.00 7 63.64 วทิ ยาศาสตร์ 1 9.09 3 27.27 0 0.00 7 63.64 สังคมศกึ ษาฯ 1 9.09 3 27.27 0 0.00 7 63.64 ภาษาองั กฤษ** 1 9.09 3 27.27 1 9.09 6 54.55 กลุ่มโรงเรยี นที่ 4 (N = 11) ภาษาไทย 3 27.27 1 9.09 0 0.00 7 63.64 คณิตศาสตร์ 2 18.18 2 18.18 0 0.00 7 63.64 วิทยาศาสตร์ 1 9.09 2 18.18 1 9.09 7 63.64 สังคมศกึ ษาฯ 3 27.27 0 0.00 1 9.09 7 63.64 ภาษาองั กฤษ** 2 18.18 2 18.18 0 0.00 7 63.64 106

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 ตารางท่ี 4.24 (ต่อ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวนสถานศกึ ษาจำแนกตามกลมุ่ คุณภาพของสถานศึกษา* กลุ่มโรงเรียน/ กลุม่ กลมุ่ กล่มุ กลุ่ม วิชา ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ (แห่ง) (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) กล่มุ โรงเรียนท่ี 5 (N = 11) ภาษาไทย 1 9.09 4 36.36 0 0.00 6 54.55 คณิตศาสตร์ 0 0.00 4 36.36 0 0.00 7 63.64 วทิ ยาศาสตร์ 1 9.09 3 27.27 1 9.09 6 54.55 สังคมศกึ ษาฯ 1 9.09 4 36.36 0 0.00 6 54.55 ภาษาอังกฤษ** 0 0.00 5 45.45 0 0.00 6 54.55 กลมุ่ โรงเรยี นที่ 6 (N = 10) ภาษาไทย 1 10.00 2 20.00 2 20.00 5 50.00 คณิตศาสตร์ 0 0.00 3 30.00 0 0.00 7 70.00 วทิ ยาศาสตร์ 0 0.00 3 30.00 1 10.00 6 60.00 สังคมศึกษาฯ 1 10.00 2 20.00 0 0.00 7 70.00 ภาษาอังกฤษ** 0 0.00 3 30.00 0 0.00 7 70.00 หมายเหตุ * กลุ่มดีมาก คือคะแนนเฉล่ียของสถานศึกษา สงู กว่าคะแนนเฉล่ียของประเทศ สพฐ. และสูงกวา่ หรอื เทา่ กับ คะแนนเฉลยี่ ของ สพม.กท 1 กล่มุ ดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ และสูงกว่าหรือเท่ากับ คะแนนเฉลย่ี ของ สพฐ. แตต่ ่ำกว่าคะแนนเฉล่ียของ สพม.กท 1 กล่มุ พอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลย่ี ของ สพฐ. และ สพม.กท 1 กลุ่มปรับปรุง คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา ตำ่ กวา่ คะแนนเฉลยี่ ของประเทศ สพฐ. และ สพม.กท 1 ** ภาษาองั กฤษ เน่อื งจากคะแนนเฉลย่ี ของ สพฐ. ต่ำกวา่ คะแนนเฉลี่ยของประเทศ กลุม่ ดี คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. และสูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ แตต่ ่ำกวา่ คะแนนเฉล่ียของ สพม.กท 1 กลุ่มพอใช้ คือคะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา สูงกว่าหรือเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของ สพฐ. แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ีย ของประเทศ และ สพม.กท 1 จากตารางที่ 4.24 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตาม กลุ่มคณุ ภาพและกลมุ่ โรงเรียน พบว่า 107

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 1) กลมุ่ โรงเรยี นที่ 1 1.1) กลุ่มดีมาก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 3 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 30.00 เทา่ กัน 1.2) กลุ่มดี คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และภาษาองั กฤษ จำนวนวิชาละ 3 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 30.00 เทา่ กัน 1.3) กลุ่มปรับปรุง คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และภาษาองั กฤษ จำนวนวชิ าละ 4 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 40.00 เท่ากนั 2) กลุ่มโรงเรยี นที่ 2 2.1) กลุ่มดีมาก เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย จำนวน 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 28.57 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาองั กฤษ จำนวนวิชาละ 3 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 21.43 เทา่ กนั ตามลำดับ 2.2) กลุ่มดี คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และภาษาองั กฤษ จำนวนวิชาละ 3 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.43 เท่ากนั 2.3) กลุ่มพอใช้ คือ ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ จำนวนวิชาละ 1 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 7.14 เทา่ กนั 2.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 57.14 เท่ากัน วิทยาศาสตร์ จำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 และภาษาไทย จำนวน 6 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 42.86 ตามลำดบั 3) กลุ่มโรงเรียนที่ 3 3.1) กลมุ่ ดีมาก เรยี งลำดบั จำนวนจากมากไปหานอ้ ยคือ ภาษาไทย จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.18 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวชิ าละ 1 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09 เท่ากนั ตามลำดบั 3.2) กลุ่มดี คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 27.27 เท่ากนั 3.3) กลมุ่ พอใช้ คือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 1 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 9.09 3.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวนวชิ าละ 7 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 63.64 เทา่ กัน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ จำนวนวชิ าละ 6 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 54.55 เท่ากนั ตามลำดบั 4) กล่มุ โรงเรยี นที่ 4 4.1) กลุ่มดีมาก เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวนวิชาละ 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 27.27 คณิตศาสตร์ 108

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.18 เท่ากัน และวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.09 ตามลำดับ 4.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.18 เท่ากัน และภาษาไทย จำนวน 1 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 9.09 ตามลำดับ 4.3) กลุ่มปรับปรุง คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 7 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 63.64 เท่ากัน 5) กล่มุ โรงเรียนที่ 5 5.1) กลุ่มดีมาก คือ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวนวชิ าละ 1 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 9.09 เทา่ กนั 5.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ ภาษาอังกฤษ จำนวน 5 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 45.45 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน วิชาละ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 36.36 เท่ากัน และวิทยาศาสตร์ จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 27.27 ตามลำดบั 5.3) กลุม่ พอใช้ คือ วิทยาศาสตร์ จำนวน 1 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 9.09 5.4) กลุ่มปรับปรุง คือ คณิตศาสตร์ จำนวน 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 63.64 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวน วิชาละ 6 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 54.55 เทา่ กนั ตามลำดับ 6) กลมุ่ โรงเรียนที่ 6 6.1) กลุ่มดีมาก คือ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวนวชิ าละ 1 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 10.00 เทา่ กนั 6.2) กลุ่มดี เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 30.00 เท่ากัน ภาษาไทย และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวนวิชาละ 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 20.00 เท่ากัน ตามลำดบั 6.3) กลมุ่ พอใช้ เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคอื ภาษาไทย จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 20.00 วิทยาศาสตร์ จำนวน 1 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.00 ตามลำดับ 6.4) กลุ่มปรับปรุง เรียงลำดับจำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ จำนวนวิชาละ 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70.00 เท่ากัน วิทยาศาสตร์ จำนวน 6 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60.00 และภาษาไทย จำนวน 5 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 50.00 ตามลำดับ 109

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 110

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ และรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 แบง่ ผลการศกึ ษาออกเปน็ 3 ประเด็นดังน้ี 5.1 สรปุ ผล 5.2 อภปิ รายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผล 5.1.1 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 สรุปผลการศึกษาได้ 3 ระดับดงั น้ี 1) สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 1.1) สถานศึกษาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เข้าร่วมการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจของนักเรียน มจี ำนวน 62 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 93.94 และนักเรียนท่สี มัครสอบ มีจำนวน 6,160 คน คิดเปน็ ร้อยละ 34.23 จำนวนผู้เข้าสอบเมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้งหมดของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามวิชา เรียงลำดับ จำนวนจากมากไปหาน้อยคือ คณิตศาสตร์ มีจำนวน 4,708 คน คิดเป็นร้อยละ 26.16 ภาษาไทย มีจำนวน 4,703 คน คิดเป็นร้อยละ 26.14 ภาษาอังกฤษ มีจำนวน 4,581 คน คิดเป็นร้อยละ 25.46 และวทิ ยาศาสตร์ มีจำนวน 4,576 คน คิดเป็นร้อยละ 25.43 ตามลำดับ 1.2) การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กับคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ พบว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และคะแนนเฉลย่ี ของประเทศ 111

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 1.3) การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 พบว่า คะแนน เฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ปีการศึกษา 2563 สูงกว่า ปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 3 วิชาคือ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ส่วนปีการศึกษา 2563 ตำ่ กว่าปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 1 วชิ าคอื คณติ ศาสตร์ 1.4) การเปรียบเทียบร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 พบว่า ร้อยละ ของนักเรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 3 วิชาคือ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สว่ นปกี ารศกึ ษา 2563 ต่ำกว่าปีการศกึ ษา 2562 มีจำนวน 1 วิชาคือ คณิตศาสตร์ 2) ขนาดสถานศกึ ษา การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของขนาดสถานศึกษา กับคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน และคะแนนเฉล่ียของประเทศ พบว่า 2.1) คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษทุกวิชา สูงกว่าคะแนน เฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และคะแนนเฉลยี่ ของประเทศ 2.2) คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉล่ีย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ีย ของสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 2.3) คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็กทุกวชิ า ต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และคะแนนเฉลีย่ ของประเทศ 3) กลมุ่ โรงเรียน การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียน กับคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ พบว่า 3.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 และกลุ่มโรงเรียนท่ี 2 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉล่ีย ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ 112

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 3.2) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 กลุ่มโรงเรียนที่ 5 และกลุ่มโรงเรียนที่ 6 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของ ประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉล่ียของสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1 3.3) คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษของ กลุ่มโรงเรียนที่ 4 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ ส่วนคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ของกลุ่มโรงเรียนที่ 4 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 5.1.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 สรุปผลการศึกษาได้ 3 ระดับดงั น้ี 1) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 1.1) สถานศึกษาที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้าร่วมการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 มีจำนวน 67 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100.00 จำนวนผู้เข้าสอบเมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมดของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จำแนกตามวิชา เรียงลำดับ จำนวนจากมากไปหาน้อยคือ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีจำนวน 15,331 คน คิดเป็น ร้อยละ 94.05 คณิตศาสตร์ มีจำนวน 15,298 คน คิดเป็นร้อยละ 93.85 ภาษาอังกฤษ มีจำนวน 15,235 คน คิดเป็นร้อยละ 93.46 ภาษาไทย มีจำนวน 15,040 คน คิดเป็นร้อยละ 92.26 และวทิ ยาศาสตร์ มจี ำนวน 14,918 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 91.52 ตามลำดบั 1.2) การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กับคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ พบว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน และคะแนนเฉล่ยี ของประเทศ 1.3) การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 4 วิชาคือ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา 113

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ ส่วนปีการศึกษา 2563 ต่ำกว่าปีการศึกษา 2561 มีจำนวน 1 วิชา คือ คณิตศาสตร์ 1.4) การเปรียบเทียบร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 พบว่า ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ขน้ึ ไป ปีการศกึ ษา 2563 สงู กว่าปกี ารศกึ ษา 2562 ทุกวิชา 2) ขนาดสถานศกึ ษา การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของขนาดสถานศึกษา กับคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ พบว่า 2.1) คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษทุกวิชา สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน และคะแนนเฉล่ียของประเทศ 2.2) คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 2.3) คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของสถานศึกษาขนาดกลาง ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ ส่วนคะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษของ สถานศึกษาขนาดกลาง สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 3) กลุม่ โรงเรยี น การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียน กับคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และคะแนนเฉลยี่ ของประเทศ พบว่า 3.1) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 และกลุ่มโรงเรียนที่ 2 สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 คะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และคะแนนเฉลีย่ ของประเทศ 114

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 3.2) คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มโรงเรียนที่ 3 กลุ่มโรงเรียนที่ 4 และกลุ่มโรงเรียนที่ 5 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลยี่ ของสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 3.3) คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ส่วนคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ ของกลุ่มโรงเรียนที่ 6 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ แต่ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 5.2 อภปิ รายผล 5.2.1 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อภิปรายผลการศึกษาได้ 3 ระดบั ดงั นี้ 1) สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 1.1) ร้อยละของผู้เข้าสอบทุกวิชาต่ำกว่าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับจำนวน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้งหมดของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 เนื่องจากการทดสอบครั้งน้ีเป็นการทดสอบตามความสมัครใจของนักเรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โดยถือเป็นสทิ ธิส์ ว่ นตัวโดยเฉพาะของนักเรียน และยกเลกิ การนำผลการทดสอบ ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จบการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 นกั เรียนท่ีเข้าร่วม การทดสอบจึงมจี ำนวนน้อย สอดคล้องกับประกาศของกระทรวงศึกษาธกิ ารเรื่อง นโยบายการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยให้นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของสถานศึกษาในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ เข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ตามความสมคั รใจ โดยให้ถือเปน็ สิทธ์ิส่วนตัวโดยเฉพาะ ของนักเรยี น ตั้งแตป่ กี ารศกึ ษา 2563 เป็นต้นไป 1.2) คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเข้าร่วม การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจของ 115

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 นกั เรยี น อาจเปน็ กลมุ่ นักเรยี นท่ีมีการเตรยี มความพร้อมในด้านต่าง ๆ สำหรบั การทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เช่น การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติ เชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจาก ผู้ปกครองและสถานศึกษา รวมถึงสถานศึกษาอาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริม ให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของ ประเทศ สอดคล้องกับการศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อม เพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียม ความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การมีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) การสนับสนุนจากผู้ปกครอง และการสนับสนุนจากสถานศึกษา เป็นต้น และสอดคล้องกับการศึกษาของจำเริญ จิตรหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่า กลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการ ด้านการพัฒนาคุณภาพครู และด้านการพัฒนาคุณภาพ นักเรียนในภาพรวม สามารถนำไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ของสถานศกึ ษาได้ 1.3) จำนวนวชิ าทคี่ ะแนนเฉล่ียของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 และร้อยละของนักเรียนที่มีผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 3 วิชา คือภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เช่นเดียวกัน เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจของนักเรียน อาจเป็น กลุ่มนักเรียนที่มีการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ สำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เช่น การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและสถานศึกษา รวมถึงสถานศึกษาอาจมี กลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 สอดคล้องกับการศึกษาของฐิตินนั ทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 116

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การมีเจตคติ เชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การสนับสนุนจากผู้ปกครอง และการสนับสนนุ จากสถานศึกษา เป็นตน้ และสอดคล้องกบั การศกึ ษาของจำเรญิ จติ รหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรยี นสงั กัดกรงุ เทพมหานคร ซง่ึ พบวา่ กลยุทธ์ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ดา้ นการพัฒนาคุณภาพครู และด้านการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในภาพรวม สามารถนำไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ของสถานศกึ ษาได้ ในทางตรงกันข้าม จำนวนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ตำ่ กว่าปกี ารศกึ ษา 2562 และร้อยละ ของนักเรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2563 ต่ำกว่าปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 1 วิชาคือ คณิตศาสตร์ เช่นเดียวกัน เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว อาจยังเตรียมความพร้อม ในด้านต่าง ๆ สำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 ไม่เพียงพอหรืออาจไม่เต็มศักยภาพของนักเรียน รวมถึงสถานศึกษาอาจมี กลยุทธ์ต่าง ๆ ที่ยังไม่สามารถส่งเสริมให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่เข้ารับการทดสอบ ดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศกึ ษา 2562 เป็นต้น 2) ขนาดสถานศึกษา คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและขนาดใหญ่ทกุ วิชา สูงกว่าคะแนน เฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจของนักเรียน อาจเป็น กลุ่มนักเรียนที่มาจากสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและขนาดใหญ่ที่มีการเตรียมความพร้อมในด้าน ต่าง ๆ สำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เช่น การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและสถานศึกษา รวมถึงสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ และขนาดใหญ่อาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับ การทดสอบดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 ของสถานศึกษาขนาดใหญพ่ ิเศษและขนาดใหญ่ทุกวิชา สงู กว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ สอดคล้องกับ การศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ของนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นสังกัดกรงุ เทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 117

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 ได้แก่ การมเี จตคตเิ ชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) การสนับสนุน จากผู้ปกครอง และการสนับสนุนจากสถานศึกษา เป็นต้น และสอดคล้องกับการศึกษาของจำเริญ จิตรหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่า กลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการ ด้านการพัฒนาคุณภาพครู และด้านการพัฒนาคุณภาพนักเรยี นในภาพรวม สามารถนำไปใช้ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ผิ ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาได้ ในทางตรงกันข้าม คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็กทุกวิชา ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของสถานศึกษา ขนาดกลางและขนาดเล็กที่เขา้ รับการทดสอบดังกล่าว อาจยงั เตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ สำหรับ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ไม่เพียงพอหรืออาจ ไม่เต็มศักยภาพของนักเรียน รวมถึงสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็กอาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ท่ียังไม่สามารถส่งเสริมให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษา ขนาดกลางและขนาดเลก็ ทกุ วิชา สูงกวา่ คะแนนเฉลย่ี ของประเทศ เป็นต้น 3) กล่มุ โรงเรียน คะแนนเฉลี่ยของกลุม่ โรงเรียนท่ี 1 ถึงกลมุ่ โรงเรยี นที่ 6 ทกุ วิชา สงู กว่าคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ตามความสมัครใจของนักเรียน อาจเป็นกลุ่ม นักเรียนที่มาจากกลุ่มโรงเรียนที่ 1 ถึงกลุ่มโรงเรียนที่ 6 ที่มีการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ สำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เชน่ การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและสถานศึกษา รวมถึงกลุ่มโรงเรียนที่ 1 ถึงกลุ่มโรงเรียนที่ 6 อาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 ของกลุ่มโรงเรียนท่ี 1 ถึงกลุ่มโรงเรียนที่ 6 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ สอดคล้องกับการศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การมีเจตคติ เชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การสนับสนุนจากผู้ปกครอง และการสนับสนนุ จากสถานศึกษา เปน็ ตน้ และสอดคล้องกับการศึกษาของจำเริญ จิตรหลงั (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานคร ซึง่ พบวา่ กลยุทธด์ ้านการบรหิ ารจัดการ ด้านการพัฒนาคุณภาพครู 118

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 และด้านการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในภาพรวม สามารถนำไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาได้ 5.2.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 อภปิ รายผลการศึกษาได้ 3 ระดับดงั นี้ 1) สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 1.1) ร้อยละของผู้เข้าสอบทุกวิชาสูงกว่าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับจำนวน นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมดของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 เนอื่ งจากการทดสอบครง้ั นนี้ ักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ทเี่ ข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ทุกคน ต้องใช้ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนที่จบการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสัดส่วน 70 : 30 รวมถึงใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย นักเรียนที่เข้าร่วมการทดสอบ จึงมีจำนวนมาก สอดคล้องกับประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง นโยบายการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยให้นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของสถานศึกษาในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการให้เข้ารับการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ทุกคน และใช้ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนที่จบการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสัดส่วน 70 : 30 และสอดคล้องกับการศึกษาของธนนันท์ ธนารัชตะภูมิ (2563: 63) เรื่องการใช้ประโยชน์ จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ซึ่งพบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ 6 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1) ใช้เปน็ องค์ประกอบ หนึ่งในการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนที่จบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) ใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อของสถานศึกษา 3) ใช้เป็น องค์ประกอบหน่ึงในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย 4) ใช้เป็นเป้าหมายหรือข้อมลู บ่งชคี้ ุณภาพและการพัฒนา การศึกษา 5) ใช้พัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนและยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น และ 6) ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลสำหรบั การวิจยั ทางการศึกษา 1.2) คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 อาจเป็นกลุ่มนักเรียนที่มีการเตรียมความพร้อม 119

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 ในด้านต่าง ๆ สำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เช่น การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจากผูป้ กครองและสถานศึกษา รวมถึงสถานศึกษาอาจมี กลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ทุกวิชา สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคะแนนเฉลี่ยของประเทศ สอดคล้องกับการศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อม เพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การมีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) การสนับสนุนจากผู้ปกครอง และการสนับสนุนจากสถานศึกษา เป็นต้น และสอดคล้องกับการศึกษา ของจำเริญ จิตรหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่า กลยุทธ์ด้านการบริหาร จัดการ ด้านการพัฒนาคุณภาพครู และด้านการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในภาพรวม สามารถนำไปใช้ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาได้ 1.3) จำนวนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 4 วิชาคือ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ เนื่องจากกลุ่มนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 อาจเป็นกลุ่มนกั เรียนท่ีมีการเตรียมความพร้อมในดา้ นต่าง ๆ สำหรบั การทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เช่น การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติเชิงบวก ต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง และสถานศึกษา รวมถึงสถานศึกษาอาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริมให้นักเรียน กลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าวมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วชิ าภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม และภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 สอดคล้องกับการศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียม ความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การมีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การสนับสนุนจากผู้ปกครอง และการสนับสนุนจาก 120

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 สถานศึกษา เป็นต้น และสอดคล้องกับการศึกษาของจำเริญ จิตรหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์ การยกระดับผลสัมฤทธิผ์ ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่า กลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการ ด้านการพัฒนาคุณภาพครู และด้าน การพัฒนาคุณภาพนักเรียนในภาพรวม สามารถนำไปใช้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาได้ ในทางตรงกันข้าม จำนวนวิชาที่คะแนนเฉลี่ยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ปีการศึกษา 2563 ต่ำกว่าปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 1 วิชาคือ คณิตศาสตร์ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว อาจยัง เตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ สำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 ไม่เพียงพอหรืออาจไม่เต็มศักยภาพของนักเรียน รวมถึง สถานศึกษาอาจมกี ลยุทธ์ต่าง ๆ ท่ียังไม่สามารถสง่ เสริมใหน้ กั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 กลุ่มที่เขา้ รับ การทดสอบดังกล่าวมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563 สงู กว่าปีการศกึ ษา 2562 เปน็ ต้น 1.4) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป ปีการศึกษา 2563 ทุกวิชา สูงกว่าปีการศึกษา 2562 เนื่องจาก กลุ่มนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ท่ีเข้าร่วมการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 อาจเป็นกลุ่มนักเรียนที่มีการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ สำหรับการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ทุกวิชาเป็นอย่างดี เช่น การได้รับ การสง่ เสริมให้มีเจตคติเชงิ บวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) การได้รับ การสนับสนุนจากผู้ปกครองและสถานศึกษา รวมถึงสถานศึกษาอาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสม และสามารถส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ทุกวิชา มากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไป สอดคล้องกับ การศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การมีเจตคตเิ ชงิ บวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) การสนับสนุน จากผู้ปกครอง และการสนับสนุนจากสถานศึกษา เป็นต้น และสอดคล้องกับการศึกษาของจำเริญ จิตรหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่า กลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการ ด้านการพัฒนาคณุ ภาพครู และด้านการพัฒนาคุณภาพนักเรยี นในภาพรวม สามารถนำไปใช้ยกระดับ ผลสัมฤทธผ์ิ ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาได้ 121

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 2) ขนาดสถานศกึ ษา คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและขนาดใหญ่ทุกวิชา สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท่ีเข้าร่วมการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 อาจเป็นกลุ่มนักเรียนที่มาจาก สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษและขนาดใหญ่ที่มีการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ สำหรับ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เช่น การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและสถานศึกษา รวมถึงสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ และขนาดใหญ่อาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับ การทดสอบดงั กล่าว มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 ของสถานศกึ ษาขนาดใหญ่พิเศษและขนาดใหญ่ทุกวิชา สูงกวา่ คะแนนเฉลี่ยของประเทศ สอดคลอ้ งกับ การศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสังกัดกรงุ เทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ไดแ้ ก่ การมีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การสนับสนุน จากผู้ปกครอง และการสนับสนุนจากสถานศึกษา เป็นต้น และสอดคล้องกับการศึกษาของจำเริญ จิตรหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่า กลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการ ด้านการพัฒนาคุณภาพครู และด้านการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในภาพรวม สามารถนำไปใช้ยกระดับ ผลสมั ฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาได้ ในทางตรงกันข้าม คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็กทุกวิชา ต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของสถานศึกษา ขนาดกลางและขนาดเล็กท่ีเข้ารับการทดสอบดังกล่าว อาจยังเตรียมความพร้อมในดา้ นต่าง ๆ สำหรับ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ไม่เพียงพอหรืออาจ ไม่เต็มศักยภาพของนักเรียน รวมถึงสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็กอาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ท่ียัง ไม่สามารถส่งเสริมให้นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่เข้ารับการทดสอบดังกล่าวมีผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสถานศึกษาขนาดกลาง และขนาดเลก็ ทกุ วิชา สูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ของประเทศ เปน็ ต้น 122

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 3) กล่มุ โรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ของกลมุ่ โรงเรยี นท่ี 1 ถึงกลุ่มโรงเรยี นท่ี 6 ทกุ วิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ของประเทศ เนื่องจากกลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 อาจเป็นกลุ่มนักเรียนที่มีการเตรียมความพร้อม ในด้านต่าง ๆ สำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 เป็นอย่างดี เช่น การได้รับการส่งเสริมให้มีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) การได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและสถานศึกษา รวมถึงกลุ่มโรงเรียนที่ 1 ถึงกลุ่มโรงเรียนที่ 6 อาจมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสามารถส่งเสริมให้นักเรียนกลุ่มที่เข้ารับ การทดสอบดังกล่าวมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของกลุ่มโรงเรียนที่ 1 ถึงกลุ่มโรงเรียนที่ 6 ทุกวิชา สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของประเทศ สอดคล้องกับ การศึกษาของฐิตินันทน์ ผิวนิล (2562: ก) เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 ซึ่งพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อม เพือ่ การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 ได้แก่ การมีเจตคติเชิงบวกต่อการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การสนับสนุนจากผู้ปกครอง และการสนับสนุนจากสถานศึกษา เป็นต้น และสอดคล้องกับการศึกษา ของจำเริญ จิตรหลัง (2562: ก) เรื่องกลยุทธ์การยกระดับผลสัมฤทธิ์ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่า กลยุทธ์ด้านการบริหาร จัดการ ด้านการพัฒนาคุณภาพครู และด้านการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในภาพรวม สามารถนำไปใช้ ยกระดบั ผลสัมฤทธผ์ิ ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาได้ 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การนำผลการศึกษาไปใช้ 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 เป็นผลการทดสอบ เฉพาะกลุ่มนักเรียนที่เข้ารับการทดสอบตามความสมัครใจของนักเรียน ซึ่งไม่ใช่ผลที่แสดงถึงความรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน การนำผลการศึกษาไปใช้จึงควรพิจารณาตามบริบท ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับกลุม่ นักเรียนทเี่ ข้ารับการทดสอบ 2) สถานศึกษาสามารถใช้สารสนเทศจากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ในการวางแผน ส่งเสรมิ และสนับสนุนการพฒั นาคุณภาพของผูเ้ รียนของตาม บริบทสถานศึกษา ขนาดสถานศึกษา และกลุม่ โรงเรียน 123

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 5.3.2 ข้อเสนอแนะเพอื่ การศึกษาครั้งตอ่ ไป 1) สถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็กควรจัดทำแนวทางหรือกลยุทธ์ที่เหมาะสม กับบริบทของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมหรือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เช่น ด้าน การบริหาร ด้านการพัฒนาคณุ ภาพครู และด้านการพฒั นาคณุ ภาพของนกั เรยี น เป็นต้น 2) สถานศึกษาควรศึกษาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของสถานศึกษาในแต่ละวิชาเป็นรายข้อ โดยพิจารณาข้อที่นักเรียนมากกว่าร้อยละ 50 ขึ้นไปตอบผิด ซึ่งอาจเกิดจากความคลาดเคลื่อนทางการเรียนรู้ของนักเรียน เพื่อนำผลมาใช้ ในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนให้มคี ุณภาพ 124

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 บรรณานกุ รม จำเรญิ จิตรหลงั . (2562). กลยุทธก์ ารยกระดับผลสัมฤทธผ์ิ ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ในโรงเรียนสงั กัดกรงุ เทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สำนักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร. ฐิตนิ นั ทน์ ผิวนิล. (2562). การเตรียมความพรอ้ มเพ่ือการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562. กรุงเทพฯ: สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร. ธนนันท์ ธนารชั ตะภมู .ิ (2563). การใชป้ ระโยชนจ์ ากผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ขน้ั พนื้ ฐาน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 48(1), 63 - 82. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET). (2563, 25 ธนั วาคม). __________. เรือ่ ง การกำหนดและแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา. (2564, 17 กมุ ภาพนั ธ์). ราชกจิ จานเุ บกษา. 138, 4 - 9. ประกาศสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เรื่อง เลอื่ นกำหนดการจัด การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O–NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ประจำปกี ารศึกษา 2563. (2564, 3 มีนาคม). พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545. (2545, 19 ธนั วาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. 119, ตอนท่ี 123 ก, 16 - 21. วรรณี แกมเกตุ. (2555). วธิ วี ทิ ยาการวิจยั ทางพฤติกรรมศาสตร์ (Research Methodology in Behavioral Sciences). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน). (2558). O-NET (Ordinary National Educational Test). [ออนไลน]์ . แหล่งทมี่ า https://www.niets.or.th/th/ catalog/view/211 __________. (2563ก). รปู แบบข้อสอบและจำนวนข้อสอบแต่ละรายวชิ า (Test Blueprint) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563. [ออนไลน]์ . แหลง่ ที่มา https://www.niets.or.th/th/catalog/view/213 __________. (2563ข). รปู แบบข้อสอบและจำนวนข้อสอบแตล่ ะรายวิชา (Test Blueprint) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2563. [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://www.niets.or.th/th/catalog/view/214 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1. (2563ก). กล่มุ โรงเรียนสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. [ออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://eservice.sesao1.go.th/info/school-group 125

รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 __________. (2563ข). แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1. กรงุ เทพฯ: กล่มุ นโยบายและแผน สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1. หนังสอื สำนกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.4/ว9 เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการย้ายผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน. (2554, 29 กรกฎาคม). 126

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 สพม.กท 1 ภาคผนวก 127

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 128

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 สพม.กท 1 ภาคผนวก ก ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2561 - 2563 ของสถานศกึ ษาสงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 129

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 สพม.กท 1 130


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook