พระราชประวัติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา เจา้ ฟา้ มหาจักรีสริ นิ ธร รัฐสมี าคณุ ากรปิยชาติ สยามบรมราชกมุ ารี
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา เจา้ ฟา้ มหาจักรสี ิรนิ ธร รัฐสีมาคณุ ากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกุมารี ทรงเปน็ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองคท์ ่ี ๓ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัว และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชสมภพเม่อื วันเสาร์ที่ ๒ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๘ ณ พระทีน่ ัง่ อัมพรสถาน พระราชวงั ดสุ ติ ไดร้ บั พระราชทานพระนามว่า สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟา้ สริ ินธรเทพรตั นสดุ า กติ วิ ัฒนาดุลโสภาคย์ ด้วยเหตุท่ีทรงบำ�เพ็ญพระราชกิจจานุกิจนานัปการอันเป็นประโยชน์แก่แผ่นดินและราษฎร พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั จงึ มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม ให้สถาปนาพระราชอิสริยยศ และพระราชอิสรยิ ศักดิ์ เปน็ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา เจา้ ฟ้ามหาจกั รีสริ ินธร รฐั สมี าคุณากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี ในการพระราชพิธีเฉลมิ พระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๐ และจากพระวิรยิ ะ อุตสาหะในการทรงศึกษาหาความรู้และบ�ำ เพญ็ พระราชกิจนานปั การ พระเกียรตคิ ุณ เป็นท่ปี ระจกั ษช์ ดั แจง้ ทง้ั ในราชอาณาจักร และนานาชาติ จงึ ทรงรับพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ แหง่ ราชอาณาจักรไทย และทรงรับการทูลเกลา้ ฯ ถวายเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณต์ ่างประเทศ พระราชพิธีสถาปนาพระราชอสิ ริยศักดิ์ เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์แหง่ ราชอาณาจักรไทย เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ตา่ งประเทศ
การศกึ ษา สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเริม่ ต้นการศึกษาระดับอนบุ าล เม่อื พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๑ ณ โรงเรียนจิตรลดา ในเขตพระราชฐาน พระตำ�หนกั จิตรลดารโหฐาน พระราชวงั ดสุ ิต โดยทรงศึกษา ตอ่ เน่อื งไปจนถึงระดับมัธยมศึกษา ตลอดระยะเวลาทที่ รงศึกษา ทรงเอาพระทยั ใส่ในการเรียน โปรดการอา่ น และ การศึกษาวรรณคดี ทงั้ ของไทยและต่างประเทศ ทรงเร่ิมแต่งคำ�ประพันธ์ต่าง ๆ ทั้งร้อยแก้ว และร้อยกรอง ตงั้ แต่ ยังทรงศกึ ษา ในชน้ั ประถมศกึ ษา โปรดการเขา้ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรยี น ท้งั ด้านกีฬา ดนตรี บนั เทิง และ กจิ กรรมเพ่ือสาธารณประโยชน์ หลังจากทรงสำ�เรจ็ การศึกษา ประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย ในแผนกศิลปะจากโรงเรยี นจิตรลดา เม่อื พุทธศกั ราช ๒๕๑๖ สมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงสอบเข้าศึกษาตอ่ ในระดับ อดุ มศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แม้จะมีพระราช ภารกจิ โดยเสดจ็ พระราชดำ�เนนิ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว และสมเด็จ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ไปเยี่ยมราษฎรในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ แตก่ ็ ทรงมพี ระวิริยะอตุ สาหะ ในการเรยี นอยา่ งยิ่ง และยังทรงร่วม กจิ กรรมของ คณะ และของมหาวทิ ยาลัย เช่นเดยี วกับนสิ ิตทั่วไป ในปกี ารศึกษา ๒๕๑๙ ทรงส�ำ เร็จการศึกษา และทรงเข้ารับพระราชทานปรญิ ญา อกั ษรศาสตร บัณฑติ เกียรตินยิ มอนั ดับหนง่ึ เหรียญทอง สาขาวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ในพทุ ธศักราช ๒๕๒๐ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงสมคั รเขา้ ศึกษา ตอ่ ระดบั มหาบัณฑติ ณ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร และจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย พรอ้ มกันท้ังสองแห่ง ทรงส�ำ เรจ็ การศกึ ษาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาจารึกภาษา ตะวนั ออก จากมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๒๒ หลังจากนัน้ ทรงสำ�เรจ็ การศกึ ษา อักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชา ภาษาบาลี - สนั สกฤต จากจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปีการศกึ ษา ๒๕๒๔ ตอ่ มา ด้วยความสนพระทยั งานด้านการพฒั นา โดยอาศัย หลักวชิ าการศกึ ษา หรอื การเรียนรู้เปน็ แกน จงึ ทรงสมัครเข้าศึกษา ต่อในระดับดษุ ฎีบณั ฑิต ณ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ทรงสำ�เรจ็ การศึกษา และรับพระราชทานปรญิ ญาการศึกษาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขา วชิ าพัฒนศึกษาศาสตร์ ในปีการศกึ ษา ๒๕๒๙
หลักคิดในการใช้การศกึ ษาเป็นปัจจัยหลกั ในการสรา้ ง และพฒั นา ความรู้ ความคดิ ของประชาชน และเปน็ เครอื่ งมอื ในการพฒั นาชมุ ชน และสงั คม ท่ที รงได้รบั จากการศึกษาในระดับดุษฎีบณั ฑิต ผนวกกบั ประสบการณ์ท่ีทรงเรียนรู้จากการโดยเสด็จพระราชดำ�เนินพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั จึงเป็นพืน้ ฐานความรูท้ ี่แข็งแกรง่ ในการทรงงานพฒั นา ของพระองค์เอง ในเวลาต่อมา จวบจนปจั จบุ นั นอกเหนือจากการศกึ ษาในระบบ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังสนพระทัยศึกษาเพ่ิมเตมิ ดูงาน ประชุมสัมมนา และ ฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบัติการ เพอื่ เพ่มิ พนู ทักษะ ความรู้ ในวชิ าการด้านอ่ืน ๆ อกี หลายด้าน เชน่ ภูมศิ าสตร์กายภาพ อทุ กศาสตร์ พฤกษศาสตร์ การจดั การทรัพยากรดินและน�้ำ รโี มตเซนซ่งิ ระบบภมู ิสารสนเทศ แผนที่ โภชนาการ เปน็ ตน้ ดว้ ยมีพระราชประสงค์ท่ีจะนำ�ความรู้ท่ีไดจ้ ากวชิ าการ เหล่าน้ีไปประยกุ ต์ใชใ้ นการทรงงานพัฒนาชมุ ชน และยกระดับชีวติ ความเปน็ อยู่ของราษฎร การรับราชการ หลังจากทรงสำ�เร็จการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาแล้ว ในพุทธศกั ราช ๒๕๒๓ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเขา้ รับราชการเป็นอาจารยก์ องวชิ ากฎหมายและสงั คมศาสตร์ สว่ นการศกึ ษา โรงเรยี น นายร้อยพระจลุ จอมเกล้า ทรงสอนวชิ าประวัตศิ าสตรไ์ ทยและสงั คมวิทยา ตอ่ มาในพุทธศกั ราช ๒๕๓๐ ไดม้ ี การตั้งกองวชิ าประวตั ิศาสตรข์ ึน้ ใหม่ โดยสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พระยศ พันเอก ทรงดำ�รงต�ำ แหนง่ หวั หน้ากอง (ซงึ่ ต่อมาได้มีการขยายต�ำ แหนง่ เป็นผอู้ �ำ นวยการกองในพทุ ธศักราช ๒๕๓๒ พรอ้ ม กับกองอ่ืน ๆ) ทรงเป็นผอู้ �ำ นวยการกองวชิ าประวัตศิ าสตร์พระองคแ์ รกจนถงึ ปัจจุบัน มีพระราชภารกิจ ทงั้ การ บริหาร การสอน และงานวิชาการอน่ื ๆ ตอ่ มา ทรงได้รับพระราชทานพระยศ พลเอก ในพทุ ธศักราช ๒๕๓๙ และทรงไดร้ บั โปรดเกลา้ ฯ แต่งตัง้ เปน็ ศาสตราจารย์ (อัตราจอมพล) ในพทุ ธศักราช ๒๕๔๓ นอกจากนี้ ยังได้ทรง รบั เชญิ เป็นอาจารยพ์ ิเศษบรรยายวิชาการ ณ สถาบนั การศึกษาต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
พระยศและพระตำ�แหน่งทางราชการ พระราชกิจ นอกเหนือจากพระราชภารกิจในหนา้ ที่ราชการ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณยี กจิ ด้านตา่ ง ๆ ครอบคลมุ งานสำ�คัญ ๆ อันเป็นประโยชน์หลักของบ้านเมือง เกอื บทุก ดา้ น และทรงได้รบั ความไว้วางพระราชหฤทยั ให้ทรงปฏบิ ตั ิ พระราชกรณยี กจิ ทท่ี รงสืบสาน ตอ่ จากพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินนี าถ ตามท่ีทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ มอบหมาย โดยเฉพาะการทรงงาน ด้านการบริหารองคก์ าร และมลู นิธิ เพื่อสาธารณกศุ ล ทรงด�ำ รงตำ�แหนง่ ประธานกรรมการ มูลนิธิชัยพฒั นา ประธานมลู นธิ ริ างวัลสมเด็จเจา้ ฟ้ามหดิ ล อุปนายิกาผู้อ�ำ นวยการสภากาชาดไทย รวมท้ังการเสดจ็ พระราชดำ�เนินแทนพระองค์ และการปฏิบัตพิ ระราชกรณียกจิ แทนพระองค์ ในโอกาสตา่ ง ๆ เชน่ การพระราชทาน พระราชวโรกาสให้คณะบุคคลต่าง ๆ เฝ้า ฯ การพระราชทานปริญญาบัตร การ ถวายผ้าพระกฐิน เป็นตน้ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารที รงจัดต้งั โครงการ ต่าง ๆ เพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนผ้ยู ากไรใ้ นชนบท โดยเฉพาะ การสง่ เสริมสุขภาพอนามัย และแก้ไขปัญหาภาวะทพุ โภชนาการ ทรงเห็นวา่ เด็กจะเรียนหนังสือไม่ได้ ถ้าทอ้ งหิว หรอื เจ็บป่วย จงึ ทรงริเร่มิ โครงการเกษตร เพ่ืออาหารกลางวัน ในโรงเรยี นตำ�รวจตระเวนชายแดน ตั้งแต่พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๓ ทรงเห็นความสำ�คัญของการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน จงึ พระราชทานพระราชทรพั ย์ ใหก้ ่อสรา้ งโรงเรยี นในถนิ่ ทุรกนั ดาร ศูนย์การเรยี นชมุ ชนส�ำ หรบั ชาวไทยภูเขา หอ้ งเรยี นเคล่อื นทท่ี ั้งพระราชทานพระราชทรพั ย์ เปน็ ค่าตอบแทนครูผ้สู อน และทรงจัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอนพระราชทานเพื่อให้เยาวชนมีโอกาส ได้รับการศกึ ษาท่เี หมาะสม จะได้มคี วามสามารถในการพ่ึงตนเอง และเป็นท่พี ึ่ง ของครอบครวั ไดใ้ นอนาคต ทรงตดิ ตามการดำ�เนินงาน โครงการตามพระราชด�ำ ริ อยา่ งใกล้ชดิ และเสดจ็ พระราชดำ�เนินเย่ยี มราษฎรในโครงการ ดว้ ยพระองคเ์ องเสมอ จากการท่ีมปี ระชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ได้ทูลเกลา้ ฯ ถวายเงินเพอ่ื โดยเสดจ็ พระราชกศุ ล หรอื สมทบ ทนุ ด�ำ เนนิ งานโครงการพัฒนาต่าง ๆ จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้น�ำ เงินทีม่ ีผู้ทูลเกล้า ฯ ถวายดังกลา่ ว มาจัดตง้ั เปน็ กองทุน ทุนการกุศลสมเดจ็ พระเทพ ฯ เพ่ือให้การสงเคราะหช์ ว่ ยเหลอื ประชาชนผทู้ ุกขย์ ากเดือดร้อน หรอื เพ่ือการสาธารณประโยชนอ์ นื่ ๆ
นอกเหนอื จากงานพัฒนา สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี สนพระทยั งานศลิ ป วัฒนธรรมไทยเป็นอยา่ งยงิ่ มพี ระราชดำ�ริว่า ควรจะมกี ารถา่ ยทอดงานดา้ นวัฒนธรรมไปสเู่ ดก็ และเยาวชนรุ่น ใหม่ ผา่ นกระบวนการจดั การศึกษาอบรม ท้งั การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย เพื่อให้คนรุน่ ใหม่เหลา่ นไี้ ดเ้ รยี นรู้ ตระหนักความส�ำ คัญ รกั และผกู พันในศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ สามารถสืบทอด เพ่อื การอนุรกั ษ์และอาจพัฒนาเปน็ อาชีพได้ ทรงสนบั สนนุ การด�ำ เนินกิจกรรมเพื่ออนรุ ักษ์และสบื ทอดมรดกทาง ศลิ ปวฒั นธรรมของไทย พระอุตสาหะในการปฏบิ ตั ิกิจการอันเป็นประโยชนแ์ กบ่ ้านเมืองและประชาชน เป็นที่ ประจกั ษแ์ กพ่ สกนิกรท่ัวหนา้ จึงทรงได้รับการทูลเกลา้ ฯ ถวายรางวลั เกยี รตยิ ศ พระเกียรติคุณ ต�ำ แหนง่ เกยี รติยศ และปรญิ ญากติ ติมศักดิ์ จากสถาบัน หน่วยงานและองค์กร ทงั้ ในราชอาณาจักรและตา่ งประเทศจ�ำ นวนมาก พระราชจริยาวตั รท่ีประชาชนทั่วไปได้เห็นประจักษ์ คือ พระเมตตาและความเอาพระทัยใส่ในชวี ติ ความ เป็นอยขู่ องประชาชน สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระราชปณธิ านทีจ่ ะชว่ ยเหลือผูท้ ี่ ทกุ ขย์ าก เดือดร้อนโดยไมเ่ ลือกชนั้ วรรณะ เผ่าพันธุ์ เชือ้ ชาติ ศาสนา พสกนิกรตา่ งยกย่อง และชืน่ ชมในพระบารมี ดงั น้นั เพื่อเปน็ การเทิดพระเกียรตทิ ท่ี รงมีคณุ ูปการต่อชาตบิ ้านเมืองในดา้ นตา่ ง ๆ มาโดยตลอด จึงมีบุคคล หนว่ ยงาน สมาคม และองค์กรต่าง ๆ ท้งั ในราชอาณาจักรและในตา่ งประเทศ ขอพระราชทานอัญเชญิ พระนามาภไิ ธย และขอพระราชทานนาม ไปเปน็ ชื่อพรรณพืช และสัตว์ทีค่ น้ พบใหม่ในโลก รวมทงั้ สถานท่ี และ สิ่งตา่ ง ๆ เปน็ จำ�นวนมาก เพ่อื เป็นการเฉลมิ พระเกยี รตแิ ละเปน็ สริ มิ งคลสบื ไป นอกจากน้ี ยงั ได้ทรงพระกรุณารับ สมาคม สถาบัน และองค์กรต่าง ๆ ท่ีจดั ต้งั ขน้ึ ตามแนวพระราชดำ�ริ หรอื ทีม่ ีวตั ถปุ ระสงคด์ ำ�เนนิ การในเร่ืองต่าง ๆ ทีท่ รงใหก้ ารสนบั สนนุ ซ่งึ ลว้ นเปน็ ไปเพ่อื ช่วยเหลอื ผ้ดู อ้ ยโอกาส ผขู้ าดแคลน หรือเพอ่ื การสาธารณประโยชน์ ไวใ้ นพระราชปู ถมั ภ์ รางวลั เกยี รตยิ ศและพระเกียรติคุณ ตำ�แหน่งเกียรตยิ ศ ปรญิ ญากติ ติมศกั ดจ์ิ ากสถาบนั ในประเทศไทย พทุ ธศักราช ๒๕๒๐ - ๒๕๔๐ ปริญญากติ ตมิ ศักด์จิ ากสถาบนั ในประเทศไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๑ - ปัจจบุ นั ปรญิ ญากิตตมิ ศักดจ์ิ ากสถาบันตา่ งประเทศ พระนามาภไิ ธยและนามพระราชทานพรรณพชื และสัตว์ พระนามาภิไธยและนามพระราชทานสถานท่แี ละสงิ่ ต่าง ๆ สมาคม สถาบัน และองค์กรในพระราชูปถัมภ์
งานอดิเรก ยามทที่ รงวา่ งจากพระราชกิจ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพกั ผ่อนพระอิรยิ าบถ โดยทรงมี งานอดเิ รกท่ีสนพระทยั หลายประเภท เช่น ดนตรี งานศลิ ป์ กฬี า งานสะสม การทัศนศึกษา การอา่ น และสะสมหนังสอื ทรงมีหอสมุดสว่ นพระองค์ทจี่ ัดเกบ็ หนงั สือหลากหลายประเภท ทัง้ ทท่ี รงเลอื กซื้อด้วยพระองค์ เองและทีม่ ผี ทู้ ูลเกลา้ ฯ ถวาย และดังเช่นเปน็ ที่ทราบกันทวั่ ไปวา่ ทรงมพี ระอจั ฉริยภาพในการเรียงร้อยอกั ษร จงึ ทรงพระราชนพิ นธร์ อ้ ยแก้วและร้อยกรองไว้เป็นจำ�นวนมาก มที ง้ั ประเภทบทความ เรอื่ งสนั้ ความเรยี ง คำ�น�ำ บทกวี บทเพลง เรือ่ งแปล และสารคดี เปน็ ต้น รวมท้ังพระราชนิพนธช์ ุดเสดจ็ พระราชดำ�เนินเยือนต่างประเทศ ซ่งึ เปรยี บเสมือน “บนั ทกึ การเดนิ ทาง” ที่ใหท้ ้งั ความรแู้ ละ ความเพลิดเพลนิ แก่ผู้อ่าน ในปจั จบุ ัน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยาม บรมราชกุมารี ยังสนพระทัยศึกษาและฝึกฝนเรียนรู้ทักษะ ภาษาและวิชาการต่าง ๆ อยมู่ ไิ ดข้ าด เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมนั ภาษาจนี เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดาราศาสตร์ เทคโนโลยีชวี ภาพ เปน็ ตน้ พระปรีชาสามารถดา้ นภาษา เปน็ ทีป่ ระจกั ษ์โดยทัว่ หนา้ นอกจากนี้ ยังสนพระทัยเข้าร่วมการประชุม แลกเปล่ียนขอ้ คิดเห็น ทรงศึกษาดงู าน และทรงพบปะสนทนากบั ปราชญ์ด้านต่าง ๆ อยเู่ ป็นประจ�ำ เพอ่ื ทรงรบั ความรใู้ หม่ ๆ และทันสมยั อยู่เสมอ พระราชกรณียกิจของพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี นน้ั เป็นประโยชนแ์ ก่ประเทศชาตทิ ัง้ สนิ้ ดูประหนึ่งว่าสตรีธรรมดาผใู้ ดก็มอิ าจจะรบั ภาระนีไ้ วไ้ ด้ แต่พระองคก์ ็ทรงรบั ไว้ด้วยความเตม็ พระทัย ด้วยเมตตา อันบริสุทธท์ิ ีท่ รงมตี ่อประชาชนชาวไทย และพระคุณธรรมอนั ล้�ำ เลศิ ของพระองค์ ทรงมีพระราชประสงค์ ที่จะส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้มีสุขภาพดีมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนลักษณะงานพัฒนาของ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อาจจำ�แนกได้เปน็ ๖ ดา้ น ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาตามพระราชด�ำ ริ ดา้ นสขุ ภาพอนามยั 2. โครงการพัฒนาตามพระราชดำ�ริ ด้านการศึกษา 3. โครงการพฒั นาตามพระราชด�ำ ริ ดา้ นอาชีพ 4. โครงการพัฒนาตามพระราชด�ำ ริ ด้านสิง่ แวดล้อม 5. โครงการพฒั นาตามพระราชดำ�ริดา้ นพัฒนาพน้ื ทีแ่ บบบรู ณาการ 6. โครงการพัฒนาตามพระราชด�ำ ริ ดา้ นด้านความรว่ มมอื กับต่างประเทศ
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: