Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นามานุกรมรามเกียรติ์

นามานุกรมรามเกียรติ์

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2020-04-26 22:25:28

Description: นามานุกรมรามเกียรติ์

Search

Read the Text Version

คำนำสำนกั พิมพ วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ นับเปนมหากาพยที่มีความยืดยาวพิสดารของเรื่อง มากที่สุดเรื่องหนึ่งในบรรดาวรรณกรรมไทย แมในฉบับพระราชนิพนธพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกก็เขียนไวในสมุดไทยมากถึงจำนวน ๑๑๗ เลม คำนวณขอความเปนคำกลอนไดราว ๕๐,๒๘๖ คำกลอน๑ และไดปรากฏเปนตอนท่ี ใชในการประกอบการแสดงโขนจำนวนกวา ๑๐๒ ตอน๒ ซ่ึงนอกจากจะมีจำนวน ตอนท่ีมากแลว จำนวนตัวละครตางๆ ท่ีโลดแลนอยูในเนื้อเรื่องก็มีมากตามมาโดย ปริยาย ดวยเน้ือเร่ืองท่ีดำเนินอยางยิ่งใหญอันเปนการขับเคี่ยวระหวางฝายพลับพลา (กองทัพพระราม) ซึ่งเปนตัวแทนของฝายธรรมะ กับฝายกรุงลงกา (กองทัพทศกัณฐ) ซ่ึงเปนตัวแทนของฝายอธรรม ฉากการตอสูของตัวละครตางๆ การกรีธาทัพไพรพล หรือการชิงไหวชิงพริบในตามแตละสถานการณน้ัน กอใหเกิดอรรถรสในเน้ือเรื่อง จนกลายเปนความตืน่ ตาตื่นใจและชวนใหต ดิ ตามอยางทสี่ ดุ หนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์ ฉบับปรับปรุงใหม ของ ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สจั จพนั ธุ เลมน้ี จึงถือเปนผลงานสำคัญท่ีไดรังสรรคขึ้นเพื่อเปนการรวบรวม ประวตั คิ วามเปน มาของตัวละคร สถานที่ พิธีกรรม และอาวุธตางๆ ที่บรรดามีอยูใน เรือ่ งรามเกยี รตทิ์ งั้ หมดไวอ ยา งละเอยี ด อนั จะถอื เปน หลกั สำหรบั ผทู ตี่ อ งการศกึ ษา หรอื คน ควา เรอื่ งราวและบทบาทของตวั ละครในเร่ืองไดอยา งสะดวกและรวดเร็ว ดว ยความ ชำนาญของผูเขียนซ่ึงเปนนักวิชาการดานวรรณคดีไทย จึงปรากฏในเน้ือหาของ ตัวละครแตละตัวมีรายละเอียดท่ีสมบูรณครบถวน สำหรับการพิมพคร้ังนี้ผูเขียนยัง เพิ่มเติมเนื้อหาของเร่ืองรามเกียรต์ิไวเบ้ืองตน เพื่อใหมีความเหมาะสมสำหรับผูที่เริ่ม ศึกษา คือ บทความเลาเร่ืองรามเกียรต์ิโดยสังเขปและบทความประกอบเรื่อง ๑๒ธวนันติทนอียย ูโมพว ธง์ิ.บ๒ญุ ๕.๔๒๙๕.๓โ๙ขน. .ลกกั รษุงณเทะพปร:ะอตนิมุสารณณวใ ิทนยงาาขนอพงรหะุนราเรชื่อทงารนามเพเกลียิงรพตลิ์ ตขรอี งอกรรามมพอรยะสูราุขช. วังบวรวไิ ชยชาญ. กรงุ เทพ : สถาบนั นาฏดุรยิ างคศลิ ป กรมศิลปากร.

รามเกียรตอ์ิ กี บางสว น ทา นผูอานจงึ สามารถม่ันใจไดอ ยา งแนนอนวา แมจะไมมคี วาม รูในเรือ่ งรามเกียรต์ิมากอ นเลย ก็จะสามารถตดิ ตามอานหนังสอื เลมน้ไี ปไดโดยตลอด สำหรับภาพประกอบตัวละคร ทางสำนกั พมิ พไ ดจดั ทำขน้ึ จากภาพจติ รกรรม ฝาผนังพระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง เพื่อที่จะใหทาน ผูอานไดทราบลักษณะตัวละครท่ีสำคัญของเร่ืองทุกตัว และใหเห็นภาพตอนสำคัญ ของเรอ่ื งในบางตอน ซ่ึงรวมเปน จำนวน ๑๓๕ ภาพ นอกจากนี้ในสว นของภาคผนวก ก็ไดเพิ่มเติมขอมูลลักษณะและองคประกอบสำคัญของตัวละครทุกตัวไวแลว จึงทำให หนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์เลมนี้ เปนฉบับปรับปรุงใหมที่มีความสมบูรณอยางยิ่ง อกี เลมหนง่ึ แมหนังสอื นามานุกรมรามเกียรตจ์ิ ะไดพ มิ พเผยแพรม าแลว กวา ๓ ครง้ั แตใน แวดวงหนังสือวรรณกรรม หนังสือเลมน้ีก็ยังเปนท่ีตองการมาโดยตลอด ในโอกาสท่ี สำนักพิมพสถาพรบุคสไดนำมาปรับปรุงใหม และพิมพเผยแพรในคราวน้ี จึงหวังเปน อยางยิ่งที่หนังสือเลมนี้จะใหสารัตถประโยชนเพ่ิมเติมในเรื่องรามเกียรติ์แกทานผูอาน เปนอยา งดี สำนกั พิมพส ถาพรบคุ ส

คำนำนักเขยี น นามานุกรมรามเกียรต์ิเกิดขึ้นเม่ือประมาณสิบปกอน โดยคำช้ีชวนของคุณ อนุช อาภาภิรม ใหเขียนข้ึนเพ่ือเปนเนื้อหาสวนหนึ่งสำหรับจัดทำซีดีรอม ผูเขียนได รวบรวมชื่อตางๆ ที่ปรากฏในบทละครเรื่องรามเกียรต์ิ ฉบับพระราชนิพนธพระบาท สมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลก อันเปน ฉบบั ทีม่ ีเนื้อความสมบรู ณท่ีสดุ ในบรรดาเร่ือง รามเกียรต์ขิ องไทย แตเมือ่ โครงการจดั ทำซีดีรอมเรอ่ื งรามเกียรติ์ลม เลิกไป อีกหลายป ตอมาผูเขียนจึงมอบตนฉบับใหสำนักพิมพสุวิริยาสาสนจัดพิมพต้ังแต พ.ศ. ๒๕๔๖ เพยี งปแรกก็จดั พมิ พถึง ๒ ครงั้ หนงั สอื เลม น้พี ิมพเผยแพรแลวไมน อ ยกวา ๓ ครัง้ นบั วาไดรับความนิยมจากผูอานอยางนาช่ืนใจ อาจจะเปนเพราะวาการจัดทำหนังสือ นามานุกรมวรรณคดีไทยยังมีไมมากนัก ท้ังท่ีหนังสือประเภทน้ีจะเปนคูมือใหผูอาน ติดตามเร่ืองราวในวรรณคดีไดสะดวกยิ่งข้ึน จนมาถึง พ.ศ. ๒๕๕๓ ผูเขียนเห็นวานา จะไดปรับปรุงหนังสือนามานุกรมรามเกียรติ์ใหสมบูรณข้ึน เพราะวรรณคดีเร่ืองราม เกียรติ์เปนมรดกทางวรรณศิลปที่สำคัญของชาติไทย มีการศึกษาวรรณคดีเรื่องน้ีทุก ระดับช้ันการศึกษา และมีการจัดแสดงละครและโขนเร่ืองรามเกียรต์ิอยางสม่ำเสมอ ตลอดมา ในการจัดพิมพน ามานุกรมรามเกยี รต์ิ ฉบับปรบั ปรงุ ใหมน ้ี ผูเ ขียนมอบตนฉบับ ใหสำนักพิมพสถาพรบุคสดำเนินการ ผูเขียนไดเพิ่มเติม เลาเร่ืองรามเกียรติ์ และ ความสำคัญของรามเกียรติ์ในสังคมไทย เพ่ือปูพื้นฐานใหผูอานท่ัวไปรูจักวรรณคดี เรื่องรามเกียรต์ิพอสังเขปเสียกอน นอกจากนี้ในภาคผนวก บรรณาธิการเลมยังได เรียบเรียงขอเขียนเร่ืองลักษณะหัวโขน สี และองคประกอบของตัวละครในเร่ืองราม เกียรต์ิ เพ่ือใหความรูเพ่ิมเติมแกผูอาน เพราะวรรณคดีเรื่องรามเกียรต์ินิยมนำไปใช แสดงโขน โขนซึง่ เปน นาฏศิลปช ้ันสูงของไทยเปน การแสดงท่มี ีลักษณะพเิ ศษ ตัวละคร ยักษแ ละลิงซงึ่ มีจำนวนมากจะสวมเส้ือผาสตี างกัน รวมทัง้ สวมมงกุฎ หัวโขน และถือ อาวุธตางกันดวย หากผูอานมีความรูเรื่องเหลาน้ีจะทำใหรูจักตัวละครและดูการแสดง โขนไดมีอรรถรสยิ่งขึ้น บรรณาธิการเลมยังไดจัดทำภาพตัวละครในวรรณคดีเรื่อง

รามเกียรติ์มาประกอบถึง ๙๔ ตัวละคร รวมทั้งแทรกภาพจิตรกรรมฝาผนังเร่ือง รามเกียรต์ิบางตอนเพื่อใหผูอานไดรับรสทางวรรณศิลปและทัศนศิลปประกอบกันไป อยา งนา ประทับใจ หนงั สอื เลม นจ้ี ึงมีคุณคา ท้ังทางความรแู ละมีความสวยงามนา อาน ในการเรียบเรียงเน้ือหาวรรณคดีไทยเปนฉบับรอยแกวก็ดี การจัดทำนามานุ- กรมวรรณคดีไทยบางเรือ่ งกด็ ี ผูเขยี นมคี วามมงุ หวังตง้ั ใจทจ่ี ะชว ยใหผ ูอา นทว่ั ไปเขา ถงึ เนื้อหาเร่ืองราวอันสนุกสนานของวรรณคดีไทยเปนเบื้องตน เพื่อจะไดเกิดความรูสึก สนใจอยากอานตนฉบับท่ีเปนงานกวีนิพนธตอไป อันจะทำใหผูอานไดเสพอรรถรส รวมท้ังดื่มด่ำในคุณคาทางวรรณศิลปของวรรณคดีเร่ืองน้ันๆ ในระดับลึกซึ้งขึ้น จน เกิดความรักความภาคภูมิใจในมรดกวรรณคดีของชาติ การจัดทำหนังสือดังกลาวได รับการตอบรับสนับสนุนจากผูอานเสมอมา แตละเลมพิมพซ้ำหลายคร้ัง ทำใหผูเขียน มีกำลังใจในการสรางผลงานในลักษณะเชน นอ้ี ยางตอเน่ือง ผูเขียนสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบุรพกษัตราธิราชและบรรพกวีที่ สรางสรรควรรณคดีเปนเพชรน้ำงามแหงวรรณศิลปไทย ผูเขียนมุงหวังจะสืบทอด คุณคาของวรรณคดีมรดกเหลานี้สูคนรุนหลังเพ่ือรวมกันรักษาไวใหคงอยูช่ัวกาลนาน ในการเผยแพรหนังสือนามานุกรมรามเกียรต์ิ ฉบับปรับปรุงใหมน้ี ผูเขียนขอขอบคุณ สำนักพิมพสถาพรบุคสที่ใหการสนับสนุนในการจัดพิมพจำหนาย และขอบคุณ คุณสุปรีดิ์ ณ นคร บรรณาธิการเลมที่ดูแลตนฉบับใหสวยงาม นาอานพรอมท้ังเพิ่ม เติมภาคผนวกใหเนื้อหาสมบูรณข้ึน ทายท่ีสุดขอขอบคุณผูอานท่ีสนับสนุนผูเขียนดวย ดีตลอดมา หวังวาเราทุกคนคงจะเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปญญาของบูรพกวีไทยที่ ไดสรางสรรควรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์อันทรงคุณคาท้ังทางสังคม วัฒนธรรม ปรัชญา และเปน มรดกวรรณศลิ ปเ ลม สำคัญของชาติไทย ศาสตราจารย ดร. รน่ื ฤทัย สจั จพนั ธุ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๓





สารบญั ๑๑ ๑๗ ความเปน มาของเร่ืองรามเกยี รติ์ ๓๕ เลา เรอ่ื งรามเกยี รติ์ ๔๑ ความสำคญั ของรามเกยี รต์ใิ นสงั คมไทย ๔๓ นามานกุ รมรามเกียรต์ิ ๕๕ ๗๑ - กษตั ริย ๑๒๕ - ลงิ ๑๕๓ - ยักษ ๑๖๕ - ฤษี เทวดา นางฟา มนุษย สัตว อมนุษย ๑๗๖ - สถานท่ี ๑๘๐ - พิธี ๑๙๐ - การทำลายฤทธิ์ ๑๙๓ - อาวธุ ๒๒๔ - อ่นื ๆ ภาคผนวก ๑ : ลักษณะหวั โขน สี และองคป ระกอบตัวละครในเรื่องรามเกียรต์ิ ภาคผนวก ๒ : คำแหงหนมุ าน



ศาสตราจารย ดร. ร่ืนฤทยั สจั จพนั ธุ 11 ความเปน มาของเรอื่ งรามเกียรติ์ บอ เกดิ แหง รามเกยี รติ์ รามเกียรต์ิเปนวรรณคดีสำคัญของชาติไทย วรรณคดีเร่ืองน้ีมีชื่อเสียงเปนท่ี รจู กั กนั โดยทวั่ ไป และสรา งความนยิ มจบั จติ จบั ใจคนไทยทกุ ระดบั ยาวนานกวา ๗๐๐ ป ช่ือของถ้ำพระรามที่ปรากฏในศิลาจารึกสุโขทัยหลักท่ี ๑ และพระนามของพอขุน รามคำแหงมหาราช พระมหากษัตรยิ อ งคที่ ๓ แหงสโุ ขทัยยอ มเปนประจักษพ ยานอนั ดีวา คนไทยนิยมยกยองวรรณคดีเรื่องน้ีมาแตปางบรรพ แตรามเกียรต์ิมิใชเปน วรรณคดีไทยแท หากแตมที มี่ าจากมหากาพยเ รื่องรามายณะ อนั เปนคมั ภีรส ำคัญของ ศาสนาฮนิ ดู ในประเทศอินเดียเอง เร่ืองรามายณะเปนวรรณคดีท่ีแพรหลายเพราะมีความ สำคัญทั้งทางประวัติศาสตรและศาสนา มหากาพยเรื่องรามายณะแตงโดยฤษีวาลมีกิ เปนภาษาสันสกฤต ถือเปนอาทิกาพยคือเปนงานนิพนธช้ินแรก แตมีเรื่องรามายณะ อีกหลายรอยหลายพันสำนวนแตงเปนภาษาตางๆ กัน เชน ภาษาฮินดี ภาษาเบงคลี ภาษาทมิฬ ฯลฯ แตงดวยรูปแบบคำประพันธตางๆ กัน เชน เปนมหากาพยปุราณะ บทละคร ฯลฯ ทั้งนี้เพราะเปนวรรณคดีที่มีความสำคัญในชีวิตและสังคมอินเดียท้ังใน ดานศาสนาและวัฒนธรรมดังท่ีกลาวมาแลว แมมหากาพยรามายณะของวาลมีกิ ซึ่ง ถอื วาเปนอาทกิ าพย ก็ยังมถี งึ ๓ สำนวน คอื ฉบับอตุ ตรนกิ าย ฉบบั องคนิกาย และ ฉบับบอมเบย ความสัมพันธทางศาสนาและวัฒนธรรมอยางแนบแนนระหวางไทย กับอินเดียตั้งแตอดีตกาล ทำใหไทยรับทอดวรรณคดีจำนวนมากจากอินเดีย แตก็ไมมี ผูใดใสใจในความเปนวรรณคดีตางชาตินั้น เพราะวรรณคดีเร่ืองตางๆ ท่ีรับทอด อิทธิพลมา รวมท้ังเรื่องรามเกียรต์ิ ไดรับการปรับเปล่ียนตัดเติมจนเหลือแตเคาโครง เดมิ เพียงเหตุการณห ลกั ๆ ในเรอื่ งเทาน้นั การคนควาในทางวิชาการอยางจริงจังวาเรื่องรามเกียรต์ิมาจากไหน อยางไร เริ่มตน ในสมัยรชั กาลท่ี ๖ แหงกรุงรัตนโกสินทรน ีเ้ อง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวทรงเปนนักวิชาการพระองคแรกท่ีเร่ิมศึกษาเร่ืองที่มาของรามเกียรติ์และ ทรงพระราชนิพนธผลงานการศึกษาคนควาของพระองคทานไวในหนังสือชื่อ บอเกิด

12 นามานุกรมรามเกยี รต์ิ แหง รามเกียรต์ิ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงศึกษาเปรียบเทียบรามายณะ ฉบับภาษาสันสกฤตของวาลมีกิ ฉบับอุตตรนิกาย และรามายณะฉบับภาษาฮินดีของ ตุลสิทาส ที่ชื่อวา รามจริตมานัส กับ บทละครเร่ืองรามเกียรต์ิฉบับพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ซึ่งถือกันวาเปนฉบับท่ีมีเนื้อความสมบูรณ ทสี่ ดุ หลงั จากทรงศึกษาเปรยี บเทยี บความคลา ยคลงึ และความแตกตางแลว ทรงสรุป ขอ สันนษิ ฐานวาบอเกดิ ของรามเกียรตข์ิ องไทย มาจาก ๓ แหลง คือ ๑. รามายณะฉบับสันสกฤต และนาจะใชฉบับองคนิกายเพราะขาพเจาเขาใจ วาพราหมณท่ีมาเมืองเราจะไดมาจากแควนองคราษฎร (เบงกอล) ทั้งมีขอความที่พอ จะเปน พยานอา งในขอน้ไี ดอยา งหนึง่ คอื เรื่องพระกุศกับพระลบจับมา อุปการขี่ และ พระรามออกไปจับกุมารท้ังสองนี้ มีอยูในฉบับองคนิกาย แตในฉบับอุตตรนิกาย (ซึ่ง เปน ฉบับทข่ี าพเจา มีอยูนั้น) ไมม ีเรื่องนี้ ๒. หนุมานนาฏกะ นาจะไดเปนบอเกิดแหงขอความเบ็ดเตล็ดตางๆ ซ่ึงมีอยู เปนอันมากในรามเกียรต์ิของเรา แตโดยมากคงจะเปนขอความในตอนตนๆ คือตอน กำเนดิ ตางๆ และตอนทศกัณฐเ ยย่ี มพภิ พ เปนตน ขอ ความเบด็ เตล็ดอยางเชน ขอท่ีวา คร้ังหน่งึ ทศกณั ฐไ ดบงั คับใหเ ทวดารับใชต น เปนตน ไดความวา มาจากวษิ ณปุ รุ าณะ ๓. หนุมานนาฏกะ นาจะไดเปนบอเกิดแหงขอความที่กลาวถึงความเกงตางๆ ของหนุมาน หนังสือหนุมานนาฏกะเปนหนังสือท่ีชาวอินเดียชอบกันมาก เพราะ ฉะน้ันถงึ จะจำมาไดเ ปนทอ นใหญๆ ก็เปนได (บอเกิดแหงรามเกยี รต์ิ : ๒๕๐๓) การริเร่ิมคนควาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวจึงเปนพ้ืนฐาน สำคญั ของการศกึ ษาคน ควา เร่ืองรามเกยี รติ์ใหแกนกั วชิ าการตอมาจนถึงปจ จบุ นั เสฐียรโกเศศ หรือ พระยาอนุมานราชธน เปนนักวิชาการท่ีสืบคนเรื่องบอเกิด ทีม่ าของรามเกยี รต์ใิ นเวลาตอ มา และพบขอสังเกตสำคัญเพม่ิ เติมท่เี ปนแนวทางใหแก นักวิชาการในรุนหลัง การคนควาเร่ืองรามเกียรต์ิปรากฏอยูในหนังสือ ๒ เลม คือ อุปกรณร ามเกยี รต์ิ และประชมุ เร่อื งพระราม เสฐียรโกเศศคนควาถึงการแพรกระจายของเร่ืองรามายณะในประเทศอินเดีย อันทำใหพ บวา นอกจากฉบับภาษาสนั สกฤตของวาลมกี ิแลว ยงั มีรามายณะฉบบั ภาษา ฮินดีของตุลสิทาส ฉบับภาษากัศมีรีของแควนกัศมีระ ฉบับภาษาเบงคลีของแควน

ศาสตราจารย ดร. รน่ื ฤทยั สจั จพนั ธุ 13 เบงกอล ฉบบั ภาษาทมิฬของแควน กลิงคราษฎร เปนตน เร่ืองรามายณะเหลา นม้ี ที ี่มา จากฉบบั ของวาลมกี เิ พยี งเล็กนอย ดังท่เี สฐยี รโกเศศมีความเห็นวา “เร่ืองรามายณะเหลาน้ีตรงกับรามายณะของวาลมีกิเพียงเคาโครงเร่ือง นอก นั้นก็มีที่ผิดแผกกันออกไปแลวแตความคิดเห็นในเร่ืองความเชื่อถือและโวหารของกวี ซ้ำมีเร่ืองรามายณะของวาลมีกิในกาลตอมาแพรหลายจากแหลงเดิมออกไปไกล เน้ือ เรื่องก็วิจิตรพิสดารมากขึ้น มีเรื่องซึ่งไมตรงกับฉบับของฤษีวาลมีกิ ดังจะเห็นไดจาก เร่ืองรามายณะของชาวเบงคลีแหงแควนเบงกอล และชาวชนที่รวมเรียกวาทมิฬแหง อินเดียภาคใต เปนตน ท่ีผิดแปลกออกไปนี้ คงเปนเพราะนำนิยายเร่ืองพระรามของ เกาบางตอนซ่ึงประชาชนรูจักกันแพรหลาย แตไมมีอยูในฉบับรามายณะของวาลมีกิ เขามาผนวกไวดวย หรือหันเหและแกเร่ืองใหเขากับความเชื่อของตน อันเปนเอกเทศ เฉพาะทองถิ่นนั้นๆ ยกตัวอยางเรื่องไมยราพอันไมมีอยูในเรื่องรามายณะของวาลมีกิ แตไปมีอยูในเร่ืองมหิราพณของเบงคาลี และเร่ืองมยิลิราพณของทมิฬ ในอินเดียลาง แควนเรียกไมยราพวาอหิราพณก็มี แสดงวาเร่ืองไมยราพเปนท่ีรูจักกันแพรหลายใน อนิ เดยี มากอ นแลว” เสฐียรโกเศศเปรียบเทียบรามเกียรติ์ไทยกับรามายณะฉบับแควนตางๆ ของ อินเดีย อยา งเชน รามาวตารจริตของประกาศภัฏฏ รามายณะตรษิ ัษฐีศลากาบุรุษจริต ของเหมจันทร มยิลิราพณซึ่งเปนภาษาทมิฬ เปนตน และพบวา เน้ือหาของราม เกียรติ์ไทย สวนท่ีไมตรงกับฉบับของวาลมีกิ มักจะไปตรงกับฉบับภาษาทมิฬและ ภาษาเบงคลีมากกวา ฉบบั แควนอนื่ ๆ อยา งเรอ่ื งไมยราพซึ่งไมพบในฉบับของวาลมกี ิ นอกจากน้ีเร่ืองรามายณะยังแพรกระจายเขามาในดินแดนตางๆ ในเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต ไดแก ชวา บาหลี มลายู เขมร ลาว ญวน พมา และไทย เปนตน เสฐียรโกเศศไดเปรียบเทียบรามเกียรต์ิของไทยกับนิทานเรื่องพระรามที่แพรหลายอยู ในดินแดนตางๆ เหลาน้ัน และพบวาเน้ือหาบางตอนในรามเกียรติ์ไทยท่ีไมปรากฏใน รามายณะของวาลมีกิกลบั คลา ยคลึงกับเรื่องราวในนิทานพระรามฉบบั ตางๆ เหลานน้ั โดยเฉพาะอยางยิ่งตอนท่ีเก่ียวกับความเกงกลาสามารถของหนุมานอยางเชนตอน นางลอย คลายกับพระรามชาดกของลาว หากแตในพระรามชาดก ทศกัณฐใหเสก ตนกลวยเปน นางสดี าลอยน้ำมา และการท่ีนางสีดาเปนธดิ าของทศกณั ฐก บั นางมณโฑ ก็คลา ยกับเร่ืองหิกะยัตศรีรามของมลายู เปน ตน

14 นามานกุ รมรามเกยี รต์ิ การคนควาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวและเสฐียรโกเศศ จึง เปดเผยวารามเกียรติ์ของไทยไมไดรับอิทธิพลจากรามายณะของวาลมีกิโดยตรงเพียง เลมเดียว หากแตไดรับอิทธิพลจากวรรณคดีเรื่องพระรามท่ีแพรหลายอยูในดินแดน ตางๆ ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต รามเกยี รติ์จึงไมไ ดเหมอื นกบั รามายณะฉบับใดฉบบั หน่ึงท้ังหมด นอกจากนี้ยังรับถายทอดอิทธิพลหลายคร้ังหลายหน และการแพร กระจายวรรณคดีเร่ืองน้ีในลักษณะมุขปาฐะ คือ การบอกเลา จดจำตอกันมา ทำให เรื่องราวตางๆ ประสมปนเปกัน นอกจากน้ีกวีไทยยังมีความสามารถในการประสม ประสานปรุงแตง ตดั เติม เนือ้ หาเรอ่ื งราวเพอื่ ใหสอดคลอ งกับวัฒนธรรม คา นิยมและ รสนิยมของคนไทยอกี ดว ย หลงั จากการคน ควา ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั และเสฐยี รโกเศศ แลว ยังมีนักวิชาการอ่ืนๆ ศึกษาคนควาเรื่องที่มาและวิเคราะหเปรียบเทียบเร่ืองราม เกียรต์ิตอมาอีกหลายคน เนื่องจากมหากาพยเร่ืองรามายณะเปนวรรณคดีที่ไดร บั การ ยกยอ งวา เปน วรรณคดชี น้ิ เอกของโลก จงึ มกี ารศกึ ษาคน ควา อยา งแพรห ลาย ดงั มีการ จดั สัมมนาระดับนานาชาติเรอ่ื งรามายณะอยา งตอ เน่อื งเปนประจำทุก ๓ ป รามเกยี รติ์สำนวนตา งๆ วรรณคดีเร่ืองรามเกียรต์ิเปนท่ีนิยมมากอยางย่ิงในเมืองไทย จึงมีผูแตง วรรณคดีเร่ืองนี้ขึ้นหลายโอกาส หลายวาระ รามเกียรต์ิของไทยจึงมีสำนวนแตงตางๆ กัน และรปู แบบการประพนั ธห ลากหลาย ดังน้ี ๑. บทพากยรามเกียรติ์คร้ังกรุงเกา ขอความตอนสีดาหายถึงกุมภกรรณ ลม ตดิ ตอ กนั นอกนั้นมคี วามเปน ตอนๆ ไมตอเน่ืองกนั ๒. บทละครรามเกยี รตคิ์ รงั้ กรงุ เกา ตอน พระรามประชมุ พลถงึ องคตสอื่ สาร ๓. บทละครรามเกียรต์ิ ฉบับพระราชนิพนธสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี มี ตอนกำเนิดพระมงกุฎ ตอนหนุมานเก้ียวนางวานรินจนถึงทาวมาลีวราชเสด็จ ตอน ทาวมาลีวราชวาความจนถึงทศกัณฐเขาเมือง ตอนทศกัณฐตั้งพิธีทรายกรดปลุกเสก หอกกบิลพทั จนถงึ หนมุ านผูกผมทศกัณฐก ับนางมณโฑ ๔. บทละครเรอ่ื งรามเกยี รติ์ พระราชนพิ นธพ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลก

ศาสตราจารย ดร. รืน่ ฤทัย สัจจพนั ธุ 15 ๕. บทละครเรื่องรามเกียรต์ิ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธ- เลิศหลานภาลัย ตอนหนุมานถวายแหวนไปจนถึงทศกัณฐลมพระรามเสด็จกลับ อยุธยา และตอนบุตรลพ (พระมงกุฎพระลบ) ๖. คำพากยรามเกียรต์ิ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ- หลานภาลยั ตอนนางลอย ตอนนาคบาศ ตอนพรหมาสตร และตอนเอราวณั ๗. บทละครรามเกียรติ์ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยูหัว ตอนพระรามเดินดง ๘. บทเบิกโรง พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ตอนนารายณป ราบนนทกและพระรามเขาสวนพิราพ ๙. เรื่องรามเกียรต์ิในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวซึ่งมี หลายประเภท และหลายตอน บางสวนทรงพระราชนพิ นธขน้ึ ตามเรอ่ื งรามายณะของ วาลมีกิ ฉบับภาษาอังกฤษ รวมทั้งชื่อตัวละคร บุคลิกลักษณะของตัวละคร บางสวน ดำเนินเรื่องตามฉบับรัชกาลท่ี ๑ อยางตอนพรหมาสตร บางสวนดำเนินตามฉบับ รชั กาลที่ ๒ อยา งตอนนางลอย พระราชนิพนธเร่อื งรามเกียรต์ฉิ บบั ตางๆ ไดแ ก บทละครเบิกโรงเร่ืองดึกดำบรรพ ๔ ชุด คือ มหาพลี ฤษีเส่ียงลูก นรสงิ หาวตาร และพระคเณศรเสยี งา บทละครดึกดำบรรพ (โขน) ชดุ อรชุนกบั ทศกัณฐ บทละครเร่ืองรามเกยี รต์ิ ชดุ ปราบตาฑะกา และชดุ อภเิ ษกสมรส บทละครเรอื่ งรามเกยี รต์ิ ๖ ชดุ คอื สดี าหาย พเิ ภกถกู ขบั จองถนน ประเดิมศึกลงกา นาคบาศ พรหมาสตร ท้ัง ๖ ชุด มีคำรองและคำพากยอยูในชุด เดียวกนั ใชไ ดท ้ังเลน โขนและละคร บทพากยบ ทเจรจา ตอนเผาลงกา พธิ ีกมุ ภนิยา และนางลอย ๑๐. นริ าศสีดา หรือราชาพลิ าปรคำฉนั ท แตงในสมยั อยธุ ยา ๑๑. สุภาษิต เชน โคลงทศรถสอนพระราม โคลงพาลสี อนนอง ๑๒. เรื่องพระลัก - พระลาม ซ่ึงเปนนทิ านคำกลอนของทองถ่นิ ภาคอสี าน ๑๓. โคลงอธิบายภาพเรื่องรามเกียรต์ิ ซ่ึงเปนจิตรกรรมฝาผนังรอบพระ อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จำนวน ๔,๙๘๔ บท โดยเปนพระราชนิพนธ

16 นามานกุ รมรามเกียรติ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ๒๒๔ บท สวนท่ีเหลือเปนผลงานของพระ บรมวงศานุวงศ และกวนี ักปราชญราชบณั ฑิต นอกจากน้ียังมีวรรณคดีท่ีมาจากนิทานเร่ืองยอยในรามายณะของวาลมีกิ น่ัน คือ พระราชนิพนธเรื่องพระศุนหเศป ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และเรือ่ งอิลราชคำฉันท ของพระศรสี นุ ทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทยั สัจจพันธุ 17 เลา เรือ่ งรามเกยี รติ์ หลังจากพระนารายณปราบหิรันตยักษไดแลว พระองคบรรทมเหนือบัลลังก นาคที่ลอยอยกู ลางเกษยี รสมุทร บังเกดิ ดอกบวั ขึ้นจากพระนาภี ภายในดอกบวั มพี ระ กุมารประทับอยู พระนารายณทรงอุมกุมารนั้นเหาะมาถวายพระอิศวร พระอิศวร ตรัสวาพระกุมารจักเปนตนวงศกษัตริยอันประเสริฐผูสามารถดับทุกขเข็ญของโลก จึง มีเทวโองการใหทาวมัฆวานไปสรางอยุธยาบุรีนครใหครอบครอง พระราชทานนาม พระกุมารวาทาวอโนมาตัน ในขณะเดียวกันทาวสหบดีพรหมโปรดเกลาใหสรางเมือง ลงกา แลวทูลเชิญองคธาดาพรหมครองเมือง องคธาดาพรหมมีโอรสชื่อทาวลัสเตียน ฝายทา วอโนมาตันมีโอรสชอื่ ทาวอัชบาล ทา วลัสเตยี นมีมเหสี ๕ องค มเหสีองคท่ี ๕ ใหกำเนิดโอรสคือ ทศกัณฐ ซ่ึงอดีตชาติคือนนทกผูสิ้นชีวิตดวยฤทธ์ิของพระนารายณ พระอิศวรทรงเล็งเห็นวาทศกัณฐจะสรางความเดือดรอนแกโลก จึงทรงบัญชาให เวสสุญาณเทพบุตรจุติไปเกิดเปนพิเภกนองรวมทองกับทศกัณฐ เพื่อชวยเหลือ พระนารายณซ่ึงจะอวตารลงไปปราบยักษ ตอมาทาวอัชบาลมีโอรสคือทาวทศรถ ซึ่ง ครองเมอื งอยธุ ยาสืบตอ มา ทาวทศรถครองราชสมบัติมาเปนเวลานาน ไมมีพระโอรส จึงทรงนิมนตพระ ดาบส ๔ องค คือ พระวสษิ ฐ พระสวามติ ร พระวชั อัคคี และพระภารทวาช มาทำพธิ ี ขอพระราชโอรสผูมีฤทธ์ิเพ่ือจะไดปราบปรามเหลายักษชั่วรายที่กำเริบรุกรานสามโลก ใหเดือดรอน พระดาบสท้ัง ๔ องคไปพบพระฤษีกไลโกฏ แลวพากันไปเขาเฝา พระอิศวร กราบทูลใหทรงทราบ พระอิศวรทูลเชิญใหพระนารายณอวตารลงไปเปน โอรสทา วทศรถเมอื งอยธุ ยาเพอ่ื ปราบยกั ษ พรอ มกบั ใหพ ระลกั ษมอี วตารไปเปน นางสดี า อาวุธของพระนารายณคือสังขและบัลลังกนาคบังเกิดเปนพระลักษมณ จักรเปนพระ พรต คทาเปนพระสัตรดุ และเหลา เทพเทวาขออาสาไปบังเกิดเปน พลวานรชวยปราบ ยักษรายใหสิ้นเผาพันธุ จากนั้นจึงประสาทมนตรสญชีพใหพระกไลโกฏไปต้ังกาลาพิธี ขอพระโอรส เมอ่ื ทำพธิ ไี ดบ งั เกดิ กองอคั คี มอี สรู ทนู ถาดขา วทพิ ย ๔ ปน ผดุ ขน้ึ กลาง กองไฟ กล่นิ ขาวทิพยห อมลอยไปจนถงึ เมอื งลงกา นางมณโฑมเหสที ศกณั ฐอยากเสวย ขาวทิพยน้ัน ทศกัณฐจึงใหนางกากนาสูรบินมาโฉบขาวทิพยไปไดครึ่งปน ทาวทศรถ

18 นามานกุ รมรามเกียรติ์ ประทานขาวทิพยแกนางเกาสุริยา นางไกยเกษี คนละ ๑ ปน สวนท่ีเหลือใหนาง สมุทรชาเทวี นางเกาสุริยาประสูติพระราม กายสีเขียว นางไกยเกษีประสูติพระพรต กายสีชมพู นางสมุทรชาเทวีประสูติพระลักษมณ กายสีเหลือง และพระสัตรุด กาย สีมวง สว นนางมณโฑประสูตนิ างสดี า แตพ ระธดิ านอยรองวา “ผลาญราพณ” ข้ึนสาม คร้ัง โหรทำนายวา เปน กาลกณิ ี ทศกณั ฐจ งึ บญั ชาใหน ำพระธดิ าแรกประสตู ใิ สผ อบลอย น้ำไปทาวชนกฤษีเก็บผอบได เปดพบทารกนอยจึงเลี้ยงไวเปนพระธิดาดวยความรัก เมื่อรำลึกไดวาพระองคละสมบัติออกบวชเปนฤษีเพราะหวังบรรลุฌาน จึงนำทารก นอยใสผอบฝงดินไว ฝากใหพระแมธรณีคุมครอง ตอมาเมื่อลาพรตกลับไปครองเมือง มิถิลา ไดขุดผอบนำพระธิดาซึ่งเตบิ โตเปนสาววยั สบิ หกปขนึ้ มา ประทานช่อื วา สดี า ฝายโอรสทาวทศรถทั้ง ๔ องค ไดเลาเรียนวิชาจากพระฤษีวสิษฐและพระฤษี สวามิตร เมื่อเรียนสำเร็จพระฤษีตั้งพิธีบูชาไฟ พระอิศวรประทานศรและลกู ศร ๑๒ เลม ใหพ ระกมุ ารท้ัง ๔ พระองค พระกุมารทุกพระองคจึงมีศรพรหมาสตร อัคนิวาต และพลายวาตเปนอาวุธ ตอมาพระพรตและพระสัตรุดเสด็จไปประทับท่ีเมืองไกยเกษ กับพระอัยกา พระรามและพระลักษมณไดปราบยักษมารเกเรที่สรางความเดือดรอน แกประชาชน พระวสิษฐพระสวามิตรกราบทูลใหพระรามพระลักษมณทรงทราบเรื่อง ทา วชนกฤษีทำพธิ ีขุดหาผอบนางสีดา (ภาพจิตรกรรมฝาผนงั วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม)

ศาสตราจารย ดร. ร่ืนฤทัย สจั จพันธุ 19 พิธีเสย่ี งทายยกมหาธนูโมลี ทาวชนกทำพิธีหาคูใหพระธิดา โดยใหแขงขันยกมหาธนูโมลี ผูยกไดสำเร็จจะได อภิเษกกับนางสีดา พระรามยกมหาธนูได ทาวชนกเชิญทาวทศรถมารวมพิธีอภิเษก พระรามนางสีดา แลวพระรามพานางสีดาไปยังเมืองอยุธยา ระหวางทางไดปราบ รามสรู เม่ือทาวทศรถทรงพระชรา ทรงประทานเมืองอยุธยาใหพระราม นางไกยเกษี ทวงสัญญาจากทาวทศรถท่ีจะมอบราชบัลลังกแกพระพรต ทาวทศรถจึงตองทำตาม คำสัตยท่ีใหแกนางไว นางไกยเกษีอางพระราชโองการจากทาวทศรถใหพระรามทรง พรตเปนดาบสแลวเสด็จไปอยูปาเปนเวลาสิบส่ีปจึงคอยคืนเมือง พระรามกระทำตาม เพ่ือรักษาสัจวาจาของพระบิดา พระลักษมณและนางสีดาตามเสด็จไปดวย เมื่อพระ พรตทราบเรื่อง ตกพระทัยมาก ไมยอมครองเมือง ตามไปทูลเชิญใหเสด็จกลับ เมื่อ พระรามไมยอม พระพรตจึงกลับไปรักษาพระนคร โดยเชิญฉลองพระบาทของ พระรามมาไวในปราสาทแกวแทนพระองค หลังจากน้ัน พระราม พระลักษมณ และ นางสีดา เสด็จเขาปาลึกไปอีก เพ่ือมิใหผูใดทราบวาพระองคประทับอยูที่ไหน พระองคจ ะไดเจรญิ ภาวนาไดเตม็ ทต่ี ามพระประสงค กลาวถึงนางสำมนักขา นองสาวของทศกัณฐเปนมายเพราะชิวหาผูเปนสวามี

20 นามานกุ รมรามเกยี รติ์ ถูกจักรของทศกัณฐสังหารดวยความเขาใจผิด เน่ืองจากชิวหาแลบล้ินปดเมืองลงกา แลวหลับไปไมไดสติ เนื่องจากอดนอนเฝาเมืองใหทศกัณฐมาเจ็ดวันเจ็ดคืน นาง สำมนักขาไปเที่ยวปา ไดพบพระรามซ่ึงกำลังบำเพ็ญพรต เกิดความใครไดพระราม เปนสามี นางจึงแปลงรางเปนสาวสวยเขาเยายวนพระราม พระรามขับไลใหไป นาง ก็ตามมาจนถงึ อาศรม เม่ือเหน็ นางสดี ากห็ ึงหวง จึงคืนรางเปน ยกั ษเ ขา ทำรายนางสีดา พระรามพระลักษมณเขาตอสู พระลักษมณตัดแขนขาหูจมูกนางแลวปลอยตัวไป นาง สำมนักขากลับไปเมืองโรมคัล พญาขรผูพี่ชายเห็นเขาก็โกรธแคน ยกทัพมารบกับ พระรามพระลักษมณ พระรามปราบไดราบคาบ ไพรทหารหนีกลับมาทูลขุนทูษณ ผูเปนอนชุ า ขุนทูษณยกทัพไปรบกบั พระราม ก็ถกู สังหารสิน้ ชวี ิต ทหารที่รอดตายไป ทูลทาวตรีเศียรผูเปนอนุชาอีกองคหนึ่ง พญาตรีเศียรยกทัพมาตอสู ก็ถูกพระราม ประหารส้ินชีวิตเชนกัน นางสำมนักขาตกใจแทบสิ้นชีวิต รีบเดินทางขามสมุทรไปยัง เมืองลงกา แกลงทูลทศกัณฐผูเปนพี่ชายวาจะจับนางสีดาถวายทศกัณฐ แตพระราม พระลักษมณขัดขวางไว อีกยังสังหารพญาขร ขุนทูษณ ทาวตรีเศียรถึงแกชีวิต นาง สำมนักขาพรรณนาความงามของนางสีดาจนทศกัณฐหลงใหล ใครไดนางเปนชายา จึงบัญชาใหมารีศแปลงเปนกวางทองไปลอนาง เม่ือพระรามตามกวางไป กวางมารีศ แกลงรองเปนเสียงพระรามใหพระลักษมณไปชวย นางสีดาขับไลพระลักษมณใหรีบ ตามไป ทันใดน้นั ทศกณั ฐก็เขาลักตัวนางสดี าจากอาศรม หนมุ านถวายตวั เปน สมุนรับใชพระราม

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทยั สัจจพันธุ 21 พระรามและพระลกั ษมณเ ดนิ ปาตดิ ตามหานางสีดาดว ยความโศกเศรา พบนก สดายุบาดเจ็บปกหักหางหักอยูกลางปา นกสดายุกราบทูลวาขณะบินอยูบนทองฟา พบทศกัณฐลักพานางสีดานั่งรถทรงเหาะมา จึงเขาขัดขวาง ฆาไพรพลยักษจำนวน มาก แตประมาทท่ีบอกแกทศกัณฐวาไมแพอาวุธใดนอกจากแหวนท่ีพระอินทร ประทานแกนางสีดา ทศกัณฐจึงถอดแหวนของนางสีดาขวางมาประหารนกสดายุ หลงั จากกราบทลู นกสดายุถวายแหวนแกพระรามแลว สน้ิ ชวี ติ พระรามและพระลักษมณเดินทางตามหานางสีดาตอไป ระหวางเดินทางพบ หนุมานเปนลิงเผือกเพศผู พระรามเห็นวาหนุมานมีกุณฑลขนเพชรเขี้ยวแกวในขณะท่ี พระลักษมณไมเห็น หนุมานจึงรูวาพระรามคือนารายณอวตารเพราะเปนบุคคลเดียว ท่ีเหน็ ลกั ษณะกายของตน หนุมานจงึ เขา ไปกราบพระบาท และกราบทลู ถามมูลเหตทุ ่ี เสด็จอยูในปาเพียงลำพัง ปราศจากไพรพลกองทัพ เม่ือหนุมานทราบวาพระราม จะเสด็จไปตามนางสดี าที่กรุงลงกาเมอื งของทศกัณฐ จึงแนะนำใหพ ระรามจัดทัพ โดย ไปตามสุครีพซ่ึงเปนนาชายมาเขาเฝา สุครีพกราบทูลใหพระรามชวยปราบพาลี เน่ืองจากพระอิศวรประทานนางดาราวดีแกสุครีพเปนบำเหน็จท่ีชวยฉุดเขาพระสุเมรุ ใหตรง พาลีรับนางดาราวดีมาและใหคำสัตยวาหากไมมอบนางดาราวดีแกนองชาย ขอใหตายดวยศรของพระนารายณ พาลีเสียสัตยผิดคำสาบานและยังขับไลสุครีพซึ่ง เปนนอ งรว มไสออกจากเมืองโดยไมมีความผิด พระรามจึงใหส คุ รพี ไปทาสูกับพาลีแลว ลอหลอกใหมาหาพระองค พระรามแผลงศรฆาพาลีตาย สุครีพไดครองเมืองขีดขิน แลวนำองคตและชมพพู านลกู ของพาลถี วายตวั เปนทหารของพระราม พระรามเสด็จไปประทับท่ีเขาคันธมาทน ระหวางทางพบพญานกยูงทอง กราบทูลวานางสีดาฝากความใหพระรามเสด็จไปทำสงครามผลาญยักษ พระนางจะ ครองกายครองชีวิตรอคอยพระราม พระรามยังพบฝูงวานรนำผาสไบของนางสีดามา ถวาย พรอมช้ีทางใหพระรามตามไปฆายักษ พระรามและพระลักษมณลาพรตท่ีเขา คนั ธมาทนแ หง นเ้ี พอ่ื ยกทพั วานรไปปราบยกั ษ พระอศิ วรมพี ระบญั ชาใหพ ระเวสสกุ รรม นำเครื่องภูษาผาทรงมงกุฎสังวาลธำมรงคมาถวายสองพระองค พรอมเนรมิต พลับพลาไวให พระรามไดสุครีพ หนุมาน องคต ชมพูพาน ทาวมหาชมพู และนิลพัทผูเปน หลาน มาเปนทหารเอก พรอมวานรสิบแปดมงกุฎ และไพรพลวานรจากเมืองขีดขิน

22 นามานกุ รมรามเกียรติ์ ๕๐ สมุทร และเมืองชมพูอีก ๒๗ สมุทร เม่ือกองทัพพรอมแลว พระรามใหหนุมาน องคต ชมพูพาน นำธำมรงคกับผาสไบไปแจงขาวแกนางสีดาที่เมืองลงกาวาพระองค เสด็จยกทัพมาชวยแลว สามทหารเอกนำกองทหารมาถึงสระโบกขรณีกลางปา พอ ยามดึกก็หลับใหลทุกตน ยักษปกหลั่นขึ้นจากสระมาจับวานรกิน ปกหลั่นโจนถีบ องคต องคตตน่ื ข้ึนมาสูกับปกหลั่นและเอาชนะได ปก หลน่ั เลาวาเดมิ เปน เทพ เมื่อเปน ชูกับนางฟาชื่อเกสรมาลา พระอินทรจึงสาปใหมาเปนยักษเฝาสระ จนกวาทหาร พระรามลูบกายจึงจะพนสาป องคตสงสารจึงลูบกาย ปกหลั่นกลับเปนเทพเหาะข้ึน สวรรคไ ป เม่อื หนุมานและชมพพู านต่นื ก็เลาความใหฟ ง เมอื่ สามทหารเอกเดินทางตอไป พบเมืองรา งกลางปา มีเพยี งนางบษุ มาลีอยูคน เดยี ว นางเลา ใหห นุมานฟง วาเดมิ เปนนางฟา อยบู นสวรรค แตเ ปน แมส ื่อชกั นำใหท าว ตาวันลอบรักกับนางรำพา พระอิศวรสังหารทาวตาวันแลวสาปนางลงมาอยูในเมือง มายนั ซึง่ เปนเมืองรา งนานสามหมน่ื ป ตอเมื่อพบทหารเอกพระนารายณจงึ จะพน สาป หนุมานเกีย้ วนางเปนเมียแลวสง นางขึน้ สวรรคไ ป เมื่อเดนิ ทางตอไปถึงมหาสมทุ ร พบ นางสวุ รรณมาลี ขา รบั ใชพ ระอศิ วรมาคอยบอกทางแกท หารพระรามทจี่ ะไปเฝา นางสดี า ที่เมืองลงกา หนุมานไดฟงก็ยินดียิ่ง นิรมิตรางกายใหญโต พาดหางขามมหาสมุทรให ไพรพลวานรเดินขามไป ตอมาพบฤษีชฎิล พระฤษีบอกวาหางจากท่ีนี้ไปอีก ๑๕ โยชน จะถึงเขาเหมติรัน ริมมหาสมุทร เปนทาขามไปยังเมืองลงกา ที่เขาเหมติรัน สามวานรพบนกยักษไมมีขนอาศัยอยูในถ้ำ เม่ือซักถามกันทราบวาช่ือ สัมพาทีเปน พ่ีชายนกสดายุ เมื่อยังเล็กนกสดายุเห็นพระอาทิตยดวงกลมแดงฉาน คิดวาเปนผลไม จึงเหาะข้ึนไปจิกกนิ สมั พาทหี ามเทาไรไมฟง พระอาทิตยก ร้วิ โกรธ เปลงแสงแรงรอ น นกสัมพาทีเหาะข้ึนไปปองกันนองไว ขนจึงหลุดหมดทั้งตัว พระอาทิตยสาปซ้ำใหไป อยทู ่ถี ำ้ เหมติรนั และขนไมงอกขึน้ ใหม จนกวาพบกองทหารพระนารายณ กองทหาร โหรองสามครั้ง จึงจะพนคำสาป ขนงอกขึ้นตามเดิม หนุมานจึงใหกองทหารโหรอง พรอมกัน นกสัมพาทีมีขนงอก บินไดต ามเดมิ จงึ อาสาพาหนุมานขน้ึ หลงั บนิ ไปชีบ้ อก ที่ตั้งกรุงลงกา ซึ่งเปนเกาะกลางสมุทร มีภูเขาชื่อนิลกาลาเปนหลักบอกตำแหนงที่ตั้ง เมอื่ หนุมานทราบตำแหนง ท่ีตง้ั เมอื งลงกา จงึ ใหองคตและชมพพู านอยดู ูแลกองทัพอยู ทีถ่ ำ้ เหมตริ ัน แลว เหาะไปเมอื งลงกาตามลำพัง ขณะหนุมานเหาะขามมหาสมุทร นางผีเส้ือสมุทรซ่ึงเปนทหารหนาดานของ

ศาสตราจารย ดร. รน่ื ฤทยั สัจจพนั ธุ 23 ทศกัณฐเหาะขึ้นไปขัดขวาง หนุมานฆานางผีเส้ือสมุทรตาย แลวเหาะตอไปจนถึงเขา โสฬสซ่ึงอยูเลยเมืองลงกาไป หนุมานเห็นอาศรมฤษีจึงแปลงรางเปนวานรนอยเขาไป ถามทาง เมื่อพระฤษีบอกทางให หนุมานขอพักคืนหน่ึงรุงเชาจึงคอยเดินทาง ตลอด ทั้งคืนหนุมานลองฤทธิ์พระฤษีแตกลับแพ ในตอนรุงเชาเม่ือหนุมานไปลางหนา พระฤษยี ังเสกไมเทา ใหเ ปน ปลิงเกาะท่คี าง หนมุ านตองขอใหพ ระฤษีชวย จากนนั้ กเ็ หาะไปเมืองลงกา พบนางสีดาถกู ขงั อยูในสวนขวัญ นางสีดากำลงั จะ ผูกคอตายเพราะเจ็บแคนที่ทศกัณฐเก้ียวพาโดยนางไมปลงใจ และซ้ำเหลานางอสุรีท่ี เฝาอยูยังดาวาซ้ำเติม หนุมานชวยชีวิตนางสีดาไวได แลวถวายแหวนกับผาสไบพรอม กราบทูลวาพระรามกำลังเสด็จมารบกับทศกัณฐและนำพระนางคืนกลับไปอยางสม พระเกียรติ หลังจากเขาเฝาแลว หนุมานแกลงทำลายสวนขวัญแหลกยับเยิน ฆาสหัส กุมาร โอรสพันองคของทศกัณฐ ทศกัณฐใหอินทรชิตไปปราบ หนุมานแกลงยอมแพ ใหอินทรชิตจับตัวได ทศกัณฐสั่งใหประหารหนุมานดวยวิธีการตางๆ แตไมสำเร็จ จึง ใหนำตัวเขาเฝาซักถาม หนุมานหลอกวาตายไดดวยการจุดไฟเผา ทศกัณฐดีใจสั่งให เผาหนุมาน หนุมานจึงเผนโผนเขาตำหนัก เผาเมืองลงกาไหมทั้งเมือง แลวสลัดไฟให หลุดจากรางของตนเอง แตเหลือไฟท่ีปลายหางไมยอมดับ หนุมานจึงเหาะไปเฝาพระ นารทฤษีถามวิธีดับไฟ พระฤษีใหดับดวยน้ำบอนอย หนุมานคิดไดดวยปญญาจึงอม หางตัวเองไวในปาก ก็ดับไฟได ฝายทศกัณฐใหเชิญเหลาเทพเทวามานิรมิตเมืองลงกา ใหใ หม ทศกัณฐฝนราย พิเภกทำนายฝนวาเคราะหรายเปนอันตรายถึงชีวิต แตผอน ปรนไดดวยการถือมั่นในธรรมสุจริต และสงตัวนางสีดาคืนใหพระราม ทศกัณฐกริ้ว โกรธ ประกาศตัดขาดความเปนพี่นอง แลวขับไลพิเภกออกจากเมือง พิเภกเขาเฝา พระรามขอสวามิภักด์ิ พระรามใหกระทำพิธีดื่มน้ำสาบานแลวรับไวเปนที่ปรึกษาการ ทำศึก ทศกัณฐวางแผนใหพระรามยกทัพกลับไปโดยบัญชาใหเบญกายผูเปนหลาน สาวแปลงรางเปนนางสีดาทำเปนตายลอยน้ำผานหนาพลับพลาของพระราม เม่ือ พระรามเขา ใจวานางสีดาสนิ้ พระชนมแ ลว ก็จะเลิกการทำศึก ยกทพั กลบั ไป แผนการ ของทศกณั ฐไ มส ำเรจ็ เพราะหนุมานจบั ได หนุมานไดนางเบญกายเปนชายา ฝายพระรามบัญชาใหเหลาทหารวานรถมทะเลเปนถนนเพ่ือเดินทัพไปยังลงกา โดยใหหนุมานและนิลพัทเปนหัวหนาคุมไพรพลดำเนินการ หนุมานและนิลพัทซ่ึงมี

24 นามานุกรมรามเกียรต์ิ เร่อื งเคอื งใจกนั มากอนทะเลาะกนั พระรามลงโทษใหน ิลพัทไปดแู ลนครขดี ขิน และให หนุมานจัดการจองถนนใหสำเร็จ ทศกัณฐสงนางสุพรรณมัจฉาพาบริวารมาขนหินท่ี ทำถนนไปท้ิงเสีย หนุมานจับนางสุพรรณมัจฉาไดและไดนางเปนชายาอีกตน นาง สุพรรณมัจฉามีลูกกับหนุมาน นางไปสำรอกลูกชายไวท่ีชายหาด ลูกของนางเปนลิง เผือก มีหางเปนปลา วัย ๑๖ ป เหลาเทพเทวาตั้งชื่อวามัจฉานุ นางทิ้งลูกชายไว ตอ มาพญาไมยราพเจาบาดาลนำไปเลี้ยงเปนลกู บญุ ธรรม ฝายพระรามยกทัพขามมหาสมุทรไปตั้งทัพท่ีเขามรกต แลวสงองคตเปนทูตไป ถวายสาสนแกทศกัณฐใหคืนนางสีดา ทศกัณฐกลับพูดจาทาทายใหรบกัน ทศกัณฐ ยกฉัตรแกวสุรกานตของทาวธาดาพรหม ทำใหบังแสงพระอาทิตยจนมืดมิด ฝาย พระรามมองไมเห็นเมืองลงกา แตฝายทศกัณฐมองเห็นกองทัพพระราม สุครีพ อาสาทำลายฉัตรพังพินาศ แลวสูรบกับทศกัณฐ เอาเทาคีบมงกุฎทศกัณฐไปถวาย พระราม ทศกัณฐเปนทุกขเสียพระทัยอยางย่ิงท่ีศัตรูมีฤทธาอำนาจ จึงใหตามทาว ไมยราพซึ่งเปนสหายรักมาชวย ไมยราพสะกดกองทัพวานรหลับใหลทุกตนแลวอุม พระรามลงไปไวในเมืองบาดาล หนุมานตามไปชวยได ฆาไมยราพตาย หนุมานไดพบ มัจฉานผุ เู ปนบตุ ร พระรามยกทพั ขา มมหาสมทุ รสกู รุงลงกา

ศาสตราจารย ดร. รน่ื ฤทัย สจั จพนั ธุ 25 กมุ ภกรรณแปลงกายทดน้ำกองทพั พระราม ทศกัณฐเสียพระทัยอยางย่ิงท่ีไมยราพส้ินชีวิต จากน้ันใหตามกุมภกรรณผูเปน นองมาชวยรบ กุมภกรรณเปนยักษที่อยูในศีลในธรรม แตจำเปนตองชวยพี่ชาย พระรามใหสุครีพออกไปสูรบ กุมภกรรณจับตัวสุครีพได หนุมานตามไปชวยแกไข กุมภกรรณสูสองวานรไมไดจึงหนีเขาเมือง กุมภกรรณข้ึนไปขอหอกโมกขศักดิ์จาก พระพรหมลงมาสูรบ แลวไปทำพิธีลับหอกท่ีริมฝงมหานทีสีทันดร หนุมานกับองคต แปลงรางเปนกาจิกสุนัขเนาลอยน้ำมาใกล ทำใหกุมภกรรณซ่ึงรักความสะอาดอยาง ยงิ่ ตอ งเลกิ พธิ ลี บั หอกโมกขศกั ด์ิ เมอ่ื ออกรบ พระรามสง พระลกั ษมณไ ปรบ พระลกั ษมณ ถูกหอกโมกขศักด์ิซึ่งหากไมสามารถชวยไดทันกอนพระอาทิตยขึ้น จะตองส้ินชีวิต หนุมานเหาะข้ึนไปยุดรถพระอาทิตยไว พระอาทิตยจึงชักรถทรงเขากลีบเมฆ ไมให แสงอาทติ ยส อ งไปยงั พระลกั ษมณ แลว หนมุ านรบี ไปเกบ็ ใบสรรพยาบนยอดเขา จากนน้ั ไปขอนำ้ ปญ จมหานทจี ากพระพรตทเ่ี มอื งอยธุ ยา พเิ ภกประกอบยาแกไ ขใหพ ระลกั ษมณ รอดชีวิต กุมภกรรณจึงใชกลศึกเนรมิตกายกั้นน้ำไว ทำใหกองทัพของพระรามไมมี น้ำกินน้ำใช ภายในเจ็ดวันจะตองตายสิ้น หนุมานแปลงรางไปสืบจนรูวากุมภกรรณ ซอนตวั ทดนำ้ อยทู ใ่ี ด แลว ตามไปทำลายพิธี กุมภกรรณยกทัพออกมาสอู ีกครั้ง คราวนี้ พระรามเสด็จไปรบดวยพระองคเอง พระรามจึงแผลงศรสังหารกุมภกรรณได

26 นามานกุ รมรามเกียรติ์ ทศกณั ฐเ ศรา โศกเสียพระทยั อยา งยง่ิ ท่สี ูญเสยี อนชุ าไป ทศกัณฐใหอินทรชิตผูเปนโอรสออกรบกับฝายพระราม พระลักษมณยก กองทัพวานรไปสู อินทรชิตสูไมได ถอยทัพเขาเมืองแลวไปทำพิธีชุบศรนาคบาศบน ยอดเขาอากาศครี เี ปนเวลา ๗ วัน ทศกัณฐจงึ ใหมงั กรกัณฐซ ึ่งเปน หลานออกรบขดั ตา ทัพไปกอน พระรามปราบมังกรกัณฐได พิเภกกราบทูลพระรามวาอินทรชิตทำพิธี ชุบศรนาคบาศอยูในโพรงไมโรทันท่ีเขาอากาศคีรี นาคจะพากันมาคายพิษรดศรทุก เวลา หากครบ ๗ ราตรี ศรนาคบาศจะมฤี ทธิ์อำนาจจนไมอาจปราบได วธิ ีทำลายพธิ ี คือใหหมีกัดไมโรทันทำใหนาคตกใจหนีไป ชามพูวราชอาสาแปลงรางเปนหมีไป ทำลายพิธี อินทรชิตจึงชุบศรนาคบาศไมสำเร็จ อินทรชิตยกทัพออกมารบดวยความ โกรธแคน แผลงศรนาคบาศเปนนาครัดพระลักษมณและไพรพลวานรสิ้นสติหมดสิ้น พระรามมาชวยโดยแผลงศรพลายวาตไปเรียกพญาครุฑ เม่ือพญาครุฑเหาะมา เหลา นาคกลัว พากันคลายรัด แทรกหนีลงไปในดิน พระลักษมณและเหลาวานรจึงฟนคืน สติ เม่ือทศกัณฐและอินทรชิตทราบเร่ือง อินทรชิตลาพระบิดาไปทำพิธีชุบ ศรพรหมาสตรเ ปนเวลา ๓ วัน หา มผูใดไปรบกวน ทศกัณฐใ หก ำปนทหารเอกออกไป รบขัดตาทัพ กำปนถูกหนุมานฆาตาย ทศกัณฐตกพระทัยสงคนไปตามอินทรชิตโดย ลืมความท่ีอินทรชิตสั่งไว ทำใหเสียพิธี อินทรชิตแปลงรางเปนพระอินทรยกไปรบกับ พระลักษมณ พระลักษมณตกตะลึงชมโฉมพระอินทร อินทรชิตจึงแผลงศรถูก พระลักษมณและพลวานร หนุมานเหาะขึ้นไปสูกับอินทรชิต ก็ถูกหวดดวยศรตกลง มาสลบ พระรามเสด็จไปหาพระ พระลกั ษมณท ำลายพธิ กี มุ ภนิยา อนุชากลางสนามรบ เม่ือเห็นพระ ลักษมณสิ้นสมประดี พระองค ก็เสียพระทัยจนสลบไป ทศกัณฐ ไดข าววาทง้ั พระราม พระลักษมณ และไพรพลวานรส้ินชีวิตหมด ก็ ดีพระทัยอยางยิ่ง ใหนางสีดาและ นางตรีชฎาชายาของพิเภกพาข้ึน บุษบกแกวไปดูเหตุการณดวยตา ของนางเอง นางสีดาเขาพระทัย

ศาสตราจารย ดร. ร่นื ฤทัย สจั จพนั ธุ 27 วาพระรามสิ้นพระชนม จึงรองไหจนส้ินสติไป นางตรีชฎาปลุกใหฟนแลวกราบทูล ยืนยันวาพระรามไมสิ้นพระชนมแนนอน เพราะบุษบกแกวน้ีเปนที่เสี่ยงทาย หากผูใด เปนหญิงหมายขึ้นประทับ บุษบกจะไมลอยขึ้น นางสีดาจึงข้ึนบุษบกแลวอธิษฐาน เสย่ี งทาย เมื่อพิเภกทราบขาวไดบอกวิธีแกไขพิษศรพรหมาสตร โดยหนุมานไปเอายาที่ เขาอาวุธซึ่งมีจักรกรดพัดหมุนอยูตลอดเวลา หนุมานแบกภูเขาอาวุธไปทางทิศอุดร ลมพัดเอากลิ่นยาไปตองพระราม พระลักษมณและพลวานร จึงฟนคืนสติกันทุกคน เมือ่ ทศกณั ฐและอินทรชิตทราบขา วกต็ กพระทยั อนิ ทรชิตขอไปทำพิธกี ุมภนิยาที่ภูเขา จักรวาลภายใน ๗ วันเพื่อใหรางกายเปนกายสิทธิ์ ฆาไมตาย ในระหวางน้ีใหทศกัณฐ สงั่ ใหส ุขาจารแปลงรางเปนนางสีดา นำขน้ึ รถไปถึงกองทัพพระราม แลวตดั ศรี ษะโยน ลงไป เมื่อพระรามเขาใจวานางสีดาส้ินพระชนมก็จะยกทัพกลับ ทศกัณฐทำตาม แผนการของอินทรชิต พระรามพระลักษมณหลงเช่ือวานางสีดาส้ินชีวิต แตสุครีพ หนุมานและองคตพิสูจนไดวาเปนนางสีดาแปลง พิเภกเล็งเห็นวาอินทรชิตชะตา ถึงฆาต จึงกราบทูลใหพระลักษมณไปทำลายพิธีกุมภนิยาของอินทรชิต พระลักษมณ ตอสูกับอินทรชิตเปนเวลานาน ในท่ีสุดฆาอินทรชิตตายไดสำเร็จ พระลักษมณบัญชา ใหองคตเหาะขึ้นไปขอพานแวนฟาจากพระพรหมธาดามารองรับเศียรอินทรชิต เพราะอินทรชิตไดรับพรจากพระพรหมวาหากสิ้นชีวิต เศียรตกถึงพ้ืนดิน จะเกิด ไฟบรรลยั กลั ปไ หมไ ปทัว่ จกั รวาล เม่ืออินทรชิตส้ินชีวิต ทศกัณฐเสียพระทัยจนส่ังประหารนางสีดา แตมีผูทูล ทัดทานไว หลังเผาศพอินทรชิต ทศกัณฐออกรบกับพระราม จนสิ้นวันยังไมสามารถ เอาชนะกันได จึงเลิกทัพกลับเมือง สหัสเดชะและมูลพลัมสองพี่นองผูเปนสหายรัก ของทศกัณฐยกทัพมาชวยรบ มูลพลัมถูกพระลักษมณฆาตาย สวนสหัสเดชะไดรับพร จากพระพรหมใหไพรพลคูตอสูขยาดกลัวหนีไป พิเภกแนะนำใหหนุมานปลอมตัวเปน ลงิ นอยไปสวามิภักดติ์ อ สหัสเดชะแลว ลอลวงเอาคทาเพชรอาวุธคมู ือมาได หนุมานจับ สหัสเดชะมัดประจานแลวฆาใหตาย ทศกัณฐใหตามแสงอาทิตยลูกพญาขรมาชวยรบ แสงอาทิตยมีแวนแกวเปนอาวุธ ฝากไวกับพระอินทร องคตอาสาปลอมตัวเปนแสง อาทิตยไปขอรับแวนแกวมาได แสงอาทิตยจึงถูกพระรามฆาตาย ทศกัณฐออกรบกับ พระราม แตพายแพตองยกทัพกลับ ทศกัณฐใหตามทาวสัตลุงและตรีเมฆมาชวยรบ

28 นามานกุ รมรามเกียรติ์ พิธชี บุ หอกกบิลพัทและปน รูปเทวดาท้ิงกองเพลงิ สุครีพและหนุมานเขาตอสู แตไมอาจเอาชนะได ไพรพลวานรตายสิ้น พระรามและ พระลักษมณจึงแผลงศรฆาทาวสัตลุงและชุบชีวิตพลวานร พญาตรีเมฆแทรกหนีลงไป ใตบาดาล หนุมานตามไปประหารได ทศกัณฐจึงทำพิธีอุมงคเพ่ือชุบรางใหเปน กายสิทธิ์ฆาไมตาย สุครีพนิลนนทและหนุมานไปทำลายพิธีโดยนำน้ำลางเทานาง เบญกายไปรดท่ีแผนหินปดปากอุโมงค แลวนำนางมณโฑมาลวนลาม ทำใหทศกัณฐ ตบะแตก ประกอบพิธีไมสำเร็จ ทศกัณฐใหตามทาวสัทธาสูรและวิรุญจำบังมาชวยรบ หนุมานฆาทาวสัทธาสูรตาย สวนวิรุญจำบังเสกผาพยนตเปนยักษจำแลง สวนตนเอง หนีไปซอนตัว โดยแปลงเปนตัวไรซอนอยูในฟองสมุทรในทะเลสีทันดร หนุมาน ตามพบโดยนางวานรินบอกทางให จงึ ฆาวิรุญจำบงั ตายได ทศกัณฐไปทูลเชิญทาวมาลีวราชผูเปนลุงมาชวย เพราะเปนผูมีวาจาสิทธิ์ หาก สาปแชงพระรามพระลักษมณ ทั้งสองก็ไมสามารถเอาชนะได แตทาวมาลีวราช มีความเท่ียงธรรมจึงใหทูลเชิญพระราม พระลักษมณ นางสีดา และทศกัณฐ มา พิจารณาความพรอมกันกลางสนามรบ แลวตัดสินใหทศกัณฐคืนนางสีดาไป ทศกัณฐ ไมยอมและโกรธที่ทาวมาลีวราชไมยอมเขาขางตน ทศกัณฐทำพิธีปลุกเสกหอก

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สจั จพนั ธุ 29 นางมณโฑอาสาทำพิธีสัญชัยหงุ น้ำทิพย กบลิ พทั ทหี่ าดทรายกรด ปน รปู เทวดาทงิ้ ในกองเพลงิ หากทำพธิ คี รบ ๓ วนั หอกกบลิ พทั จะสังหารเทวดาไดทุกองครวมทั้งพระอินทร พระอิศวรจึงทรงบัญชาใหพาลีเทพบุตร ทำลายพิธี ทศกัณฐยกทัพออกมารบ พระลักษมณถูกหอกกบิลพัท พระรามแผลงศร ไปชวยเหลือ หนุมานไปนำยาสังกรณีตรีชวาจากภูเขาสัญชีพสัญญี มูลโคพระอินทร จากถำ้ อินทกาล นำหินบดยามาจากพญานาคใตบาดาล และลูกหนิ ซ่งึ ทศกณั ฐใ ชหนนุ นอน มาประกอบยาแกฤทธห์ิ อกกบิลพทั ชวยชวี ติ พระลักษมณไ ด นอกจากนี้ ในขณะ ที่ไปนำลูกหินบดยา หนุมานรายมนตรสะกดผูกผมทศกัณฐกับนางมณโฑไวดวยกัน ผมจะหลุดจากกันไดก็ตอเม่ือนางมณโฑตบเศียรทศกัณฐ ๓ ที ทศกัณฐจึงไดรับความ อับอายและกร้ิวโกรธพิเภกมากที่บอกความลับทุกอยางแกศัตรู ทศกัณฐเชิญทาวทัพ- นาสูร พี่รวมบิดามาชวยรบ ทัพนาสูรเนรมิตตนใหญเทาเขาจักรวาล แทรกพื้นพสุธา ลงไป เหลือแตศีรษะ อาปากแลบลิ้นบังดวงอาทิตย แลวเอาสองมือโอบลอมกองทัพ วานรเขาปากกิน ถูกสุครีพตัดแขนขาด แลวพระรามแผลงศรสังหารพรอมตัดไสพุงให วานรท่ีถูกกินออกมา พระอินทรพรมน้ำทิพยใหเหลาวานรคืนชีวิต ตอมานางมณโฑ ชว ยสวามีโดยการทำพิธสี ัญชพี ทำใหเ กดิ น้ำทิพย เมอ่ื รดศพของทหารยกั ษจะกลบั คืน

30 นามานกุ รมรามเกียรติ์ ชวี ติ ดงั เดมิ ฝายทศคีรีวันและทศคีรีธร ลูกของทศกัณฐเกิดจากนางชาง ตอมาทาวอัศ- กรรณมาราสรู ขอไปเลยี้ ง เมอื่ ทราบขา ววา ทศกณั ฐท ำศกึ จงึ ยกทพั มาชว ย พระลกั ษมณ ฆา ตายท้งั สองตน พอดนี างมณโฑทำนำ้ ทพิ ยสำเรจ็ สงมาถวาย ทศกัณฐพ รมนำ้ ทพิ ยใน สนามรบ ทำใหญาติพี่นองเพื่อนฝูงรวมท้ังไพรพลยักษท่ีสิ้นชีวิตไปแลว กลับคืนชีวิต มาใหมเปนปศาจ ทศกัณฐดีพระทัยส่ังกองทัพรุกรบหนุนเนื่องไมขาดสาย หากตายก็ พรมน้ำทิพยใหฟนใหม ฝายพระรามสงสัยวาเหตุใดกองทัพทศกัณฐกลับมีไพรพลมาก ขน้ึ เม่อื พเิ ภกกราบทูลใหทรงทราบ พระรามสง หนุมานมาทำลายพิธีสญั ชีพสำเรจ็ ตอ มาพระรามทำศึกกับทศกัณฐ แผลงศรตัดแขนตัดขาตัดเศียรทศกัณฐได แตทศกัณฐก็ ไมสิ้นชีวิต เศียรและแขนขากลับตอติดตามเดิม พิเภกกราบทูลวาทศกัณฐทำพิธีถอด ดวงใจ ใสแทงแกวฝากพระฤษีโคบุตรใหรักษา หนุมานพรอมองคตอาสาไปขโมยแทง ศิลาแกวใสดวงใจทศกัณฐมาได หนุมานใหองคตรักษาแทงศิลาไวและเหาะไปรออยู บนทองฟา สวนตนเองลวงพระฤษีใหพาไปสมัครเปนขารับใชทศกัณฐ ทศกัณฐหลง เช่ือจนถึงกับรับไวเปนโอรสและใหเปนแมทัพยกไปรบกับฝายพระราม หนุมานอาสา รบเพียงตนเดียว ไดหวดซายปายขวาทหารวานรหนีไปจนหมด แลวพูดจาทาทาย พระลักษมณกอนยกทัพเขาเมือง ทศกัณฐทราบเรื่องย่ิงตายใจวาหนุมานเปนพวกตน รุงข้ึนพระรามยกทัพมารบดวยพระองคเพราะทราบวาหนุมานทำอุบาย หนุมานอาสา ออกรบและชักชวนใหทศกัณฐเสด็จไปเปนประธานในกองทัพ เม่ือถึงสนามรบ หนุมานเหาะข้ึนไปพบองคตแลวนำแทงศิลาแกวบรรจุดวงจิตทศกัณฐถวายพระราม แลวนัดแนะพระองคใหเสด็จไปรบ เม่ือพระรามแผลงศรพรหมาสตรสังหารทศกัณฐ หนุมานจะบีบดวงจิตใหทศกัณฐส้ินชีวิต เมื่อทศกัณฐรูตัววาพายแพ ขอกลับไปล่ำลา นางมณโฑและบานเมือง รุงข้ึนทศกัณฐยกทัพมารบดวยขัตติยมานะ และสิ้นชีวิต ดวยศรพระราม พระอินทรใหนางอัปสรนำเคร่ืองมูรธาภิเษกสำหรับสระสนานและเคร่ืองทรง มาใหนางสีดา นางขึ้นบุษบกแกวไปเฝาพระรามพรอมเหลานางใน นางสีดาขอลุยไฟ พิสูจนความบริสุทธ์ิของนางวามิไดแปดเปอนราคีขณะอยูในเมืองยักษ ดวยความสัตย ซ่อื ตรงของนาง ทำใหเกดิ ดอกบวั รองรบั ทุกยา งกาว พระรามมีพระราชโองการใหพิเภกครองเมืองลงกา พิเภกทำพิธีปลงพระศพ

ศาสตราจารย ดร. รนื่ ฤทัย สจั จพนั ธุ 31 ทศกัณฐอยา งสมพระเกยี รติ และรบั เสดจ็ พระราม พระลักษมณ นางสดี า เขา ประทับ ที่เมืองลงกา พระรามเสด็จกลับอยุธยาเพราะใกลครบ ๑๔ ป หากพระองคไมเสด็จกลับ พระพรตและพระสัตรุดจะฆาตัวตายในกองไฟ เม่ือเสด็จขามมหาสมุทรแลว พระราม แผลงศรทำลายถนนทจี่ องขามมา จากนน้ั เดนิ ทางเขาปา กลาวถึงบรรลัยกัลป โอรสทศกัณฐกับนางกาลอัคคี พญานาคขอไปเล้ียงเปน ลูกต้ังแตอายุ ๕ ป เกิดฝนรายจึงขอลาพญานาคไปเย่ียมทศกัณฐ เม่ือทราบขาวจาก มารดา ไดต ิดตามกองทพั พระรามไป พระรามใหห นมุ านไปขดั ขวาง หนมุ านแปลงราง เปนมหิงสาติดหลมดักทางไว ไดตอสูกับบรรลัยกัลปแตจับตัวไมได ลื่นหลุดทุกคร้ัง เพราะอาบวา นยาไว หนมุ านเหาะไปถามพระฤษที ศิ ไพถึงวิธีแกไ ข พระฤษีแสดงอบุ าย หนมุ านเขา ใจ เหาะกลบั ไปตอ สโู ดยเอาฝนุ ทรายซดั ตอ งกายจงึ จบั ตวั และฆา บรรลยั กลั ป ตายได พระรามเดินทางถึงอยุธยา ทำพิธีราชาภิเษกและพระราชทานบรรดาศักดิ์ และรางวัลแกเหลาทหารวานร พระรามตั้งหนุมานเปนพญาอนุชิตและพระราชทาน เมืองอยุธยาใหครง่ึ หน่งึ ตามทสี่ ัญญา แตพญาอนุชติ ไมมีความสุขเลย พระรามจึงสรา ง เมอื งใหใ หม ฝายทาวมหาบาล สหายรักของทศกัณฐยกทัพมาลงกา เม่อื รขู าววาทศกัณฐสน้ิ ชีวิตและพิเภกไดครองเมืองพระนามวาทาวทศคีรีวงศ จึงตองการทำศึก พระรามสง หนุมานมาชวยรบ หลังกลับไปครองเมืองนพบุรีไมนาน หนุมานสละเมือง ออกไป บำเพญ็ พรตโดยทำพธิ ีแปลงเพศเปน มนุษยก อน ฝายนางมณโฑคลอดโอรสท่ีเกิดแตทศกัณฐ ทาวทศคีรีวงศเขาใจวาเปนลูกของ ตน ตงั้ ชื่อวาไพนาสุริยวงศ ขณะเดยี วกันนางเบญกายกม็ ีโอรสเกิดแตหนุมาน ไดชอ่ื วา อสุรผัด เม่ือไพนาสุริยวงศเติบโตขึ้น รูความจริง ไดชักชวนพี่เล้ียงหนีไปกราบทูลทาว จักรวรรดิ เมืองมลิวนั ซงึ่ เปนสหายของทศกณั ฐใ หม าแกแ คน ใหบิดา ทาวจกั รวรรดิยก ทัพมารบ จับตัวทาวทศคีรีวงศได ใหไพนาสุริยวงศครองเมืองพระนามวาทาวทศพิน อสุรผัดเดินทางไปตามหาพญาอนุชิตผูเปนบิดาเพ่ือบอกใหรูวาทาวจักรวรรดิยึดเมือง ลงกาได พญาอนชุ ติ จงึ ลาพรตแลว ไปกราบทลู พระราม พระรามใหพ ระพรต พระสตั รดุ เปนแมทัพยกไปตีเมืองลงกาคืนได และยกไปตีเมืองมลิวันของทาวจักรวรรดิ ศึกทาว จกั รวรรดจิ ะคลา ยคลงึ กบั ศกึ ทศกณั ฐท กุ อยา ง ในทส่ี ดุ ทา วจกั รวรรดกิ พ็ า ยแพ พระราม

32 นามานกุ รมรามเกียรติ์ พิธีอภเิ ษกสมรสระหวางพระรามกบั นางสีดา พระราชทานรางวลั ใหทหารวานรครองเมอื ง วันหน่ึงเม่ือพระรามพระลักษมณเสด็จประพาสปา นางอดูลตองการแกแคนท่ี พระรามฆาทศกัณฐ ไดหลอกใหนางสีดาวาดรูปทศกัณฐใหชม แลวเขาไปสิงในรูปนั้น ทำใหลบรูปไมได เมื่อพระรามพบรูปทศกัณฐในหองบรรทม จึงกร้ิวโกรธสั่งให พระลักษมณประหารนางสีดา พระลักษมณไมอาจสังหารได จึงปลอยนางเขาปาไป แลวฆากวางเอาดวงใจไปถวายพระราม นางสีดาไปอาศัยอยูกับฤษีวาลมีกิ และคลอด โอรสในปา คือ พระมงกุฎ วันหนึ่งพระฤษีคิดวาพระมงกุฎหายไปจึงวาดรูปกุมารขึ้น ใหม เมื่อนางสีดาพาพระมงกุฎกลับมา พระฤษีจะลบรูปท้ิง นางสีดาจึงขอใหพระฤษี ชุบใหเปน คนตามความต้ังใจเดิม แลว เล้ยี งเปนลูก ใหชือ่ วา พระลบ วนั หนงึ่ พระมงกุฎ และพระลบลองฤทธศิ์ รที่พระฤษมี อบให เกดิ เสียงกอ งกัมปนาทไปถงึ อยธุ ยา พระราม ใหพระพรต พระสัตรุด และหนุมาน ยกทัพมาปราบ จับพระมงกุฎไดนำตัวไปถวาย พระราม พระลบตามไปชวยพ่ีชายหลุดพนได พระรามตามไป เม่ือรบกันจึงทราบวา เปนพระโอรส พระรามจึงตามไปขอโทษนางสีดาและเชิญเขาเมือง นางสีดาปฏิเสธ พระรามทำอุบายลวงวาสิ้นพระชนม นางสีดาจึงยอมเสด็จมาปลงพระศพ แตเมื่อ

ศาสตราจารย ดร. รืน่ ฤทัย สัจจพันธุ 33 ทราบความจริงก็กร้ิว หนีลงไปยังเมืองบาดาล พระรามใหเชิญพิเภกมาสอบถามวา จะ แกไขอยางไร พิเภกกราบทูลใหพระรามเดินปาเพื่อสะเดาะเคราะหเปนเวลา ๑ ป ระหวางเดินปาทรงทำศึกกับพญายักษหลายตน เม่ือครบปพระรามเสด็จกลับอยุธยา พระอิศวรชวยไกลเกล่ียใหนางสีดายอมคืนดีกับพระราม แลวทรงจัดการอภิเษกอีก ครงั้ หนึง่ ฝายเมืองไกยเกษ ซ่ึงเปนเมืองของพระอัยกาของพระราม เกิดมีพญายักษชื่อ ทาวคนธรรพนุราชกับโอรสชื่อวิรุณพัทยกทัพมายึดเมือง พระรามสั่งใหพระพรต พระสัตรุด พระมงกุฎและพระลบยกไปทำศึก พระลบฆาวิรุณพัท สวนพระมงกุฎ ฆา ทา วคนธรรพน รุ าช จากนนั้ จงึ ทลู เชญิ ใหท า วไกยเกษกลบั เมอื ง พระพรต พระสตั รดุ พาพระมงกุฎและพระลบมาสงที่เมืองอยุธยา จากนั้นพระพรต พระสัตรุด และ ทา วพญาทงั้ หลายแยกยา ยกลบั เมอื งของตน

34 นามานกุ รมรามเกียรต์ิ

ศาสตราจารย ดร. รนื่ ฤทยั สัจจพนั ธุ 35 ความสำคญั ของรามเกียรต์ใิ นสงั คมไทย บทละครเรื่องรามเกียรติ์เปนวรรณคดีชิ้นเอกของไทย แมจะไดเคาเร่ืองจาก มหากาพยรามายณะของอนิ เดยี และเร่อื งรามายณะของประเทศเพอื่ นบาน แตก วีไทย ก็ไดสรางสรรคเรื่องรามเกียรต์ิขึ้นมาใหมดวยขนบทางวรรณศิลปและวิถีชีวิตไทย รามเกียรต์ิจึงแสดงความเช่ือ คานิยมและอุดมคติของสังคมไทยอันสืบทอดตอเนื่องมา จนถึงปจจุบันดวย ไดแก ความจงรักภักดี ความออนนอมถอมตน การเคารพผูใหญ การยดึ มนั่ ในสจั จะ ความกตญั ู และความกลา หาญ เปน ตน คนไทยรจู กั เรื่องรามเกียรติ์มาต้งั แตสมัยสโุ ขทยั หรอื กอ นหนา นนั้ ดังปรากฏชื่อ ถำ้ พระรามในศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ และพระนามของพอขนุ รามคำแหงมหาราช กษตั ริย สุโขทัย ในสมัยอยุธยากวีไทยรจนารามเกียรต์ิในรูปของวรรณกรรมการแสดง ไดแก บทละครและบทโขน ซ่ึงมีเปนตอนๆ ไมตอเนื่องกันและไมครบถวน ในสมัย รัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ ทรงโปรดเกลาฯ ใหกวีในราชสำนักรวบรวมซอมเสริมบท ละครเรื่องรามเกียรต์ิจนครบสมบูรณ เปนตนฉบับสำหรับเรื่องรามเกียรต์ิที่แตงใน สมัยตอมา รามเกียรต์ิเปนวรรณคดีท่ีแสดงอานุภาพย่ิงใหญของสถาบันกษัตริยตามคติ ความเช่ือวาพระมหากษัตริยคือสมมติเทพผูอวตารลงมาปราบทุกขเข็ญ นอกจาก ความศักด์ิสิทธ์ิของเทวกษัตริยแลว ยังเนนความมีคุณธรรมและเมตตาธรรม ราม เกียรติ์เปนบทละครใน ซ่ึงหมายถึงละครของพระเจาแผนดิน พระมหากษัตริยทรง สรางสรรคและอุปถัมภวรรณคดีเร่ืองนี้อยางตอเนื่องท้ังในรูปของวรรณศิลปและ ศิลปะประเภทอื่น รามเกียรติ์จึงเปนเรื่องสูงสงและศักด์ิสิทธิ์ และเปนเร่ืองท่ีสงเสริม สถาบันกษตั รยิ ใ หม ่ันคง นอกจากน้ี รามเกียรติ์ยังแสดงอุดมคติสูงสุดของสังคม คือธรรมตองชนะ อธรรม อันจะทำใหเกิดสันติสุขแกโลก พระราม พระลักษมณและพลวานรจึงทำ สงครามสังหารยักษรายคร้ังแลวคร้ังเลาเพื่อขจัดความช่ัวรายไปจากโลก การเอาชนะ ศึกแตละครั้งไมใชเรื่องงาย เพราะยักษแตละตนมีฤทธ์ิมาก ฝายพระรามตองทำลาย กลศึกของศัตรูหลายครั้ง บางคร้ังเปนฝายเพล่ียงพล้ำตองหาทางแกไข แมจะสังหาร

36 นามานุกรมรามเกยี รติ์ ทศกัณฐไดแลว พระอนุชาและพระโอรสของพระรามก็ยังตองทำศึกปราบยักษรายอีก หลายคร้ัง แตในทส่ี ุดก็สามารถทำลายเผาพงศย กั ษาไดร าบคาบ แสดงใหเห็นวา ความ ชั่วรายเกิดขึ้นอยูเสมอ คนดีมีพันธกิจในการทำลายลางความชั่วรายเหลานั้นอยูตลอด เวลา ดังนั้น อาจพิจารณาไดวาพระรามเปนสัญลักษณของความดีงามตามอุดมคติ พระรามเปนคนดีสมบูรณแบบ เปนลูกที่ดี พี่ที่ดี สามีท่ีดี พอที่ดี และนายท่ีดี แมจะ ควบคุมอารมณไมไดในบางครั้งก็เปนไปตามลักษณะปุถุชน ในขณะที่ทศกัณฐเปน สัญลักษณของความช่ัว มีกิเลสตัณหา หลงผิด ไมฟงผูทัดทาน สวนหนุมานเปน สัญลักษณของสติปญญาและพลังความสามารถของมนษุ ย เปนตน อทิ ธพิ ลของเรื่องรามเกยี รติใ์ นสงั คมไทย แมวาเรื่องรามเกียรติ์จะไมไดมีความสำคัญตอคนไทยเชนที่มีความสำคัญตอ คนอินเดีย ในดานที่เปนเรื่องราวประวัติศาสตรการสูรบระหวางพวกอารยันกับ พวกทราวิฑ และในดานที่เปนคัมภีรศาสนา เปนบทสวดสรรเสริญพระเกียรติคุณของ พระนารายณท่ีอวตารลงมาเปนพระรามเพื่อปราบอธรรม แตคนไทยก็ใหความสำคัญ แกวรรณคดีเร่ืองน้ีอยางยิ่ง เรื่องรามเกียรต์ิจึงมีอิทธิพลแทรกซึมอยูในวิถีชีวิตและ วฒั นธรรมไทยตลอดมา รามเกียรติ์เปนมรดกทางวัฒนธรรมของสังคมไทย เพราะคนไทยมิไดรูจักเรื่อง รามเกียรติ์จากวรรณคดีเทานั้น หากแตซึมซับเรื่องรามเกียรต์ิดวยศิลปะ ภาษา และ การแสดงในรูปแบบตางๆ อีกดวย รามเกียรต์ิจึง แทรกซมึ อยูในวิถชี วี ิตไทยตลอดมา ในดานนาฏศิลปการแสดง มีการเลนโขน หนังใหญ และหุน ซ่ึงมีทั้งหุนหลวง หุนเล็ก หุน กระบอก (ของอาจารยจักรพันธุ โปษยกฤต) และ หุนละครเล็ก (คณะโจหลุยส) และการแสดงละคร เร่ืองรามเกียรติ์ ดังมีบทวรรณคดีการแสดงหลาย สำนวนในการแสดงละคร เรื่องรามเกียรติ์จะ แสดงเปนละครในเทานั้น ในการแสดงโขนซึ่งถือ เปนนาฏศิลปชั้นสูง จะแสดงเรื่องรามเกียรติ์เพียง

ศาสตราจารย ดร. ร่ืนฤทัย สจั จพันธุ 37 เรื่องเดียวและจะแสดงในโอกาสสำคญั ในดานทัศนศิลป เรื่องรามเกียรต์ิเปนแรงบันดาลใจใหเกิดการสรางสรรค จิตรกรรมและประติมากรรม มีภาพวาด และภาพปนเกี่ยวกับเรื่องรามเกียรติ์ โดย เฉพาะอยางยิ่งภาพจิตรกรรมฝาผนังรอบพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซ่ึง เขียนข้ึนต้ังแตรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก และไดรับการ บรู ณปฏสิ งั ขรณเ มอ่ื ฉลองกรงุ รตั นโกสนิ ทร ๒๐๐ ป โดยสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปนประธานในโครงการบูรณะคร้ังน้ี นอกจากนี้ยังเปน แรงบันดาลใจแกงานสรางสรรคงานประณีตศิลป ไดแก หัวโขน เคร่ืองแตงกาย และ

38 นามานุกรมรามเกียรติ์ งานศลิ ปหัตถกรรมตา งๆ อกี ดว ย ในดานคติชนวิทยา มีนิทานชาวบานท่ีเลาขานมาพรอมกับภูมิศาสตรที่เก่ียว เน่ืองกับเรื่องรามเกียรติ์ในทองถิ่นชนบทของไทยหลายแหงอยางเชน นิทานเรื่องทาว กกขนาก เขาสามยอด ทะเลชุบศร ท่จี งั หวัดลพบรุ ี เขาสรรพยา ทจ่ี งั หวดั ชัยนาท เขา ขาด ทีอ่ ำเภอพระพุทธบาท จังหวดั สระบรุ ี หว ยสคุ รีพ ถำ้ ทรพี และถำ้ พาลี ท่จี งั หวัด ชลบรุ ี ถ้ำพาลียังมที ่จี ังหวัดพทั ลงุ และนครราชสีมาอีกดวย ในดานสำนวนภาษามีสำนวนไทยหลายสำนวนเกิดจากเร่ืองราวในรามเกียรต์ิ อยางเชน เหาะเกินลงกา มาจากเหตุการณตอนหนุมานจะไปเฝานางสีดาที่ลงกา แตไมรูจักทาง จึงเหาะเลยเมืองลงกาไปพบพระนารทฤษี สำนวนนี้หมายความวา ทำเกินคำสงั่ วัดรอยตีน มาจากตอนท่ีทรพีคอยวัดรอยเทาตนกับรอยเทาของทรพาผูเปน พอ เม่ือเห็นวาเทากันแลวก็ไปทาสูแลวฆาทรพาตาย สำนวนนี้หมายความวา ทำตัว เทา เทยี มคนทีใ่ หญก วา ลกู ทรพี มาจากตอนทรพี - ทรพา เชนกัน สำนวนน้ีหมายความวา ลูก อกตัญู ศรศิลปไมกินกัน มาจากตอนท่ี พระรามรบกับพระมงกุฎพระลบ ศรที่ แผลงไปจะไมท ำลายลา งกนั แตจ ะกลาย เปนดอกไมพวงมาลัยฯลฯ เพราะคูตอสู เปนพอลูกกัน แตสำนวนนี้หมายความ วา ไมถกู ชะตากัน ไมล งรอยกัน ในดานวรรณคดี พบวาวรรณคดีทองถ่ินก็มีรามเกียรต์ิสำนวนทองถ่ินใน ภมู ภิ าคตา งๆ ของไทย เชน พระรามชาดก และ พระลกั - พระลาม เปน เรอื่ งรามเกยี รต์ิ ของอีสาน หรมาน และ พรหมจักร เปนรามเกียรต์ิสำนวนลานนา หรือวรรณคดี โบราณของไทยหลายเรื่อง โดยเฉพาะวรรณคดีประเภทนิราศก็มักอางถึงเร่ืองราม เกียรติ์ แสดงใหเห็นวาเร่ืองรามเกียรต์ิ เปนที่รูจักแพรหลายอยางย่ิงในสังคมไทย อยางเชน

ศาสตราจารย ดร. รื่นฤทัย สัจจพนั ธุ 39 สิบหนา อสูรชวยดู พระรามพระลกั ษมณช วักอร (ลลิ ิตโองการแชง นำ้ ) ชยชยอำนาจทา ว คอื ราม รอนราพลว งลงกา แผน แผว ชยชยด่งิ ตดิ ตาม มารมารค นัน้ ฤๅ ชยชำนะไดแกว ครอบครอง ดินขาม พระคุณพระครอบฟา ผานฟา พระเกียรตพิ ระไกรแผน รอนราพ ไสแฮ พระฤทธิพางพระราม หลากสวรรค พระกอ พระเก้ือหลา (ลิลติ ยวนพาย) รามาธริ าชใช พานร โถกนสมุทรอายาม ยานฟา จองถนนเปลง ศลิ ปศร ผลาญราพณ ใครบอาจขวางหนา กา ยกอง (กำสรวลโคลงดน้ั ) ปางบุตรนคเรศไท ทศรถ จากสีดาเดยี วลี ลาศแลว ยังคืนสูเสาวคต ยพุ ราช ฤๅอนุชนอ งแคลว คลาดไกล (ทวาทศมาส) รามเกียรติ์ไดรับการสืบทอดรักษาอยางตอเนื่องในวิถีชีวิตไทยตั้งแตอดีตจน ปจ จบุ นั จึงนบั ไดวาเร่อื งรามเกียรต์เิ ปน วรรณคดเี รอื่ งสำคัญของไทย และมบี ทบาทอยู ในวถิ ีชวี ติ ไทยอยา งย่ิง

40 นามานกุ รมรามเกียรติ์ ในปจจุบันเรื่องรามเกียรติ์ถูกนำมาสรางสรรคในรูปแบบใหม เชน การตูน นิทานภาพ ภาพยนตรการตูน เพ่ือดึงความสนใจของคนรุนใหม และบางครั้งมีการ ตีความเน้อื หาใหมเ พือ่ ใหสอดคลองกับสังคมปจจบุ นั อีกดวย เหตุใดโขนจงึ แสดงเรอื่ งรามเกียรต์เิ ทานน้ั โขนเก่ียวพันกับเร่ืองรามเกียรติ์อยางใกลชิด เพราะโขนเปนนาฏศิลปท่ีแสดง เร่ืองรามเกียรติ์เพียงเรื่องเดียว ความเก่ียวพันระหวางโขนกับรามเกียรติ์นาจะมาจาก เหตุ ๒ ประการ คอื การเชอื่ มโยงกับสถาบันกษัตรยิ  และการสรา งสรรคทางนาฏศลิ ป สาเหตุประการแรกเกิดจากรามเกียรต์ิเปนวรรณคดีแสดงความศักดิ์สิทธิ์และ ความย่ิงใหญของสถาบันกษัตริย รามเกียรต์ิจึงเปนผลงานพระราชนิพนธหรืออยูใน พระราชูปถัมภตลอดมา สวนโขนเปนศิลปะการแสดงของหลวง มีการต้ังกรมโขนมา ตั้งแตสมัยอยุธยา มหาดเล็กหลวงจะถูกนำตัวมาฝกหัดเปนโขนหลวงเพ่ือแสดงใน พระราชพิธี งานสมโภช งานนักขัตฤกษตางๆ เกิดคานิยมวาผูไดรับการคัดเลือกให เลนโขน จะเปนลูกผูดีและมีความเฉลียวฉลาด แตโขนไมไดเปนมหรสพสำหรับ พระมหากษตั ริยแ ละเจา นายช้นั สงู เทาน้ัน ยงั เปนมหรสพสำหรบั ประชาชนทั่วไปดวย สวนความเกี่ยวพันระหวางโขนกับรามเกียรต์ิท่ีมีสาเหตุมาจากการสรางสรรค ทางนาฏศิลป เนื่องมาจากโขนตางจากการแสดงละครท่ัวไป โขนถือเปนนาฏศิลปช้ัน สูงของไทย เพราะแสดงศิลปะของการรำ การเตน การรอง การพากย การเจรจา เพลงและการแสดงดนตรไี ทยไวอ ยา งครบถว น รวมทัง้ แสดงศลิ ปะเชงิ ชา งของไทย ท้งั ในเร่อื งหวั โขนและเคร่ืองแตง กาย ซึ่งมตี ำรากำหนดไวเ ปน แบบแผนชัดเจน เน้ือหาของเร่ืองรามเกียรต์ิซึ่งเนนถึงความเปนเทพของฝายพระรามความโออา สงา งามของกองทพั ยักษและกองทัพวานร และการตอสูก ันอยา งสมศักดศิ์ รี จึงเอ้อื ตอ การแสดงความงดงามของทารำ ความเขม แขง็ และความพรกั พรอมของการเตน ความ วอ งไวของการตอ สู ความอลังการของเครอื่ งแตงกายและฉาก ความไพเราะของดนตรี ความสงางามและเฉียบคมของบทพากยและบทเจรจา การแสดงโขนเร่ืองรามเกียรติ์ จึงทำใหมีการพัฒนาศิลปะตางๆ เหลาน้ี และบูรณาการเขาดวยกันอยางเหมาะสม กลมกลืน การแสดงโขนเร่อื งรามเกยี รต์จิ งึ เปนมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมอันสงู คา ยิ่ง และเปน เอกลักษณแหง ศิลปะการแสดงของไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook