Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎีองค์การ

ทฤษฎีองค์การ

Published by sack.301, 2017-07-03 22:00:32

Description: ทฤษฎีองค์การ

Keywords: ทฤษฎีองค์การ

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ทฤษฎีองค์การ „ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ „ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา 1

ความหมายของทฤษฎีองค์การศิริวรรณ เสรีรัตน์ สมชาย หริ ัญกติ ติ ได้ให้ความหมายวา่ ทฤษฎี หมายถึง การจดั กล่มุ อย่างมีระบบของความคิดและหลกั เกณฑ์ที่ขนึ ้ แก่กนั ซง่ึ กาหนดโครงสร้างการทางาน หรือนาความรู้มารวมกนั เพ่ือให้ได้มาซง่ึ ความรู้ที่สาคยั เรื่องใดเรื่องหนง่ึเวกค์ ได้ให้ความหมายว่า ทฤษฎี หมายถึง ระบบของฐานคติหลกั การท่ีได้รับการยอมรับและกฎเกณฑ์ของกระบวนการท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ พยากรณ์ หรือ อธิบายธรรมชาตขิ องพฤติกรรมของปรากฎการณ์ที่ได้รับการสนใจศกึ ษาสรุป ทฤษฎี หมายถึง ชุดของแนวคิดที่เชื่อมโยงสมั พนั ธ์กันเพื่อใช้อธิบายปรากฎการณ์ต่างๆที่อย่ใู นความสนใจศกึ ษาทฤษฎีองค์การ หมายถึง ข้อสรุปหรือแนวติดที่เป้นที่ยอมรับโดยทั่วไปในเร่ืองต่างๆที่เกี่ยวกับโครงสร้าง กระบวนวิธีการปฎิบตั ิงาน อานาจหน้าที่ตลอดจนพฤตกิ รรมระหว่างบคุ คล และกล่มุ ตา่ งๆในองค์การอย่างเป็นระบบรวมถึงกิจกรรมและความสมั พนั ธ์ระหวา่ งองค์ประกอบตา่ งๆในองค์การ 2

ลักษณะท่สี าคัญของทฤษฎอี งค์การเป็นการศกึ ษาพฤตกิ รรมขององค์การในลกั ษณะภาพรวมครอบคลมุ ถึงการออกแบบโครงสร้างองค์การ หรือระบบภายในองค์การเป็นการศกึ ษาความสมั พนั ธ์ขององค์การกบั สง่ิ แวดล้อมภายนอกเป็นการศกึ ษาความสมั พนั ธ์ขององค์การหนง่ึ กบั องค์การอ่ืน 3

ประโยชน์ของการศกึ ษาทฤษฎอี งค์การ ความเข้าใจและการวนิ ิจฉัย ปรากฎการณ์ขององค์การการตอบสนองต่อความ ทฤษฎี การออกแบบโครงสร้ างและ ต้องการของสังคม องค์การ ระบบขององค์การการเปล่ียนแปลงองค์การ การประยุกต์เทคนิค การจดั การเข้าใจพฤตกิ รรรมมนุษย์ สมาชิกมีสุขภาพดี การดาเนินงานอย่างมี มากขนึ ้ ประสทิ ธิภาพ 4

ประเภทของทฤษฎีองค์การสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ1. กลุ่มนักปฎบิ ัตนิ ิยม ( practitioner)2. กลุ่มนักวชิ าการนิยม ( scientism) 5

(Organization Theory) สามารถสรุปความคดิ ของทฤษฎีขององค์การออกเป็ น 4 รูปแบบ คือ 1. ทฤษฎีองค์การตามวิธีการสมยั ดงั้ เดมิ หรือแบบคลาสสคิ ( Classical Theory ) 2. ทฤษฎอี งค์การตามวิธีการทางพฤตกิ รรมศาสตร์ ( behavioral science Theory ) 3. ทฤษฎอี งค์การตามวธิ ีการสมัยใหม่ (Modern Theory ) 4. ทฤษฎอี งค์การหลังยุคสมัยปัจจุบัน (post- Modern Theory ) 618

แนวคดิ ทางการจัดการClassical Approach : แนวคดิ แบบดงั้ เดมิเน้นโครงสร้าง กฎ ระเบยี บ มหี ลักสาคัญว่า องค์การทุกองค์การต้องกาหนดกระบวนการบริหารขึน้ มาอย่างมีเหตุผล และทกุ คนต้องทาตามกระบวนการนัน้ ทกุ คน Scientific Management : การจดั การเชงิ วทิ ยาศาสตร์ โดย Frederick W Taylor เสนอเทคนิค Time and Motion Study นาวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์มาวิเคราะห์และแก้ปัญหา เร่ิมจากการหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคนกบั งาน ใช้การทดลองเป็นเกณฑ์หามาตรการการทางานให้มีประสทิ ธิภาพสงู สดุ เชื่อวา่ เงินตวั เดียวลอ่ ใจให้คนทางาน ละเลยการจงู ใจ อารมณ์ และความต้องการทางสงั คมเพ่อื ให้เกดิ One best way ในการทางาน เกดิ ผลดี เพ่มิ ผลผลติ และ ประสทิ ธิภาพปัญหา - ไม่สนใจปัจจยั ด้านสังคมและจติ วทิ ยา - งานซา้ ซาก จาเจ ทาให้พนักงานเกดิ ความเบ่อื หน่าย - สหภาพแรงงานมกี ารต่อต้าน - ไม่สนใจสภาพแวดล้อมภายนอก 7

 Administrative Principle : หลักการจัดการHenry Fayol เสนอ POCCC และ หลักการบริหาร 14 ข้อ1. การแบง่ งานกนั ทา 8. ให้มีเสถียรภาพในการปฏิบตั ิ2. กาหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบ 9. ถือหลกั ประโยชน์สว่ นร่วมยิ่งกวา่ สว่ นตวั3. กาหนดสายบงั คบั บญั ชา 10. ถือความเป็นระเบยี บ4. เอกภาพในการบงั คบั บญั ชา 11. ถือหลกั ความเสมอภาค5. ต้องมีวินยั 12. ถือหลกั ประโยชน์ตอบแทน6. ให้มีศนู ย์กลางอานาจ 13. ให้มีความคดิ ริเร่ิม7. ให้มีเอกภาพในการอานวยการ 14. ให้มีความสามคั คีหลักการจดั การองค์การ เรียกย่อๆว่า OSCARวัตถุประสงค์(O=objective) ความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน(S=specialization) การประสานงาน (C=ordination) อานาจหน้าท่ี (A=authority) ความรับผดิ ชอบ (R=responsibility) 8

Bureaucracy Theory : ทฤษฎรี ะบบราชการ โดย Max Weber ลักษณะ - division of labor แบ่งแยกงานตามความชานาญเฉพาะด้าน - hierarchy of authority กาหนดอานาจหน้าท่ไี ว้อย่างชัดเจน - rules and procedure จัดให้มีกฎระเบียบข้อบังคับเป็ นลายลกั ษณ์อักษร - impersonel บุคคลในองค์การไม่คานึงถงึ ความสัมพันธ์ เพยี งแต่มุ่งสู่เป้าหมายให้ดที ่สี ุด - merit systemการคดั เลอื กบคุ คล ขนึ ้ อยกู่ บั ความสามารถ 1. ต้องมีการแบง่ งานกนั ทา ตามความชานาญ 2. การปฏบิ ตั ิถือกฎเกณฑ์ระเบียบโดยเคร่งครัด 3. สายการบงั คบั บญั ชาลดหลน่ั ชดั เจน 9

ทฤษฎอี งค์การตามวธิ ีการทางพฤตกิ รรมศาสตร์ Human Relation Approach : แนวคดิ เชงิ มนุษยสมั พนั ธ์ สนใจบุคคลมากขนึ้ โดยมกี ารนาหลักจติ วิทยามาประยกุ ต์ใช้ The Hawthorne Study โดย Elton Mayo ศกึ ษาความสัมพนั ธ์ของบุคคลกับสภาพแวดล้อมในท่ที างาน ผลการศกึ ษา แสงสว่างมีความสมั พนั ธ์กบั ผลผลติ กลุ่มมีความสมั พนั ธ์ต่อผลการปฏบิ ตั งิ าน ระบบสังคมหรือสภาพแวดล้อมในท่ที างานมีผลต่องานคนเป็ นปัจจัยสาคัญและมีอทิ ธิพลต่อการเพ่มิ ผลผลิตขององค์การ เน้นความสาคัญของคนมนุษยสัมพันธ์ ขวญั กาลังใจ การมีส่วนร่วม สร้างความพงึ พอใจสร้างผลผลติ ได้อย่างเตม็ เมด็ เตม็ หน่วย 10

กลุ่มพฤตกิ รรมองค์การสมัยปัจจบุ ัน ทฤษฎีการจดั องค์การตามแนวคดิ ของ เชสเตอร์ ไอบาร์นาร์ด(Chester I Barnard)1. การประสานงานมีข้อจากดั ร่วมกนั เกดิ ขไึ้ ด้จากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพองค์ประกอบทางสังคม ตวั แปรเก่ียวกับบุคคล2. การประสานงาน เป็ นกระบวนการเหนือข้อจากัดในการปฎบิ ัตงิ าน3. การประสานงาน สาเร็จหรือไม่ขนึ้ อยู่กับพลังการประสานงาน4. การประสานงานท่ดี ีข้นอย่กู ับประสทิ ธิภาพของการประสานงานท่ีฝ่ ายบริหาร ต้องใช้การจูงใจให้เกดิ การร่วมแรงร่วมใจและเตม็ ใจของบุคคลในองค์การ 11

ทฤษฎีองค์การหมุดเช่อื มโยงของเรนซสิ ไลเคริ ์ต(Rensis Likert)1. การทางานเป็ นกลุ่ม หมดุ เช่ือมโยง2. การปฎบิ ัตงิ านขนึ้ อย่กู ับ หมุดเช่ือมโยงหมายถงึ ผู้บงั คับบัญชาสูงขนึ้ ไป3. หลักการสาคัญของการ วางแผนและแก้ปัญหาเป็ น เร่ืองของกลุ่มให้กลุ่ม ตัดสนิ ใจสมาชมิ ีส่วนร่วม ด้วย หมดุ เช่ือมโยง 12

ทฤษฎอี งค์การตามแนวคดิ ของ คริส อาร์กรี ิส (Chris Argyris) คนท่ที างานจนมคี วามเช่ียวชาญมีความต้องการพฒั นาตนเองมีความเป็ นอสิ ระมากขนึ้ เม่ือได้มีการพัฒนาจะพฤตกิ รรมยืดหยุ่นมากขนึ้ มมี ุมมองท่ยี าวขนึ้ รวมทงั้ ตระหนักในคุณค่าและศักด์ศิ รีของตน โดยเฉพาะได้มีโอกาสกาหนดเป้าหมายในการทางานของตนเองช่วยให้เป็ นคนท่ีมีความกระตือรือร้นในการทางาน และเหน็ ว่า การจดั การกับความขัดแย้งระหว่างเป้าหมายและเป้าหมายของบุคคลเป็ นหน้าท่ีหลักของฝ่ ายการจัดการโดยการเพ่มิ ความรับผิดชอบในงาน 13

ทฤษฎีสมยั ใหม่Neo Classical organization theory / Modern theory Systematic Management : การจดั การเชงิ ระบบ แบ่งเป็ น ระบบปิ ดเป็ นระบบท่เี น้นความสนใจเฉพาะส่วนประกอบภายในองค์การ แล้วขยายความสนใจไปถงึ ระบบภายนอกท่ใี หญ่กว่า โดยถอื ว่า การบริหาร องค์การเป็ นเพียงระบบย่อยของระบบท่ีเป็ นสภาพแวดล้อมภายนอก และระบบเปิ ดเป็ นการรวมประเดน็ การศกึ ษาถงึ ระบบย่อยขององค์การทุก ระบบและสภาพแวดล้อมระบบมาศกึ ษารวมในลักษณะการพจิ ารณาปฎิ สัมพนั ธ์ท่ีมีต่อกันของระบบ เน้นการวิเคราะห์เชงิ ระบบ คานึงถงึ องค์ประกอบทกุ ส่วน ตัง้ แต่ ตวั ป้อนกระบวนการ ผลผลติ ผลกระทบ ส่งิ แวดล้อม 14

ทฤษฎีองค์การตามแนวคดิ ของ เบอร์ทลั แลนฟ์ ไฟ(Bertalenffy) ได้รับยกย่องว่าเป็ นพนื้ ฐานด้านปรัชญาทางทฤษฎีสมัยปัจจุบัน องค์การเป็ นระบบของสังคมท่เี ปล่ียนแปลงได้ มีความเก่ียวพันกันหลาย ด้านและมีหลายระดับ โดยส่วนต่างๆขององค์การมีความสาคัญเท่าเทยี ม กัน ระบบเป็ นกลุ่มของส่วนต่างๆท่มี ีความเก่ียวพันกัน น่ันคือ องค์การ คือ ระบบหน่ึงท่รี วมระบบย่อยหลายระบบไว้ด้วยกัน และมีความสัมพันธ์ซ่งึ กนั และกัน หากมีการเปล่ียนแปลงในระบบย่อย ใดจะกระทบถงึ ระบบย่อยอ่ืนๆด้วย 15

ทฤษฎอี งค์การตามแนวคดิ ของวเี นอร์ (Weiner) องค์การ เป็ นระบบท่ปี ระกอบด้วยปัจจัย 5 ประการ ปัจจัยนาเข้า(Input) กระบวนการ(Process) ผลผลติ (Output) ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback) ส่งิ แวดล้อม(Environment) 16

องค์การ ในฐานะท่เี ป็ นระบบตามแนวคดิ ของวีเนอร์ สภาพแวดล้อมปัจจัยนาเข้า ระบบ (system) ผลผลติ สินค้า (input) (output) และ วัตถุดบิ กระบวนการ บริการ (Process) ผลติ ภณั ฑ์และ ทรัพยากร บริการ 17 เงนิ ทุน กระบวนการผลิตเปล่ียนวัตถุดบิ เทคโนโลยี เป็ นสินค้าและบริการ ฐานะทางการเงนิข้อมูลข่าวสาร ข้อมลู ข่าว สารสนเทศ ผลงานของบคุ ลากร ขอ้ มูลป้ อนกลบั Feedback ขอ้ มูลจากลูกคา้ สภาพแวดล้อม(environment) สภาพเศรษฐกจิ การเมือง สังคม ประเพณี

ทฤษฎีองค์การตามแนวคดิ ของ แคทซ์ และ คาห์น(Katz & Kahn)องค์การต้องมีความสมั พนั ธ์กบั ส่งิ แวดล้อมภายนอกองค์การเป็นระบบที่มีปัจจยั นาเข้า กระบวนการ และผลผลติ ซง่ึ สอดคล้องกบัแนวคิดเร่ืองระบบเปิดของเบอร์ทลั แลนฟ์ ไฟภายในระบบมีการทากิจกรรมท่ีมีลกั ษณะทาซา้ เป็นวงจรตอ่ เนื่องมีความพยายามในการรักษาระบบไม่ให้เสือ่ มสลายองค์การเป็นระบบเปิดมีความแตกตา่ งกนั มากทงั้ ในด้านความชานาญเฉพาะด้านเพิม่ มากขนึ ้ ตลอดจนความสลบั ซบั ซ้อนและความหลากหลายของหน้าท่ีมีมากขนึ ้มีข้อมลู ย้อนกลบั จะชว่ ยให้ระบบสามารถแก้ไขปัญหาการทางานซง่ึ แตกตา่ งกนัระบบเปิดปัจจยั ตา่ งๆมีความผนั แปร ระบบสามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ได้หลายวธิ ีการ 18

Contingence Approach :แนวคดิ มุ่งเน้นโครงสร้างองค์การตามสถานการณ์ เป็ นการศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างโครงสร้างองค์การกับ ส่ิงแวดล้อม เช่ือว่าองค์การท่มี ีส่วนประกอบภายในสอดคล้องกับความ ต้องการส่ิงแวดล้อมจะสามารถปรับตัวได้ดที ่สี ุด หรือมีผล การดาเนินงานท่ดี ีท่สี ุด 19

แนวคดิ ของเบริ ์นส์ และ สตอล์เกอร์(Burns & Stalker) ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งโครงสร้างองค์การกบั สง่ิ แวดล้อม พบวา่ การจดั การของ องค์การจะเปลยี่ นแปลงตามอตั ราการเปลยี่ นแปลง องค์การใดอยใู่ นสง่ิ แวดล้อมท่ีคงท่ี และมีกระบวนการทางานอยา่ งตอ่ เนื่อง การตดั สินใจในทกุ ระดบั สามารถกาหนดลว่ งหน้า ได้ และองค์การท่ีตงั้ ใหมม่ ีสิ่งแวดล้อมไมแ่ นน่ อนไมม่ ีแผนภมู ิโครงสร้างองค์การที่ชดั เจน ผ้บู ริหารประสบกบั ความท้าทายในการบริหาร ประเภทโครงสร้างองค์การและระบบการจดั การขนึ ้ อยกู่ บั ปัจจยั ภายนอก แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท องค์การแบบเคร่ืองจกั ร คือรูปแบบองค์การท่ีมีลกั ษณะตายตวั จะเป็นองค์การที่น่ิง มี ลาดบั ชนั้ กฎระเบียบ โครงสร้างการตดั สนิ ใจมาจากเบือ้ งบนมาสเู่ บือ้ งลา่ ง องค์การที่มีรูปแบบสง่ิ มีชีวิต จะไมอ่ ยนู่ ่ิง มกี ารเคลือ่ นไหวเปลย่ี นแปลงบอ่ ย ให้โอกาส คนในองค์การมีสว่ นร่วมในการคิดริเริ่มการทางานในองค์การมากขนึ ้ 20

แนวคดิ ของลอเรนซ์ และ ลอร์ช(Lawrence & Lorsch) ศกึ ษาถงึ แนวคดิ เกี่ยวกบั อิทธิพลของสภาพแวดล้อมตอ่ โครงสร้างองค์การ ปฎกิ ริ ิยา ตอบสนองตอ่ สภาพแวดล้อมภายนอก จะมีแนวทางการรับมือกบั สภาพแวดล้อมท่ีไม่ แนน่ อนแตกตา่ งกนั ออกไป ขนึ ้ อยกู่ บั ความชานาญ เทคนิคเปา้ หมาย และองค์ประกอบ อ่ืนๆเก่ียวกบั งาน เรียกว่า ลักษณะท่มี ีความแตกต่างในโครงสร้างพฤตกิ รรมและ ความสนใจของหน่วยงานย่อยในฐานะสมาชกิ ขององค์การองค์การท่ีเผชิญกบั สภาพแวดล้อมที่มีระดบั ความไมแ่ นน่ อนสงู จะมีการสร้างความแตกตา่ งหลากหลาย มากกวา่ องค์การท่ีเผชิญกบั ความไมแ่ น่นอนมากนกั เรียกว่า ลักษณะของการประสานงานและความร่วมมือร่วมใจระหว่าง หน่วยงานในองค์การว่า การบรู ณาการ หรือ หลักการร่วมเป็ นอันหน่ึงอัน เดยี วกัน หากองค์การใดสามารถสร้างสมดลุ ระหว่างหลักการทงั้ สองได้ ถอื ว่า องค์การ นัน้ มปี ระสิทธิภาพมากท่สี ุด 21

แนวคดิ ของมนิ ซ์เบริ ์ก (Mintzberg)ศึกษาถึงแนวคดิ เก่ียวกับส่วนประกอบพนื้ ฐานของโครงสร้างองค์การ มี 5 ส่วน ฝ่ายกลยทุ ธ์(strategic apex ) คือ ผ้บู ริหารระดบั สงู ทาหน้าที่รับผิดชอบทงั้ หมดของ องค์การ ฝ่ายปฎิบตั กิ าร(operation core ) คือ ผ้ปู ฎบิ ตั งิ านท่ีเกี่ยวข้องกบั การผลติ สนิ ค้าและ บริการโดยตรง ฝ่ายผ้บู ริหารระดบั กลาง (middle line) คือ กลมุ่ บคุ คลที่เช่ือมโยงระหวา่ งผ้บู ริหารสงู กบั สว่ นปฎิบตั กิ ารหลกั ฝ่ายวิชาการ (techno structure) คือ นกั วเิ คราะห์ท่ีทาหน้าที่ในการกาหนดมาตรฐาน เทคนิคการทางานขององค์การ วางแผนและควบคมุ การทางาน ฝ่ายสนนั สนนุ (support staff) คอื ผ้ทู ่ีทาหน้าที่สนบั สนนุ ทางอ้อมในการบริการต่างๆแก่องค์การ 22

ทฤษฎอี งค์การหลังยุคสมัยใหม่ แนวคดิ ของเบอร์กิสต์( Bergquist)แนวคดิ ว่าทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งจะไมห่ ยดุ นิ่ง แตจ่ ะมีการเคลอ่ื นไหวอยตู่ ลอดเวลาโดยเฉพาะองค์ความรู้ของมนษุ ย์เป็นสง่ิ ที่ไม่มีรูปแบบ ไม่หยดุ นิ่ง มีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาโลกจะเป็นแบบไร้พรมแดนด้วยเครือขา่ ยของการสอื่ สาร ทาให้มนษุ ย์รู้จกัและเป็นอนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ขณะเดยี วกนั ก็แบง่ แยกเป็นสว่ นๆในทางสงั คมการแตกแยกเป็นสว่ นๆจะไม่คงเส้นคงวา แตจ่ ะปะปนไปหมดทาให้เป็นยคุสมยั แหง่ ความวนุ่ วายและความขดั แย้งได้เสนอกลยทุ ธ์การจดั การความขดั แย้ง 5 วิธี คอื การหลกี เลยี่ ง การประนีประนอม การแขง่ ขนั การยอมจานน และความร่วมมือ 23

แนวคิดของแฮมเมอร์ และ แซมพี (Hammer & Champy)ได้เขียนหนงั สอื ช่ือ การรือ้ ปรับระบบ(re-engineering) หมายถงึลกั ษณะของการหนั กลบั มาคดิ ทบทวนถงึ สงิ่ ท่ีเป็นพืน้ ฐานและมีการปรับเปลี่ยนกนั อยา่ งถอนรากถอนโคนเก่ียวกบั กระบวนการของธุรกิจเพื่อให้เกิดผลท่ีดขี นึ ้ เช่น ลดต้นทนุ 24

ผลของการรือ้ ปรับระบบก่อให้เกิดส่งิ ต่างๆ ดงั นี้ การเปลยี่ นแปลงในหน่วยงานจากเดมิ ท่ีตา่ งคนตา่ งทาไปตามบทบาทและดแู ล รับผิดชอบท่ีมีอยมู่ าเป็นการทางานเป็นทีม เรียกว่า ทีมกระบวนการเพ่ือร่วม ปรับปรุง หรือนาเทคนิคใหมๆ่ เข้ามาในองค์การ ลกั ษณะงานจะมกี ารเปลีย่ นรูปไปจากเดมิ คือ จากงานง่ายๆหรืองานพืน้ ๆ เป็นงาน ท่ีมีหลายมติ ิ มกี ารเรียนรู้ศกึ ษหาความรู้เพ่ิมเติม บทบาทของพนกั งานเปลี่ยนแปลงไป จากเป็นผ้รู ับการควบคมุ ดแู ลมาเป็นผ้มู ี อานาจในการตดั สินใจมากขนึ ้ โดยผ้บู ริหารเปลยี่ นบทบาทจากผ้กู ากบั ควบคมุ มา ทาหน้าท่ีเป็นพี่เลยี ้ ง บทบาทของผ้บู ริหารเปลี่ยนไปจากเดิมทาตวั เป็นผ้นู าท่ีมีความสามารถในการโน้ม น้าวและชกั จงู ให้พนกั งานเกิดความเชื่อถือ พร้อมปฎิบตั ิตามที่ผ้นู ามอบหมายงาน ให้ 25

องค์การเสมอื นจริง เป็นรูปแบบองค์การสมยั ใหมเ่ กิดขนึ ้ พร้อมความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสารสนเทศโดยอาศยั เทคโนโลยีการสอ่ื สารโทรคมนาคมเป็น สง่ิ ชว่ ยเช่ือมโยงบคุ คล /กลมุ่ คน /หน่วยงานเข้าด้วยกนั เพื่อประโยชน์ ในการแลกเปลย่ี นทกั ษะ ทรัพยากร สนิ ค้าและบริการ 26

องค์การแห่งการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศมคี วามจาเป็นและมีความสาคญั ท่ีนามาใช้เพื่อ การบริหารงานในองค์การ ประการสาคญั เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทเป็นเครื่องมือ ช่วยในการตดั สินใจที่ต้องอาศยั ข้อมลู ในการบริหารงานและการ วางแผนกลยทุ ธ์ขององค์การ องค์การจะอยรู่ อดและพฒั นาได้หากผ้บู ริหารตดั สอใจได้อยา่ งถกู ต้อง ความสาเร็จของการตดั สนิ ใจขนึ ้ อยกู่ บั ความสามารถในการเรียนรู้ ปี เตอร์ เอม็ เซงกี เสนอหลกั การ 5 ประการ คือ ความมงุ่ มน่ั ในการ พฒั นาตนเอง การท้าทายความคดิ ความเช่ือท่ีมีอยเู่ ดมิ การเรียนรู้ของ ทีมงาน การมีวสิ ยั ทศั น์ร่วมกนั และการรู้จกั คดิ อยา่ งเป็นระบบ 27

องค์การคุณภาพ(quality organization) หมายถงึ ความเหมาะสมในการใช้งาน รวมคณุ ลกั ษณะของผลติ ภณั ฑ์ ใน 4 มิติ คอื มาตรฐาน ผลงาน ประสทิ ธิภาพ และความพงึ พอใจ สาระสาคญั ของการจดั การคณุ ภาพโดยรวม เก่ียวข้องกบั คณุ ภาพการ ปรับปรุงอยา่ งตอ่ เน่ือง การเน้นท่ีลกู ค้า การเน้นกระบวนการ การ ปรับปรุงทงั้ หมด และเคารพในความเป็นมนษุ ย์ องค์การจะสามารถดาเนนิ การให้ได้ผลสาเร็จตามแนวคดิ ของการ จดั การคณุ ภาพ จาเป็นต้องมีลกั ษณะการบรู ณาการตามแนวคดิ องค์การแบบเครื่องจกั ร 28

Managerial Conceptual Skill ทกั ษะทางด้านความคดิ Human Skill ทกั ษะทางด้านมนุษยสัมพนั ธ์ Technical Skill ทกั ษะทางด้านเทคนิค Managerial Skill vs Level of ManagerConceptual SkillHuman SkillTechnical Skill Top Manager Middle Manager First-level Manager 29

กิจกรรม1. การจดั การมคี วามสาคัญอย่างไรสาหรับองค์การ2. จงอธิบายความหมายของการจดั การเป็ นศาสตร์และศลิ ปะ3. ระบบสารสนเทศมปี ระโยชน์ต่อการจัดการอย่างไรบ้าง4. การจดั องค์การโดยท่วั ไปแล้ว สามารถจาแนกได้ก่ลี ักษณะ และแต่ละลักษณะมีความ แตกต่างกนั อย่างไร5. “องค์การ” หมายถงึ อะไร6. ลักษณะขององค์การนอกเหนือจาก 3 ลักษณะใหญ่ๆ จะประกอบด้วยลักษณะอะไรบ้าง7. การกาหนดเป้าหมายขององค์การมีความสาคญั อย่างไรบ้าง8. วตั ถุประสงค์ขององค์การแบ่งเป็ นก่ีประเภท และในแต่ละประเภทมีความแตกต่างกนั อย่างไร9. องค์การแบบปฐมภมู ิ และองค์การแบบทุตยิ ภมู ิ มคี วามแตกต่างกันอย่างไร10. องค์การแบบมรี ูปแบบ และองค์การแบบไม่มีรูปแบบ มคี วามแตกต่างกันอย่างไร11. ทฤษฎอี งค์การสมัยดงั้ เดมิ มคี วามแตกต่างกบั ทฤษฎสี มยั ปัจจุบนั อย่างไร 30

องค์การคอื อะไร (What is organization? )ก. จาลองกบั สนธิ เป็นเพื่อนกนั จาลองมคี วามสามารถในการทาอาหาร สนธิมีความสามารถในการโฆษณา ทงั ้ ๒ คน ตก ลงร่วมกันในการจะเปิดร้ านอาหารช่ือ “ร้ านประเทศไทยของเรา ” โดยให้จาลองเป็นพ่อครัว และสนธิทาเร่ือง การตลาด โดยมกี ารลงทนุ ร่วมกนัข. จาลอง สนธิ สมชาย เป็นเพื่อนกันมานาน สมชายทางานอย่ทู ี่ทาเนียบรัฐบาล จึงห่างเหินจาลองและสนธิ ทาให้ทงั ้ ๒ คน คิดถึง จงึ ตกลงร่วมกนั ที่จะไปเย่ียมสมชาย และจะนอนค้างที่ทาเนียบรัฐบาล เพื่อรอให้สมชายว่างมาพบคยุ กนั ให้ หายคิดถงึค. จาลอง สนธิ สรุ ิยะใส เป็นเพ่ือนต่างวยั ทงั ้ ๓ คนเห็นว่าประเทศไทยทกุ วนั นีม้ ีแต่ความว่นุ วาย เต็มไปด้วยความขดั แย้ง จึงตกลงร่วมกันท่ีจะเป็นตวั ตงั ้ ตวั ตีในการแก้ไขปัญหาดงั กล่าว จดั ตงั ้ “มลู นิธิเพ่ือลดความขดั แย้งในสงั คม” โดยให้ จาลองเป็นคนหาสมาชิก สนธิเป็นคนเผยแพร่ข้อมูลชกั จูงคน และให้สุริยะใสเป็นโฆษก คอยกระจายข่าวสารของ มลู นิธิ”ถามว่า ข้อไหนไม่ใช่ลักษณะของการดาเนินการในรูปขององค์การ อธิบายทมา :http://www.teacher.ssru.ac.th/yalada_po/pluginfile.php/53/mod_folder/content/0/HRM%201101%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%20ppt/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%202%20%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A32%20yalada%20Presentation1.ppt?forcedownload=1 31

จบบทที่ 2 แลว้ จา้ 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook