Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2021-08-14-บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาจิตใจ

2021-08-14-บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาจิตใจ

Published by กิตติศักดิ์ ณ สงขลา, 2021-09-04 13:59:59

Description: 2021-08-14-บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาจิตใจ

Keywords: การพัฒนาจิตใจ,บทบาทพระสงฆ์

Search

Read the Text Version

บทบาทพระสงฆก ับการพัฒนาจิตใจ (การแกปญหาสังคมและเยาวชนไทย) โดย กติ ติศกั ด์ิ ณ สงขลา

สภาพปญ หาของสงั คมไทย ปจจบุ ันเศรษฐกจิ ไทย เทคโนโลยี มกี ารพัฒนา มีความกาวหนา ไปอยางรวดเร็ว \"เศรษฐกิจกา วหนา สงั คมมีปญ หา การพัฒนาไมยั่งยนื \" ย่ิงพฒั นาดานเศรษฐกิจใหกา วหนา มากเทา ใด และความเจริญดานวตั ถุมีมากเทา ใดสภาพดา นจติ ใจ กลบั เสอ่ื มลง จิตใจคนสับสน วา เหว คนขาดท่พี ง่ึ ทางใจครอบครวั ทเ่ี คยเขม แขง็ กลับออนแอ แตกแยก ชมุ ชน หมบู าน ทเ่ี คย เขม แข็งก็ตกอยูในสภาพเดียวกัน







ประเดน็ ปญหาสงั คมทส่ี ําคัญสรปุ สัน้ ๆ ดังนี้ ๑. ประเทศไทยมคี วามเจริญกาวหนาอยา งรวดเรว็ ทางดา นวัตถุ แตเกดิ ความเสอ่ื มทางดา นจิตใจ คานิยมและสังคมคนไทย ประพฤติปฏบิ ตั ิทแี่ สดงถงึ ความเสื่อมทางจติ ใจอยา งเหน็ ไดชดั เจนหลายประการ เชน นยิ มวตั ถุ นิยมความหรูหราฟุม เฟอ ย ยกยองคน รวย โดยไมคาํ นงึ ถึงวาจะรํ่ารวยมาไดโดยวิธใี ด เกิดการแขง ขนั เอารัดเอาเปรยี บ ไมค ํานึงถงึ คณุ ธรรม จริยธรรม การเบยี ดเบยี น เอารดั เอาเปรียบนนี้ อกจากจะเบยี ดเบียนกันเองแลว ยังเบยี ดเบียนรุกรานธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมอกี ดว ย ท่ีดิน ปา ไม แมนาํ้ สภาพธรรมชาติ ถกู รกุ ราน ยึดครอง ถกู ทําลาย สภาพนาํ้ เนา เสยี สภาพคนจนอยใู น สลัมทา มกลางตึกสูงอันหรูหราใหญโต สภาพความ ยากจนแรนแคน ของคนในชนบท และสภาพเสื่อมโทรมทางสังคม อนั เกิดจากความเส่อื มทางจติ ใจมมี ากยงิ่ ขนึ้ จะเหน็ ไดจากปญ หายา เสพตดิ โสเภณี โรคเอดสแ ละปญหาอื่น ๆรวมถึงการละเลยดา นศาสนา และประเพณเี ปนตน

ประเด็นปญ หาสังคมทีส่ ําคญั สรุปสน้ั ๆ ดงั นี้ ๒. ปญหาอ่นื ๆ ทสี่ บื เน่อื งจากความเส่ือมทางดา นจิตใจและคา นิยม คือ ๒.๑ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอ มเสอ่ื มโทรมลงอยางมากและอยางรวดเรว็ ๒.๒ ความเหล่ือมล้ําระหวางคนรวยและคนจนมีมากยง่ิ ขน้ึ คนรวยมีเพียงจํานวนเล็กนอย แตเ ปนเจา ของทรัพยส มบตั มิ ากมาย ทําใหค น จนสว นใหญทจี่ นอยูแลวกลับยิ่งยากจนลงไปกวา เดมิ อีก ๒.๓ ความเจรญิ กระจุกอยแู ตใ นเมืองไมไ ดกระจายออกไป ทาํ ใหค นชนบทอพยพเขาสูเมืองเกดิ ปญหาตามมาทัง้ ในชนบทและในเมือง ๒.๔ ระบบราชการขาดประสิทธิภาพ เพราะปรบั สภาพไมท นั กบั ปญหาสังคมทซ่ี บั ซอนในเมืองหลวงและในชนบท ๒.๕ คนไทยสวนใหญพ ้ืนฐานการศึกษายังนอย ปรับตวั ไมท นั เทคโนโลยีใหม ๆ ที่เขามาสูประเทศไทยโดยเฉพาะเรอื่ งขอ มลู ขาวสาร และ เทคโนโลยที างดานคอมพิวเตอรเ ปนตน

ประเดน็ ปญ หาสงั คมท่ีสาํ คัญสรุปสนั้ ๆ ดังน้ี ๓. วิกฤตการณท างการเมอื ง หมายถงึ ระบบการเมืองของ ไทยอนั เปน แบบแผนของสังคมในการปกครองประเทศ และดแู ล ทุกขส ุขของประชาชนใหเ กิดความรมเยน็ เปน สขุ ขณะน้กี ารเมอื งไทยมปี ญ หาถงึ ๘ ประการ คอื ๓.๑ ใชเ งินเปนใหญ ๓.๒ มกี ารผกู ขาดการเมืองโดยคนจํานวนนอย ๓.๓ คนดีมีความสามารถเขาไปสกู ารเมืองไดย าก ๓.๔ การทุจริตประพฤตมิ ิชอบมอี ยูใ นทกุ ระดับ ๓.๕ การเผดจ็ การโดยระบอบรัฐสภา ๓.๖ การตอสูข ัดแยงเรอ้ื รังและความไรเ สถยี รภาพทางการเมือง ๓.๗ การขาดประสทิ ธภิ าพทางการบรหิ ารและนติ บิ ัญญัติ ๓.๘ การขาดสภาวะผูนําทางการเมือง

ประเดน็ ปญหาสังคมท่ีสําคัญสรปุ สัน้ ๆ ดังนี้ ๔. วิกฤตการณใ นระบบราชการ หมายถงึ ระบบราชการอนั เปนเครอื่ งมอื ปญ หาสังคมไทยกลับกลายเปนปญ หาเสยี เอง เชน ปญ หาความเสื่อมศกั ด์ศิ รขี องระบบราชการ ทาํ ใหคนดีคนเกงหนีระบบราชการ ปญ หาคอรัปช่นั ในวงราชการปญ หาคุณธรรม เปน ตน ๕. วิกฤตการณของการศึกษา หมายถึง การศกึ ษาของไทยอัน เปนเครอื่ งมอื ในการแกป ญ หาของสงั คมไทยกลายเปนตัวปญหา เสยี เอง เชนการเรยี นแบบทองจําเน้อื หาไมท นั ตอ ความรทู ่ีเปล่ียนแปลงรวดเร็ว ปญ หาการแกงแยง แขงขัน ปญหาระบบการศึกษา การ บริหาร การกระจายโอกาสการศึกษา รวมถึงการศกึ ษาของสงฆก็มปี ญหาดว ยประมวลสรุป

สภาพปญหาของเยาวชนไทย

สภาพปญหาของเยาวชนไทย ถา มองถึงปญ หาของเยาวชนไทยจะตอ งยอมรับเสยี กอ นวาเยาวชนไทยสว นใหญเปนคนดี เปนพลเมอื งดขี องชาติ แตผใู หญ คาดหวังจะใหเ ขาเปน คนดียงิ่ ขึ้นไปอีกและมีเยาวชนอกี จํานวนหน่งึ มีปญ หา ซึง่ คาํ วาจาํ นวนหนงึ่ น้เี มอ่ื เทยี บกบั เยาวชนทั้งประเทศ เยาวชนทมี่ ปี ญหากน็ ับจํานวนเปนลา นทเี ดยี ว จากลกั ษณะของเยาวชนไทยท่มี จี าํ นวนมากเชน น้ี หากจะทาํ ความเขา ใจและใหความสนใจเยาวชน กค็ วรเขา ใจวาเยาวชน แยกเปนกลุมใหญ ๆ ซง่ึ แบง แยกตามลกั ษณะสังคมอยแู ลว คอื ๑. กลุมเยาวชนทีอ่ ยใู นสถานศกึ ษา ๒. กลุม เยาวชนที่อยใู นชุมชน ๓. กลุม เยาวชนทอ่ี ยูในสถานประกอบการ ๔. เยาวชนในวัด

๑. กลุมเยาวชนท่ีอยใู นสถานศกึ ษา โรงเรียนเร่มิ กลมุ เยาวชนทอี่ ยูในสถาน ต้งั แตนักเรยี นชั้นมัธยมเรื่อยไปจนถงึ ระดบั มหาวทิ ยาลยั เยาวชนกลมุ นสี้ วนใหญเปน คนดี ใฝ ศึกษา ศึกษาหาความรู มคี วามรู สนใจสิง่ ทอ่ี ยรู อบตวั และ สนใจเรื่องราวทั้งท่ีอยใู กลต ัว ไกลตวั รวมไปถงึ เรื่องราวตา ง ๆ ทเ่ี กิดขึ้นทว่ั โลก เปนกลุมทม่ี กี จิ กรร รมและความสนใจหลากหลาย

๒. กลุม เยาวชนท่อี ยใู นชมุ ชน ในหมบู า นหน่ึงหรือชมุ ชนหนงึ่ จะมี กลมุ เยาวชนท่อี ยูในชมุ ชน เยาวชนอยจู ํานวนไมน อ ยทเี ดียว เยาวชนเหลาน้ีจะมลี กั ษณะที่ หลากหลายปะปนกัน เยาวชนจํานวนหนง่ึ ออกไปทาํ งานนอกบานแลว กลบั มาตอนเยน็ บางกลุมทาํ งานชวยพอ แมอ ยบู า น บางกลมุ อยูบา น เฉย ๆ บางกลุมกเ็ ขามาอยใู นชมุ ชนอยางแอบแฝง ดังนั้นเยาวชนกลมุ น้ี จึงมลี ักษณะหลากหลาย มีตั้งแตเ ยาวชนผูน าํ รวมกลุมทํากจิ กรรมใหแ ก สงั คมอยางเขมแข็ง เปน กาํ ลงั สําคญั ของหมูบ า นรองจากผใู หญรวมไป ถงึ พวกอยูเฉย ๆ กินเหลาเมายา ลักเล็กขโมยนอ ย รวมไปถงึ ติดยา เสพติด และเร่ืองอ่นื ๆ ดวย

๓. เยาวชนกลุม นี้เขา ไปรับจางขายแรงงาน แตส ว นใหญจะเปน กลมุ เยาวชนที่อยใู นสถาน เยาวชนวยั กําลงั หนุมสาว อายุระหวา ง ๑๘ ป ไปจนถึง ๒๕ ป ซง่ึ ถือวาเปน เยาวชนเตม็ ตัว คนวยั หนมุ สาวน้จี ะไปทํางานรวมตวั กนั อยตู ามเมอื งใหญ ๆ ประกอบการ หรอื เมืองอตุ สาหกรรม ตองจากบา นทค่ี นุ เคยกับชีวิตชนบท แบบชาวไร ชาวนามาใชชีวติ แบบอุตสาหกรรม ตอ งทํางานตรงตามเวลาเขาทาํ งาน เวลาเลิกงาน ไดค าจางทีไ่ มมากทํางานหนกั ตองทาํ งานนอกเวลาเพม่ิ เพือ่ ใหไดเงนิ มากขึน้ อาหารการกินจํากัด ทอี่ ยคู ับแคบ เวลาพกั ผอนนอย วา งเพียงวนั อาทติ ยว ันเดยี ว จะรบี ออกไปเที่ยวพกั ผอนตามศนู ยก ารคา หรอื สวนสาธารณะ มีปญ หาทางจติ ใจ ปญหาทางเพศ จับคอู ยกู นั แบบผัวเมยี เรว็ มลี กู เกดิ ปญ หา เกิดการแตกแยก รวมถงึ เร่อื งปญ หายาเสพตดิ เปน ตน

๔. กลุมนม้ี ีทง้ั สามเณร รวมไปถงึ เดก็ วัดและคนอาศยั วดั อยู เยาวชนในวดั สว นใหญมาจากครอบครวั ทม่ี ฐี านะยากจน บวชเณรเพ่ือหนี ความยากจนและเบอ่ื เรยี นหนังสือ สวนใหญเ ปนเยาวชนผูใฝด ี แตข าดแคลนทกุ อยา ง มคี วามเหงาวา เหวทางใจ โดยเฉพาะเดก็ วดั การขาดหรอื ความไมเทาเทยี มคนอ่ืนทาํ ใหขาด ความมัน่ ใจ หรือมิฉะนัน้ ก็จะหนั ไปในทางท่ีผิด

ปญหาเยาวชนแยกไดเ ปน ๒ ลักษณะ คอื ๑. ปญ หารวม หมายถงึ ปญหาทมี่ อี ยแู ลว สังคมสรา งปญ หา ผใู หญส รา งปญหาเยาวชนอยใู นสงั คมก็ไดรบั ปญ หานั้น ซ่ึงจะโทษ เยาวชนคงไมไ ด ปญหารว มทีส่ ําคญั จะยกตัวอยางใหเหน็ ๒. ปญ หาเฉพาะของเยาวชน ปญ หาเฉพาะดังกลา วน้กี อใหเ กิดปญหาอน่ื ๆ แกเ ยาวชนอีกมาก ลกั ษณะของปญ หาเกดิ จาก ลกั ษณะเฉพาะของความเปน เยาวชนน่นั เอง ซ่งึ กลาวแตเ พียงประเดน็ สําคัญพอเปน แนวพิจารณา

ตัวอยางปญหาโดยรวมของเยาวชน ๑.๑ ปญ หาเรือ่ งบุหร่ี เหลา การพนนั การกนิ เหลา สบู บุหรี่ เลน การพนนั เปนสิ่งที่ผูใหญสรางขึน้ มาทําขน้ึ มา และผใู หญก ป็ ฏบิ ตั กิ นั อยู แลว เยาวชนเหน็ ตวั อยางกก็ นิ สบู และเสพเหมือนผูใหญ ๑.๒ ปญหาแหลงบันเทิง ผับ บาร ดสิ โกเธค สถานอาบ อบ นวด ซอ ง สงิ่ เหลา นีม้ ที ั่วไปในสงั คมไทย แมบ างอยา งกฎหมายกําหนดไวใน ทางปฏบิ ตั กิ ็มีการปลอ ยใหเยาวชนเขา เสพไดอ ยา งเสรี ๑.๓ ปญหาเรอื่ งภาพยนตโป หนังสือโป หรอื เรอ่ื งโปเ ปลือยรา งกาย เรือ่ งทางเพศดังกลา ว เยาวชนเขา ถงึ ไดโดยไมมขี อ จาํ กัด เชนเดียวกับ ผูใหญ ๑.๔ ปญหายาเสพตดิ ยาบา ยาอี เฮโรอีน และอ่นื ๆ สงิ่ เสพตดิ ดังกลาวมอี ยูแ ลวในสงั คมและผูใ หญก เ็ สพอยูแลว เยาวชนกท็ ําไดเชนกัน ๑.๕ ปญ หาการเอารัดเอาเปรียบ การโกงกนิ คอรัปชัน่ ของนกั การเมือง พอ คา ขา ราชการ รวมไปถงึ เรอื่ งการฝา ฝนกฎหมาย ระเบยี บสงั คม สง่ิ เหลานีป้ รากฏอยทู ัว่ ไป เยาวชนยอ มทาํ ตามและสรางปญ หาเชนเดยี วกบั ผูใหญ

ตวั อยางปญ หาเฉพาะของเยาวชน ๒.๑ ปญ หาเฉพาะของเยาวชนอันเกดิ จากความอยากรู อยากเห็น อยากทดลอง ปญ หาอยากตาง ๆ ที่กลาวน้เี ปนตนเหตุของปญ หาอื่น ๆ เชน อยากทดลองเหลา บหุ ร่ี ยาเสพติด ทดลองเปนคูนอนกนั ทดลองขับรถแขง กนั ยังมีการอยากทดลองขบั แขงรถ ยังมกี ารอยากการทดลองอยา งอ่นื อกี มาก ลวนใหเ กิดปญหาตามมาทัง้ สนิ้ ๒.๒ ปญหาตามเพือ่ นหรอื ปญ หาติดกลมุ ชวงวยั รุน เปนชว งทท่ี ําตามเพอ่ื นเปนใหญจ ึงเกดิ ปญ หาอืน่ ตามมา เชน เพื่อนเขา บารก ็เขาดว ย เพอ่ื นใส กระโปรงสั้นก็ใสด ว ย เพอื่ นรองเพลงฝรง่ั ก็รอ งดวยเพ่อื นกินไกเ คน ตักก้ี กินพิซา ก็ทําตามดวย ยิง่ ไปกวานน้ั เพือ่ น ๆ ไมเ ขาวดั กไ็ มเ ขาดวย ๒.๓ ปญ หาความวา เหว ความเหงา ซึ่งเปน ลกั ษณะเฉพาะของวัยรุน เหงาเพราะขาดเพือ่ นไมได มอี ะไรไมเทาเพอ่ื น ทาํ ใหไ มพอใจในฐานะตวั เอง เกลยี ดพอแมพาลหนอี อกจากบานไปเขากลุมเพ่อื น เหงาหรอื วาเหวเพราะไมม ่นั ใจในตัวเองกอ็ อกแสวงหาความม่นั ใจทง้ั ในทางท่ีถูกและทางที่ผิด ใครหามก็ ไมฟงทําใหเกิดปญหาอ่นื ตามมาอกี มากมาย ๒.๔ ปญ หาการขาดการอบรมกลอมเกลาขาดความใกลชิดสนิทสนม ทัง้ จากครอบครัวท้ังจากสังคมแวดลอม จากสงั คม เชน สนามกฬี าที่ออกกําลัง กายไมมี ท่ีพกั ผอ นหยอนใจไมมี ท่จี ัดกจิ กรรมตา ง ๆ ตามความสนใจไมมี โดยเฉพาะเมอื งใหญ ๆไมมสี งิ่ เหลาน้ี

สภาพปญหาของเยาวชนไทย

จดุ แขง็ ของเยาวชนไทย ๑.๑ เปน คนมีเหตุผล ความมีเหตผุ ลนจ้ี ะทาํ ใหพ ฤตกิ รรมกลา ถาม กลา ตอบ กลาโตเถียง ซึง่ ผใู หญจะมองวา หัวแขง็ ไมมี สัมมาคารวะ แต ลักษณะมีเหตมุ ีผลนี้เปน คุณสมบัติที่เหมาะกบั โลก ปจจุบัน อนั เปน ยคุ โฆษณา ๑.๒ เปนตวั ของตัวเอง ความเปน ตวั ของตวั เองคืออยากทาํ อะไรกท็ ําท่ตี วั เองเหน็ วาดีถกู ตอ ง เชน การยืน การพูด ถกเถยี ง การแตง ตวั แมแ ตการเขา ไปในวดั คุยกบั พระ หากผใู หญไมเ ขา ใจความเปนตัวของวยั รุนก็จะตําหนิหรือหาวา ไมม มี ารยาท ไมม ี สัมมาคารวะ ๑.๓ ความกลา ความสนใจกวางกวา การกาวทนั วิทยาการใหม ๆ วัยรนุ เปน คนรุน ใหมจ ะกลา มากกวา เดิม กลา เรียน กลา ทํางาน กลา เปน นักรอง กลาเปนนางแบบ รเู ร่ืองคอมพวิ เตอร อนิ เตอรเนท รคู วามเคล่อื นไหว ความเปน ไปตา ง ๆ ของสังคม และ โลก ทง้ั ทใ่ี กลและไกลตวั

จดุ ออ นของเยาวชนไทย ๑. ความออ นแอในเชิงวัฒนธรรมและวถิ ีชวี ติ แบบไทยอนั เน่ืองมาจากชวี ติ ครอบครัว ลกั ษณะสงั คมไทยเปล่ยี นไปมาก พอ แมไ มม เี วลาสงั่ สอนอบรมลูกนอยลง เยาวชนเขา เรยี นหนงั สือในชวี ติ อยใู นโรงเรียนตัง้ แตวยั เยาว โรงเรียนไมส ามารถอบรม กลอ มเกลาเยาวชนในดานวัฒนธรรมและวถิ ีชีวติ ไดเทาเทยี มกับพอแมแ ละชุมชน หรอื จะกลาวงา ย ๆ คอื วัด บาน โรงเรยี น แยก สว นกันไมเปนสังคมทก่ี ลมกลนื กัน การหลอ หลอม อบรม สบื ทอดวัฒนธรรมและวถิ ีชวี ติ แบบไทยกอ็ อนดอ ยไป ยิ่งเยาวชนทอ่ี ยูใน วยั ทาํ งานตอ งจากครอบครวั ไปอยูตางถน่ิ อยใู นสังคมโรงเรยี น ย่ิงเกิดการแตกแยก ทั้งทางดา นจิตใจและการดาํ เนินชีวิต ความ ออ นแอในทางวฒั นธรรมทําใหข าดจุดยนื ขาดความมนั่ ใจ ขาดการใครค รวญและรับหรือไมร บั สิ่งตา ง ๆ ทีเ่ ขามากระทบไดงาย เกิด ความสบั สนในการดาํ เนินชีวิตแบบไทยท่เี หมาะสมถงึ สภาพปจจุบัน เยาวชนจํานวนไมนอยเหอ เหิม ฟมุ เฟอ ย หนกั ไมเ อาเบาไมสู หลงวัตถุ หลงเงนิ ตรา กอปญ หาใหต ัวเองและสงั คม

จดุ ออนของเยาวชนไทย ๒. ความวาเหว เปลาเปลี่ยว สบั สนวนุ วายทาง สภาพครอบครัว สภาพสังคมทส่ี ับสน สภาพการแขง ขัน สภาพชงิ ดีชิงเดน เอารดั เอาเปรยี บ ทาํ ใหจ ิตใจของเยาวชนจํานวนไมน อ ยเกิดความสับสนวุนวาย ยง่ิ วยั รุนเปน วัยที่ตดิ เพ่ือนพลอยทาํ ใหตัดสินใจ อะไรพลาดพลงั้ ไดง า ย ยง่ิ ประเภทพอ แมไ มมีเวลาใหลกู หรอื ครอบครัวมปี ญ หา ครอบครวั แตกแยก หรอื การออกไปทาํ งานตา งถ่นิ ยิ่ง เสีย่ งตอ การตัดสินใจในทางที่ผดิ กอ ปญหาตอตัวเองและสงั คม

สิง่ ทีเ่ ยาวชนสับสนและอยากไดคําตอบมากทีส่ ุด ๑. ความจรงิ ของชวี ิต เกดิ มาทําไม ความจรงิ ของโลก จักรวาล คืออะไร ๒. อะไรคอื ความชัว่ อะไรคือความดี คนทาํ ชว่ั ทาํ ไมจึงไดดี ทําไมจงึ มีเกียรติ ทําไมจึงรํา่ รวย คนทําดีทาํ ไมจงึ ยากจน คนซื่อสัตยส จุ ริตทาํ ไมจงึ ถูก โกง ถกู เอารัดเอาเปรียบ ๓. คา นยิ มท่ีดคี อื อะไร คนทเ่ี รยี บรอย อยกู ับเหยา เฝา กบั เรือนทําไมเพ่ือนจึงกลา วหาวาหัวออน, คนที่เปลอื ยผา ถา ยรูป มีรายไดสูง มคี นนิยมชม ชอบ เปนคา นยิ มที่ดหี รอื ไม , คนท่ีคดโกงมีความร่าํ รวย มอี ทิ ธิพล ไดเ ปนรฐั มนตรปี กครองคน เปนผนู ําประเทศ เปน คา นิยมทีด่ หี รือเลว เหลานเี้ ปนคํา ถามในใจเยาวชน ๔. วิกฤตการณดานจิตใจ ความสับสนยงุ เหยิงทางใจที่เปน ขอขดั แยง เปน คําถามในใจของเยาวชนตลอดเวลา เชน ทาํ ไม ตุด ดี้ จึงดังในจอทวี ี คนนยิ มชมชอบ ทําไมตําราจ ทางหลวงจงึ เก็บสวยจากรถบรรทกุ สรา งความร่าํ รวยใหต วั เองได ทาํ ไมผใู หญรณรงคใ หเยาวชนรกั ษาความสะอาด ฟุต บาทจึงเตม็ ไปดวยแผงขายอาหาร ขายของสกปรกจนไมม ีท่ีเดนิ ทาํ ไมคนหนมุ สาวผูใชแ รงงานจงึ ถกู เอาเปรียบคาแรง แลวทําไมจึงใหตา งชาตเิ ขา เมือง ผดิ กฎหมาย มาขายแรงงานราคาถูกไมถ กู จับ คาํ วาทาํ ไม ๆ ๆ ๆ เยาวชนนมี้ ีมากมาย เกิดวกิ ฤตทางจติ ใจตลอดเวลา

สาเหตุหลักของสภาพปญหาสังคมไทย สภาพปญหาเยาวชนไทยปจจบุ ันทง้ั หลายท้งั ปวงมาจากความสับสนวนุ วายทางจติ ใจ จิตใจเยาวชน ไมม น่ั คง ไมม ีอะไรเปนเคร่ือง ยดึ มน่ั องคก รของรัฐทีเ่ ก่ยี วขอ งกบั การศกึ ษาโดยตรง เชน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ และ หนวย งานที่เกี่ยวขอ ง มนี โยบายในการแกปญ หาก็จรงิ แตขาดการปฏิบตั ิตอ เน่ือง และจรงิ จัง ดังน้ันองคก รทางศาสนา หลกั ธรรมคาํ สอน และพระสงฆเทา นั้น จะเปน ผูส ราง ผชู ท้ี างและเปนผนู าํ ทางทางจิตใจของเยาวชน ไทย เปน ผอู ธบิ ายคา นยิ มทีถ่ ูกตอ ง ผูอ ธบิ าย ความดี ความชั่ว ความจริงของโลกและความสขุ อันแทจรงิ ของชวี ิต เปน ผชู ีน้ ําความสวา ง ความสงบ ท้งั แกเ ยาวชน และแกคนไทยทุกคนใหพบแตค วามสุขความเจรญิ แตน ั่นกห็ มายถงึ วา พระสงฆเองกต็ องพฒั นาตนเอง ใหอยู ในสภาวะที่พรอมจะชว ยเหลอื สงั คม แกปญ หาสังคม ไมเปนปญ หาสงั คมเสียเอง

บทบาทของพระสงฆ

บทบาทของพระสงฆ จากปญหาของสงั คมและของเยาวชน เราจะเปนไดว าสาเหตสุ วนหนง่ึ เกดิ จากจติ ใจอันเปน ผลใหคนดําเนินชีวติ ไปทั้งในทาง ชวั่ และทางดี เรือ่ งการนาํ และอบรมทางใจน้ี พระสงฆจึงถือวา มคี วามสําคญั และบทบาทท่ีสุดในการชว ยในการแกปญ หาดา นการ พัฒนาจิตใจใหแกเยาวชน

แหลง ที่มาของขอมูล https://sites.google.com/site/sangkhmthiypaccuban/

ขอบคุณครับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook