สามัคคเี ภทคําฉันท เสนอ ครณู ัฐยา อาจมังกร ผูจัดทาํ นายณัฐพัชร มาพล เลขที่ 3 นายพฤฒินันท พมุ พนั ธุ เลขท่ี 6 นางสาวปทมุ ทพิ ย คําถา เลขท่ี 28 นางสาวศริ ิรตั น คําหลวงเติม เลขท่ี 35 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนมัธยมวดั หนองแขม
สามัคคเี ภทคําฉันท เสนอ ครณู ัฐยา อาจมังกร ผูจัดทาํ นายณัฐพัชร มาพล เลขที่ 3 นายพฤฒินันท พมุ พนั ธุ เลขท่ี 6 นางสาวปทมุ ทพิ ย คําถา เลขท่ี 28 นางสาวศริ ิรตั น คําหลวงเติม เลขท่ี 35 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนมัธยมวดั หนองแขม
คํานํา หนังสือเลม น้ีเปน สว นหนง่ึ ของวชิ า ท33101 วชิ าภาษไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 โดยมีจดุ ประสงค เพ่ือการศึกษาเกย่ี วกับบทประพันธส ามัคคีเภทคําฉันทซ่ึงหนังสือเลมน้มี เี นื้อหาเกยี่ วกับผูแตง จุดประสงคใ นการแตง ที่มา ลกั ษณะคาํ ประพันธ เร่ืองยอ การถอดคาํ ประพันธและอธิบายคาํ ศพั ท ผูจดั ทาํ ตองขอขอบคณุ ครณู ัฐยา อาจมังกรผใู หความรูแนวทางการศึกษาและใหค วามชว ยเหลอื มา โดยตลอด ผจู ัดทาํ หวงั วารายงานฉบับนจี้ ะใหค วามรูและเปนประโยชนแกผูอ า นทุก ๆ ทาน คณะผจู ัดทํา
สารบญั หนา ปกใน ก คํานาํ ข สารบัญ ค ผูแตง 1 จดุ ประสงคใ นการแตง 2 ทม่ี าของเร่อื ง 3 ลักษณะคําประพนั ธุ 5 เรือ่ งยอ กอนบทเรียน 7 คุณคา ของเร่ือง 9 ถอดคาํ ประพนั ธ 10 อธบิ ายคําศัพทย าก 38 บรรณานกุ รม ง
ผูแตง 1 นายชิต บรุ ทัต กวีในรชั กาลที่ ๖ ในขณะที่บรรพชาเปนสามเณร อายุเพียง ๑๘ ป ไดเขา รวมแตงฉนั ทสมโภชพระมหาเศวตฉตั รในงาน ราชพธิ ฉี ตั รมงคล รชั กาลท่ี ๖ เมอ่ื อายุ ๒๒ ป ไดส งกาพยปลกุ ใจลงใน หนังสอื พมิ พ สมทุ รสาร นายชติ มีนามสกุลเดิมวา ชวางกรู ไดรบั พระราชทานนามสกลุ “บุรทัต” จากพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาฯ ในป ๒๔๕๐ เมื่ออายะ ๒๓ ป ใชน ามปากกาวา เจา เงาะ เอกชน และ แมวคราว
วัตถุประสงค 2 เพื่อมงุ ช้ีความสาํ คญั ของการรวมเปนหมคู ณะ เปน นาํ้ หนึ่งใจเดยี วกนั เพือ่ ปองกันรกั ษา บานเมอื งใหมคี วามเปนปกแผน สามคั คีเภทคาํ ฉันท เปนกวีนทิ านสุภาษติ วาดวย “โทษ แหงการแตกสามัคคี” ภายหลังไดรับการยกยอ งเปน ตําราเรียนวรรณกรรมไทยท่สี าํ คัญ เลม หนึ่งท้งั ในอดตี และปจจบุ ัน
3 ในสมัยรชั กาลท่ี6 เกิดเหตกุ ารณตา งๆ เชน สงครามโลกครัง้ ท่ี1กบฏผร.ศ.130 ทําใหเ กิดความต่ืนตัวทางความคิด มคี วามเหน็ เกี่ยวกับการดําเนนิ การบานเมอื งแตก ตา งกนั เปนหลายฝา ย จึงทําใหส งผลกระทบตอความไมมัน่ คงของบา นเมือง ในภาวะ ดงั กลาวจึงมกี ารแตงวรรณคดีปลกุ ใจใหม ีการรกั ษาขึ้นโดยเรื่องสามัคคีเภทแตง ขน้ึ ใน ป พ.ศ 2457 โดยมงุ เนนความสําคญั ของความสามคั คีเพอ่ื รกั ษาบา นเมอื งสามัคคี เภทคาํ ฉันท เปน กวนี ทิ านสภุ าษิต วา ดวย “โทษแหง การแตกสามัคคี” ภายหลงั ไดรบั การยกยองเปนตาํ ราเรยี นวรรณกรรมไทยทส่ี าํ คัญเลมหนงึ่ ท้งั ในอดตี และปจ จบุ นั
4 สามคั คีเภทคาํ ฉนั ท แตง ดว ยคําประพนั ธป ระเภทฉนั ท ๑๙ ชนดิ กาพย ๑ ชนดิ ๑. สัททุลวิกกีิตฉันท ๑๙ เปนฉันทท่ีมีลลี าการอานสงา งาม เครง ขรึม มอี ํานาจดุจเสือ ผยอง ใชแ ตงสาํ หรบั บทไหวครู บทสดดุ ี ยอพระเกยี รติ ๒. วสนั ตดลิ กฉันท ๑๔ เปนฉนั ทที่มีลลี าไพเราะ งดงาม เยือกเย็นดจุ เมด็ ฝน ใชสําหรับ บรรยายหรือพรรณนาชื่นชมส่ิงทสี่ วยงาม ๓. อุปชาตฉิ นั ท ๑๑ นิยมแตงสาํ หรบั บทเจรจาหรือบรรยายความเรียบๆ ๔. อีทิสังฉันท ๒๑ เปน ฉนั ททม่ี ีจังหวะกระแทกกระทนั้ เกรย้ี วกราด โกรธแคน และ อารมณรนุ แรง เชน รักมาก โกรธมาก ต่ืนเตน คกึ คะนอง หรอื พรรณนาความสับสน ๕. อินทรวิเชียรฉนั ท ๑๑ เปน ฉันททมี่ ีลลี าสวยงามดุจสายฟาพระอนิ ทร มีลลี าออน หวาน ใชบ รรยายความหรอื พรรณนาเพื่อโนม นา วใจใหอ อนโยน เมตตาสงสาร เอน็ ดู ให อารมณเ หงาและเศรา ๖. วชิ ชุมมาลาฉันท ๘ หมายถงึ ระเบยี บแหง สายฟา เปน ฉนั ทท ใ่ี ชใ นการบรรยายความ ๗. อนิ ทรวงศฉนั ท ๑๒ เปนฉันทท ม่ี ีลลี าตอนทา ยไมร าบเรยี บคลา ยกลบทสะบดั สะบง้ิ ใช ในการบรรยายความหรอื พรรณนาความ ๘. วังสฏั ฐฉนั ท ๑๒ เปน ฉันทท่มี สี าํ เนยี งอนั ไพเราะเหมอื นเสยี งป ๙. มาลนิ ฉี ันท ๑๕ เปน ฉนั ททใ่ี ชในการแตง กลบทหรือบรรยายความทเ่ี ครง ขรึม เปนสงา ๑๐. ภชุ งคประยาตฉันท ๑๒ เปนฉนั ทท่มี ลี ลี างามสงา ดจุ งูเลอื้ ย นิยมใชแ ตง บทท่ดี าํ เนนิ เรือ่ งอยางรวดเรว็ และคึกคกั
5 สามัคคีเภทคําฉนั ท แตงดวยคําประพนั ธประเภทฉนั ท ๑๙ ชนดิ กาพย ๑ ชนิด ๑๑. มาณวกฉนั ท ๘ เปนฉนั ทท ่มี ลี ีลาผาดโผน สนุกสนาน รา เริง และตน่ื เตน ดจุ ชายหนุม ๑๒. อเุ ปนทรวเิ ชียรฉนั ท ๑๑ เปน ฉนั ทท ีม่ ีความไพเราะใชใ นการบรรยายบทเรียบๆ ๑๓. สัทธราฉนั ท ๒๑มคี วามหมายวา ฉันทย งั ความเลือ่ มใสใหเกดิ แกผ ูฟ ง จงึ เหมาะเปน ฉนั ทท ่ี ใชสาํ หรบั แตงคาํ นมสั การ อธษิ ฐาน ยอพระเกียรติ หรอื อัญเชิญเทวดา ใชแตงบทสน้ั ๆ ๑๔. สาลนิ ฉี ันท ๑๑ เปน บททมี่ คี ําครุมาก ใชบ รรยายบทท่ีเปนเน้อื หาสาระเรียบๆ ๑๕. อุปฏ ฐิตาฉันท ๑๑ เปนฉนั ทท เี่ หมาะสําหรบั ใชบรรยายบทเรยี บๆ แตไมใ ครม คี นนยิ มแตง มากนกั ๑๖. โตฏกฉนั ท ๑๒ เปนฉันทท ีม่ ลี ีลาสะบัดสะบง้ิ เหมือนประตักแทงโค ใชแตงกบั บทท่ีแสดง ความโกรธเคอื ง รอนรน หรือสนกุ สนาน คึกคะนอง ต่ืนเตน และเราใจ ๑๗. กมลฉนั ท ๑๒ หมายถงึ ฉนั ที่มีความไพเราะเหมอื นดงั ดอกบวั ใชก บั บทท่ีมีความตื่นเตน เล็กนอยและใชบรรยายเรื่อง ๑๘. จิตรปทาฉนั ท ๘ เปนฉนั ทท ี่เหมาะสาํ หรบั บททนี่ ากลัว เอะอะ เกร้ียวกราด ตื่นเตน ตกใจ และกลวั ๑๙. สรุ างคนางคฉนั ท ๒๘ มลี ักษณะการแตงคลา ยกาพยสรุ างคนางค ๒๘ แตต างกันที่มขี อ บงั คบั ครุ ลหุ เพ่มิ ขึน้ มา ทําใหเกิดความไพเราะมากยิง่ ข้ึน เหมาะสาํ หรับขอ ความท่คี ึกคัก สนกุ สนาน โลดโผน ตน่ื เตน ๒๐. กาพยฉบงั ๑๖เปนกาพยทมี่ ีลลี าสงางาม ใชสาํ หรับบรรยายความงามหรอื ดําเนนิ เรอ่ื ง อยา งรวดเรว็
6 -ครุ คือ คาํ ท่ปี ระสมกับสระเสียงยาว มตี วั สะกด คาํ ทปี่ ระสมกับ อํา ไอ ใอ เอา ถอื เปน ครุ เพราะ มีตัวสะกดประสมอยู เชน อาํ มาจาก อมั ไอ มาจาก อัย และ เอา มาจาก อวั (ว เปนตวั สะกดของ อ+อะ+ว ) -ลหุ คือ คาํ ทีป่ ระสมกับสระเสียงสัน้ ไมมีตัวสะกด เชน อะ จิ สิ ก็
7 สมยั กอนทพ่ี ระพทุ ธเจาจะปรนิ ิพพานไมน านนกั พระเจา อชาตศตั รูทรงครองราช สมบตั ิท่นี ครราชคฤห แควนมคธ พระองคท รงมีวสั สการพราหมณ ผูฉลาดและรอบรู ศิลปศาสตร เปน ทป่ี รึกษาราชกจิ ท่ัวไป ขณะนัน้ ทรงปรารภจะแผพ ระราชอาณาเขตเขา ไปถึง แควน วชั ชี แตก ริ่งเกรงวามิอาจเอาชนะไดด ว ยการสงกองทัพเขา รุกราน เนอ่ื งจากบรรดา กษัตริยลิจฉวมี ีความสามัคคีสูง และการปกครองอาณาประชาราษฎร ดวยธรรม อนั นาํ ความ เจริญเขมแข็งมาสูแวน แควน พระเจา อชาตศัตรทู รงหารือเรือ่ งนเ้ี ปนการเฉพาะกบั วัสสการพ ราหมณ จึงเห็นแจง ในอบุ ายจะเอาชนะดวยปญญาวันหน่ึงพระเจาอชาตศตั รูเสดจ็ ออกวา ราชการพรอ มพรงั่ ดว ยเสนาอํามาตยช น้ั ผูใหญ เม่ือเสร็จวาระเรอ่ื งอ่นื ๆลงแลว จงึ ตรัสในเชิง หารอื วา หากพระองคจ ะยกทพั ไปปราบแควน วชั ชีใครจะเหน็ คดั คานประการใดวสั สการพรา หมณฉ วยโอกาสเหมาะกับอบุ ายตนทวี่ างไว ก็กราบทูลทวงวาเห็นทจี ะเอาชนะไมไ ดเลย เพราะกษตั รยิ ล ิจฉวที กุ องคลวนผกู พันเปน กัลยาณมติ รอยางมน่ั คง มคี วามสามารถในการศึก และกลาหาญ อีกท้งั โลกจะติเตยี น หากฝา ยมคธจงใจประทษุ รายรุกรานเมอื งอน่ื ขอใหย บั ย้ัง การทาํ ศกึ เอาไวเ พอ่ื ความสงบของประชาราษฎรพระเจาอชาตศตั รทู รงแสรงแสดงพระอาการ พิโรธหนัก ถึงขน้ั รบั ส่ังจะใหประหารชวี ติ เสยี แตท รงเห็นวาวัสสการพราหมณรับราชการมา นาน จงึ ลดโทษการดหู มนิ่ พระบรมเดชานภุ าพครง้ั น้ัน เพยี งแคล งพระราชอาญาเฆีย่ นตีอยาง แสนสาหสั จนสลบไสล ถกู โกนหัวประจานและ เนรเทศออกไปจากแควนมคธ
8 ขา ววัสสการพราหมณเ ดินทางไปถึงนครเวสาลเี มอื งหลวงของแควนวชั ชี ทราบไป ถงึ พระกรรณของหมูกษัตรยิ ล ิจฉวี จงึ รบั สัง่ ใหเจา พนักงานตกี ลองสําคญั เรียกประชมุ ราช สภาวา ควรจะขบั ไลห รือเลย้ี งเอาไวดี ในท่สี ุดที่ประชุมราชสภาลงมติใหนาํ เขาเฝาเพ่อื หย่ัง ทา ทีและฟงคารมกอน แตห ลังจากกษตั รยิ ลจิ ฉวที รงซกั ไซไลเลยี งดวยประการตา งๆ ก็ หลงกลวสั สการพราหมณ ทรงรับไวท าํ ราชการในตําแหนง อาํ มาตยผูพจิ ารณาพพิ ากษาคดี และตง้ั เปนครูฝก สอนศลิ ปวทิ ยาแก ราชกุมารของเหลา กษตั ริยลิจฉวีดวย จากน้ันตอ มา พราหมณเฒากท็ าํ ที่ปฎบิ ัติงานในหนา ท่อี ยางดี ไมมสี ิ่งใดบกพรอง จนหมูกษตั ริยล ิจฉวีไว วางพระทัย แผนการทําลายความสามคั คไี ดเ รมิ่ จากวสั สการพราหมณใชกลอบุ ายใหบรรดา ราชโอรสกษตั ริยล ิจฉวรี ะแวงกนั โดยแกลงเชญิ แตล ะองคไ ปพบเปน การสว นตวั แลว ถาม ปญ หาธรรมดาทร่ี ูๆ กันอยู เม่ือองคอนื่ ซักเรอ่ื งราววาสนทนาอะไรกบั อาจารยบาง แมราช กุมารองคน้ันจะตอบความจริง แตก ็ไมม ีใครเชอื่ ถือ กอ ใหเกดิ ความระแวงและแตกราวใน บรรดาราชกุมาร กระท่งั ลุกลามไปสูก ษัตรยิ ลิจฉวี ผเู ปน พระราชบดิ าทกุ องค ทําใหค วามสา มคั คีคอ ยๆ เส่ือมลงจนกระทง่ั ไมเ ขารว มประชมุ ราชสภา หรอื ไดย ินเสียงกลองกไ็ มสนใจ ประชมุ เม่อื มาถึงข้ันน้ี วัสสการพราหรณจึงลอบสง ขา วไปใหพระเจาอชาตศตั รูยกทพั มาตี แควน วัชชไี ดเปนผลสําเรจ็
9 ๑. คณุ คา ดา นวรรณศิลป ๑.๑ แตงเปน คําประพันธป ระเภทฉนั ท โดยใชฉ นั ทชนดิ ตางๆ ถึง ๑๘ ชนดิ โดยลีลาของ ฉนั ทแ ตละชนดิ ท่ีนาํ มาแตง นนั้ ลวนแตเหมาะสมกบั เน้ือเรอ่ื ง เชน ตอนทีบ่ รรยายเนื้อเรื่องถงึ การ ดาํ เนนิ อุบายของวัสสการพราหมณ ใชฉันทช ือ่ ภชุ งคประยาตฉันท ซึ่งมีความหมายวา ฉนั ททมี่ ลี ลี า ประดุจการคืบคลานของพระยานาค เปน ฉันททม่ี ีจงั หวะจะโคนท่สี มํ่าเสมอ เสมอื นมีการ เคล่ือนไหวทฟี่ งดูนุมนวล เหมาะแกการบรรยายเรือ่ ง สวนฉันทอื่นๆ ที่นาํ มาใชส ลับกันไปแตละ ฉนั ทนั้นลว นแลวแตไพเราะและเหมาะสมทัง้ ส้ิน ๑.๒ การสรรคาํ เปนการเลือกใชค ําท่ีส่ือความคดิ และอารมณไดอยางงดงาม ๑.๓ การเลือกใชค ําโดยคาํ นงึ ถึงเสียง กวีไดด ัดแปลงฉนั ทบางชนิดใหม คี วามแตกตา งไป จากเดมิ ทําใหม ีความไพเราะมากขึน้ สามัคคีเภทคาํ ฉันทมีการใชคําที่มีเสียงเสนาะ ๑.๔ การใชโ วหาร สามัคคเี ภทคําฉนั ทมคี วามไพเราะงดงามอนั เกิดจากสารทีก่ วีใชศลิ ปะใน การถา ยทอดความหมายของเนอ้ื หา โดยการใชส ํานวนโวหาร และการใชภาพพจน เพอื่ ใหผ อู าน จินตนาการเห็นภาพชัดเจน เขาใจและเกดิ อารมณค ลอ ยตาม ๒. คณุ คา ดานสังคม ๒.๑. สะทอ นวัฒนธรรมของคนในสงั คม ๒.๑.๑ สะทอ นภาพการปกครองโดยระบอบสามคั คธี รรม ๒.๑.๒ สะทอนภาพการพิพากษาคดีและการลงโทษ ๒.๑.๓ สะทอ นลักษณะสถาบัตยกรรมไทย ๒.๒. สะทอ นแนวคิดของคนในสงั คม สามัคคเี ภทคาํ ฉันทไ ดสะทอนใหเ ห็นสภาพสังคมวา จะตองมคี วามสามัคคจี งึ จะอยูร อดได เม่ือใดก็ตามทีค่ วามเปน ปกแผน ความเปน อันหนง่ึ อัน เดยี วกันของคนในชาติถูกทําลาย เม่อื นน้ั บานเมอื งจะระสํา่ ระสาย ขาดความเปนเอกภาพ ตา งคน ตางหวาดระแวงกนั ขาดความไวใจกัน ทาํ ใหฝ า ยตรงขา มมโี อกาสโจมตีไดงา ย
10 ภุชงคประยาต ฉันทฯ คะเนกลคะนงึ การ ระวงั เหือดระแวงหาย ทชิ งคช าตฉิ ลาดยล ปวตั นว ญั จโนบาย กษตั ริยล ิจฉวีวาร สมัครสนธ์ิสโมสร ลศึกษาพิชากร เหมาะแกการณจะเสกสรร เสด็จพรอ มประชุมกนั มลางเหตพุ เิ ฉทสาย สถานราชเรียนพลนั สนทิ หน่งึ พระองคไ ป ณวนั หน่ึงลถุ ึงกา ก็ถามการณ ณ ทันใด กุมารลิจฉวีวร กถาเชนธปุจฉา มนุษยผ กู ระทํานา ตระบัดวัสสการมา ประเทียบไถมิใชห รอื ธแกลงเชญิ กุมารฉนั กร็ บั อรรถออออื ประดุจคําพระอาจารย ลุหองหับรโหฐาน นวิ ัตในมชิ า นาน มลิ ี้ลับอะไรใน สมยั เลิกลุเวลา พชวนกันเสด็จมา จะถูกผิดกระไรอยู ชองคน น้ั จะเอาความ และคูโ คก็จงู มา ณขางในธไตถาม วจสี ตั ยก ะสํ่าเรา กมุ ารลิจฉวขี ตั ติย กสกิ เขากระทาํ คือ ก็เทานนั้ ธเชิญให ประสิทธิศ์ ลิ ปป ระศาสนสาร อรุ สลิจฉวีสรร และตา งซักกุมารรา พระอาจารยส เิ รยี กไป อะไรเธอเสนอตาม
ภชุ งคประยาต ฉนั ทฯ 11 กุมารอื่นกส็ งสยั มิเชือ่ ในพระวาจา สหายราชธพรรณนา และตางองคก พ็ าที จะพดู เปลาประโยชนมี ไฉนเลยพระครูเรา รผลเหน็ บเปน ไป เลอะเหลวนกั ละลวนนี ธพูดแทก ็ทาํ ไม จะถามนอกบยากเย็น เถอะถึงถาจะจริงแม ธคดิ อา นกะทา นเปน แนะชวนเขา ณขา งใน ละแนชัดถนดั ความ มิกลาอาจจะบอกตา ชะรอยวา ทิชาจารย ไถลแสรงแถลงสาร รหสั เหตปุ ระเภทเหน็ กส็ อดคลองและแคลงดาล อุบัตขิ ้นึ เพราะขนุ เคอื ง และทานมามุสาวาท ประดามีนริ นั ดรเนือง พจจี ริงพยายาม มลายปลาตพินาศปลงฯ กุมารราชมิตรผอง พโิ รธกาจวิวาทการณ พพิ ธิ พนั ธไมตรี กะองคน ัน้ กพ็ ลันเปลือง
ถอดความ ภชุ งคประยาต ฉันทฯ 12 พราหมณผูฉ ลาดคาดคะเนวา กษตั ริยลิจฉวีวางใจคลายความหวาดระแวง เปน โอกาสเหมาะที่จะเร่มิ ดําเนนิ การตามกลอบุ ายทาํ ลายความสามัคคี วนั หนึง่ เมอ่ื ถงึ โอกาส ที่จะสอนวิชา กุมารลจิ ฉวกี เ็ สด็จมาโดยพรอ มเพรยี งกัน ทนั ใดวัสสการพราหมณก็มาถงึ และแกลง เชญิ พระกุมารพระองคท่ีสนทิ สนมเขาไปพบในหองสวนตวั แลวก็ทลู ถามเรือ่ ง ทไี่ มใชค วามลบั แตป ระการใด ดังเชน ถามวา ชาวนาจงู โคมาคูห น่ึงเพ่ือเทียมไถใชห รอื ไม พระกมุ ารลจิ ฉวกี ร็ ับสง่ั เห็นดว ยวา ชาวนากค็ งจะกระทําดงั คาํ ของพระอาจารย ถามเพียง เทา นั้นพราหมณก เ็ ชิญใหเ สด็จกลบั ออกไป คร้นั ถึงเวลาเลกิ เรียนเหลาโอรสลิจฉวกี พ็ า กนั มาซักไซพ ระกมุ ารวา พระอาจารยเ รียกเขาไปขา งใน ไดไตถามอะไรบาง ขอใหบ อก มาตามความจริง พระกุมารพระองคน้นั กเ็ ลาเร่อื งราวทพ่ี ระอาจารยเ รียกไปถาม แต เหลากุมารสงสัยไมเ ช่อื คาํ พูดของพระสหาย ตางองคกว็ ิจารณว า พระอาจารยจะพดู เรือ่ ง เหลวไหลไรส าระเชนนเ้ี ปน ไปไมได และหากวา จะพูดจริงเหตใุ ดจะตอ งเรยี กเขา ไปถาม ขา งในหอง ถามขา งนอกหอ งก็ได สงสยั วาทานอาจารยกบั พระกมุ ารตองมีความลับ อยา งแนน อน แลวกม็ าพูดโกหก ไมก ลาบอกตามความเปนจรงิ แกลงพูดไปตาง ๆ นานา กมุ ารลิจฉวีท้ังหลายเห็นสอดคลองกันกเ็ กดิ ความโกรธเคือง การทะเลาะววิ าทก็เกิดขนึ้ เพราะความขุนเคอื งใจ ความสัมพนั ธอนั ดที ี่เคยมมี าตลอดกถ็ ูกทําลายยอ ยยับลง
มาณวก ฉนั ทฯ 13 ลว งลุประมาณ กาลอนกุ รม หน่ึงณนิยม ทา นทวิชงค เมื่อจะประสทิ ธ์ิ วิทยะยง เชญิ วรองค เอกกมุ าร พราหมณไป เธอจรตาม หอ งรหุฐาน โดยเฉพาะใน ความพิสดา จึง่ พฤฒถิ าม โทษะและไข ขอธประทาน ครจู ะเฉลย ภัตกะอะไร อยาติและหลู ดีฤไฉน เธอนะเสวย ยิง่ ละ กระมงั ในทนิ น่ี เคา ณประโยค พอหฤทัย แลว ขณะหลัง เรื่องสิประทงั ราชธกเ็ ลา สกิ ขสภา ตนบรโิ ภค ราชอุรส วาทะประเทือง ตางธก็มา อาคมยงั ทานพฤฒอิ า รภกระไร เสรจ็ อนุศาสน ลิจฉวิหมด ถามนยมาน จารยปรา
มาณวก ฉันทฯ 14 เธอก็แถลง แจงระบุมวล ความเฉพาะลว น จรงิ หฤทัย ตางบมิเชื่อ เมื่อตรไิ ฉน จ่ึงผลใน เหตบุ มิสม เรอ่ื งนฤสาร ขุน มนเคือง กอนก็ระ เชนกะกมุ าร แตกคณะกล เลิกสละแยก คบดุจเดิม เกลียวบนยิ ม ถอดความ มาณวก ฉนั ทฯ เวลาผานไปตามลาํ ดับ เมื่อถงึ คราวทีจ่ ะสอนวชิ ากจ็ ะเชญิ พระกมุ ารพระองคห นึ่ง พระกมุ ารก็ตามพราหมณเขา ไปในหองเฉพาะ พราหมณจึงถามเนือ้ ความแปลก ๆ วา ขออภยั ชว ยตอบดว ย อยาหาวาตาํ หนหิ รือลบหลู ครขู อถามวาวันนพ้ี ระกมุ ารเสวยพระ กระยาหารอะไร รสชาติดีหรือไม พอพระทัยมากหรือไม พระกมุ ารก็เลา เรอ่ื งเกี่ยวกบั พระกระยาหารท่เี สวย หลงั จากนนั้ ก็สนทนาเรอื่ งทั่วไป แลวก็เสดจ็ กลบั ออกมายัง หองเรยี น เม่อื เสร็จส้นิ การสอนราชกมุ ารลิจฉวีทั้งหมดกม็ าถามเรอื่ งราวท่มี ีมาวา ทา น อาจารยไดพดู เรอ่ื งอะไรบาง พระกมุ ารกต็ อบตามความจริง แตเหลากุมารตางไมเ ชื่อ เพราะคิดแลวไมสมเหตสุ มผล ตา งขุนเคืองใจดวยเรอื่ งไรสาระเชนเดียวกับพระกมุ าร พระองคกอ น และเกิดความแตกแยกไมค บกันอยางกลมเกลียวเหมอื นเดมิ
อเุ ปนทรวเิ ชียร ฉนั ทฯ กลหเ หตยุ ยุ งเสริม 15 นฤพทั ธกอการณ ทิชงคเจาะจงเจตน ทินวารนานนาน กระหนํา่ และซ้ําเติม ธก็เชญิ เสดจ็ ไป รฤหาประโยชนไร ละครงั้ ระหวางครา เสาะแสดงธแสรง ถาม เหมาะทา ทชิ าจารย นะแนะขา สดบั ตาม พจแจง กระจายมา บหอนจะมีสา กเ็ พราะทานสแิ สนสา กระน้ันเสมอนัย วและสุดจะขัดสน พเิ คราะหเชื่อเพราะยากยล และบา งกพ็ ดู วา ธก็ควรขยายความ ยบุ ลระบิลความ นะ แนะขา จะขอถาม วจลอื ระบอื มา ละเมดิ ติเตยี นทา น ก็เพราะทานสแิ สนสา รพดั ทลิทภา ยพิลึกประหลาดเปน มนเชอ่ื เพราะไปเหน็ จะแนม ิแนเ หลอื ธกค็ วรขยายความ ณท่บี มคี น วนเคา คดีตาม นยสดุ จะสงสยั และบา งกก็ ลา ววา คุรทุ า นจะถามไย เพราะทราบคดตี าม ระบแุ จง กะอาจารย ติฉินเยาะหมิน่ ทาน รพันพกิ ลกา จะจริงมจิ รงิ เหลอื ผิขอบลําเคญ็ กมุ ารองคเ สา กระทพู ระครถู าม ก็คํามคิ วรการณ ธซกั เสาะสบื ใคร
อเุ ปนทรวเิ ชียร ฉันทฯ 16 ทวิชแถลงวา พระกมุ ารโนนขาน ยุบลกะตูกาล เฉพาะอยูก ะกนั สอง ธมิทันจะไตรต รอง กมุ ารพระองคนนั้ พฤฒิครแู ละววู าม กเ็ ชื่อณคําของ เหมาะเจาะจงพยายาม บมิดีประเดตน พิโรธกมุ ารองค ทุรทฐิ ิมานจน ยคุ รูเพราะเอาความ ธิพพิ าทเสมอมา ทชิ ครูมิเรียกหา ก็พอ และตอพิษ ชกมุ ารทชิ งคเชญิ ลโุ ทสะสบื สน ฉวมิ ติ รจิตเมิน คณะหางกต็ า งถือ และฝา ยกมุ ารผู พลลนเถลงิ ลอื กแ็ หนงประดารา มนฮกึ บนกึ ขามฯ พระราชบตุ รลิจ ณกนั และกันเหนิ ทะนงชนกตน ก็หาญกระเหมิ ฮอื
ถอดความ อุเปนทรวิเชียร ฉันทฯ 17 พราหมณเ จตนาหาเหตยุ ุแหยซํา้ เตมิ อยเู สมอ ๆ แตล ะครั้ง แตล ะวัน นานนาน คร้ังเหน็ โอกาสเหมาะกจ็ ะเชญิ พระกมุ ารเสด็จไปโดยไมม ีสารประโยชนอ ันใด แลว ก็ แกลง ทูลถาม บางคร้ังก็พดู วา นแี่ นะขาพระองคไ ดย นิ ขา วเลา ลอื กนั ทว่ั ไป เขานินทา พระกุมารวา พระองคแ สนจะยากจนและขดั สน จะเปนเชน น้ันแนหรือ พิเคราะหแลวไม นาเชือ่ ณ ท่นี ้ีไมม ีผใู ด ขอใหท รงเลามาเถิด บางครงั้ กพ็ ดู วา ขาพระองคข อทูลถามพระ กุมาร เพราะไดย ินเขาเลาลอื กันทว่ั ไปเยาะเยยดหู มน่ิ ทาน วา ทานน้มี รี า งกายผดิ ประหลาดตาง ๆ นานาจะเปน จริงหรือไม ใจไมอยากเชอื่ เลยเพราะไมเ ห็น ถาหากมสี ง่ิ ใดทีล่ าํ บากยากแคนก็ตรัสมาเถดิ พระกุมารไดท รงฟง เร่ืองทีพ่ ระอาจารยถามกต็ รัสถามกลับวา สงสยั เหลือเกนิ เรอ่ื งไม สมควรเชน นีท้ า นอาจารยจ ะถามทาํ ไม แลวกซ็ กั ไซว าใครเปนผมู าบอกกบั อาจารย พราหมณกต็ อบวา พระกมุ ารพระองคโนนตรัสบอกเมือ่ อยกู ันเพยี งสองตอสอง กมุ าร พระองคน น้ั ไมท ันไดไ ตรตรอง ก็ทรงเชอื่ ในคําพดู ของอาจารย ดวยความววู ามก็กรวิ้ พระกมุ ารท่ียพุ ระอาจารยใสค วามตน จงึ ตัดพอตอวากนั ขนึ้ เกดิ ความโกรธเคือง ทะเลาะวิวาทกันอยเู สมอ ฝา ยพระกุมารทีพ่ ราหมณไ มเ คยเรยี กเขาไปหากไ็ มพอพระทยั พระกุมารทีพ่ ราหมณเ ชิญไปพบ พระกมุ ารลิจฉวีหมางใจและเหินหางกัน ตางองคท ะนง วาพระบิดาของตนมีอาํ นาจลนเหลอื จึงมใี จกาํ เริบไมเกรงกลวั กนั
สทั ธรา ฉนั ทฯ ธก็ยศุ ิษยตาม 18 ฉงนงาํ ลําดบั นนั้ วัสสการพราหมณ รณิ วิรธุ กส็ าํ แตง อบุ ายงาม ธเสกสรร มลิ ะปยะสหฉันท ปวงโอรสลจิ ฉวดี ํา ก็อาดูร คัญประดุจคํา พระชนกอดศิ ูร ปวตั ตคิ์ วาม ไปเ หลือเลยสกั พระองคอ ัน ลุวรบดิ รลาม ขาดสมัครพนั ธ ณเหตผุ ล นฤวิเคราะหเสาะสน ตางองคน ําความมิงามทูล พราะหมายใด แหง ธโดยมลู กษณะตรเิ หมาะไฉน สะดวกดาย แตกราวกาวรายกป็ ายปาม พจนยปุ ริยาย ทลี ะนอยตาม บเวน ครา สหกรณประดา ฟน เฝอ เช่ือนัยดนยั ตน ชทั้งหลาย สืบจะหมองมล มิตรภิทนะกระจาย กเ็ ปนไป แททา นวัสสการใน พระราชหฤทยวิสยั เสรมิ เสมอไป ระวงั กันฯ หลายอยา งตางกลธขวนขวาย วญั จโนบาย ครัน้ ลวงสามปป ระมาณมา ลิจฉวีรา สามัคคีธรรมทาํ ลาย สรรพเสอ่ื มหายน ตางองคท รงแคลงระแวงใน ผพู โิ รธใจ
ถอดความ สัทธรา ฉนั ทฯ 19 ในขณะนน้ั วสั สการพราหมณก ค็ อยยุลกู ศิษย แตงกลอบุ ายใหเกิดความแคลงใจ พระ โอรสกษัตริยลจิ ฉวที ั้งหลายไตรตรองในอาการนาสงสยั ก็เขาใจวาเปนจรงิ ดงั ถอยคําที่ อาจารยปนเรื่องขึ้น ไมมีเหลือเลยสักพระองคเ ดยี วทจ่ี ะมคี วามรักใครก ลมเกลยี ว ตา งขาด ความสมั พันธ เกิดความเดอื ดรอ นใจ แตละองคนาํ เรือ่ งไมดีที่เกดิ ขน้ึ ไปทลู พระบดิ าของตน ความแตกแยกกค็ อย ๆ ลุกลามไปสพู ระบดิ า เนื่องจากความหลงเชื่อโอรสของตน ปราศจาก การใครค รวญเกดิ ความผิดพองหมองใจกันขนึ้ ฝา ยวัสสการพราหมณครั้นเห็นโอกาสเหมาะ สมก็คอยยแุ หยอยา งงา ยดาย ทาํ กลอบุ ายตาง ๆ พูดยยุ งตามกลอบุ ายตลอดเวลา เวลาผาน ไปประมาณ ๓ ป ความรวมมอื กันระหวางกษตั รยิ ลิจฉวที งั้ หลายและความสามคั คีถกู ทําลาย ลงสน้ิ ความเปน มิตรแตกแยก ความเสอ่ื ม ความหายนะกบ็ ังเกดิ ขึ้น กษัตรยิ ตางองคร ะแวง แคลงใจ มคี วามขนุ เคอื งใจซึ่งกนั และกนั
สาลินี ฉนั ทฯ 20 พราหมณค รรู สู ังเกต ตระหนกั เหตุถนดั ครัน ราชาวัชชีสรร พจกั สูพนิ าศสม จะสัมฤทธมิ์ นารมณ ยินดบี ัดนี้กจิ และอตุ สาหแหง ตน เริม่ มาดว ยปรากรม ประชุมขัตติยม ณฑล กษตั รยิ สูสภาคาร ใหล องตีกลองนัด สดบั กลองกระหมึ ขาน เชญิ ซึ่งส่ําสากล ณกิจเพอื่ เสดจ็ ไป จะเรยี กหาประชมุ ไย วัชชภี ูมผี อง ก็ขลาดกลวั บกลาหาญ ทุกไทไ ปเ อาภาร และกลา ใครมิเปรียบปาน ประชมุ ชอบกเ็ ชิญเขา ตา งทรงรับสงั่ วา ไฉนน้ันก็ทําเนา เราใชเปนใหญใ จ บแลเห็นประโยชนเ ลย และทุกองคธเพิกเฉย ทา นใดที่เปนใหญ สมคั รเขา สมาคมฯ พอใจใครในการ ปรึกษาหารอื กัน จักเรยี กประชุมเรา รับสงั่ ผลักไสสง ไปไ ดไ ปด่งั เคย
ถอดความ สาลินี ฉันทฯ 21 พราหมณผูเปน ครูสงั เกตเห็นดงั นั้น กร็ วู าเหลา กษัตริยลิจฉวีกาํ ลงั จะประสบความ พนิ าศ จึงยนิ ดีมากทภี่ ารกิจประสบผลสาํ เรจ็ สมดงั ใจ หลังจากเรม่ิ ตนดวยความบากบั่น และความอดทนของตน จงึ ใหลองตีกลองนัดประชมุ กษตั รยิ ฉ วี เชิญทุกพระองคเ สดจ็ มายงั ทปี่ ระชมุ ฝายกษัตริยว ัชชีท้งั หลายทรงสดับเสยี งกลองดังกึกกอ ง ทุกพระองคไ ม ทรงเปนธุระในการเสดจ็ ไป ตางองครบั สงั่ วาจะเรียกประชุมดว ยเหตุใด เราไมไ ดเ ปน ใหญ ใจก็ขลาด ไมกลาหาญ ผูใดเปน ใหญ มีความกลาหาญไมมผี ูใดเปรียบได พอใจจะ เสด็จไปรว มประชมุ ก็เชิญเขาเถดิ จะปรกึ ษาหารอื กันประการใดกช็ างเถดิ จะเรยี กเรา ไปประชมุ มองไมเ ห็นประโยชนป ระการใดเลย รับสัง่ ใหพ น ตัวไป และทกุ พระองคก ็ ทรงเพกิ เฉยไมเสดจ็ ไปเขา รว มการประชุมเหมอื นเคย
อปุ ฎฐิตา ฉนั ทฯ 22 เหน็ เชิงพเิ คราะหชอง ชนะคลองประสบสม พราหมณเวทอดุ ม ธกล็ อบแถลงการณ คมดลประเทศฐาน ใหวลั ลภชน ภิเผา มคธไกร กราบทลู นฤบาล สนวากษัตรยิ ใน วลหลา ตลอดกนั แจงลักษณสา คณะแผกและแยกพรรค วัชชบี ุรไกร ทเสมือนเสมอมา ขณะไหนประหนึ่งครา บดั นี้สิก็แตก กบ็ ไดส ะดวกดี ไปเ ปนสหฉัน พยหุ ยาตรเสด็จกรี รยิ ยุทธโดยไวฯ โอกาสเหมาะสมัย นห้ี ากผจิ ะหา ขอเชญิ วรบาท ธาทพั พลพี
ถอดความ อุปฏ ฐติ า ฉนั ทฯ 23 เมอ่ื พจิ ารณาเหน็ ชอ งทางทจี่ ะไดชัยชนะอยา งงายดาย พราหมณผรู อบรพู ระเวทก็ ลอบสง ขาว ใหคนสนทิ เดินทางกลบั ไปยงั บานเมอื ง กราบทูลกษตั รยิ แ หง แควนมคธอนั ย่งิ ใหญ ในสาสนแ จงวา กษัตรยิ ว ชั ชีทกุ พระองคข ณะน้ีเกิดความแตกแยก แบง พรรคแบง พวก ไมสามัคคกี นั เหมอื นแตเ ดมิ จะหาโอกาสอนั เหมาะสมครง้ั ใดเหมอื นดงั ครัง้ นค้ี งจะไมมีอกี แลว ขอทูลเชิญพระองคยกกองทัพอนั ยงิ่ ใหญม าทําสงครามโดยเร็วเถิด
วชิ ชุมมาลา ฉันทฯ ทราบถึงบัดดล 24 ชาวเวสาลี ขาวเศิกเอิกอึง ชนบทบรู ี ในหมผู คู น หวาดกลัวท่วั ไป แทบทกุ ถิ่นหมด หมดเลือดส่นั กาย อกสน่ั ขวญั หนี วุน หวัน่ พรนั่ ใจ ซอ นตวั แตกภยั ตนื่ ตาหนาเผอื ด ท้งิ ยา นบา นตน หลบลี้หนีตาย ชาวคามลา ลาด ซกุ ครอกซอกครวั ขุนดา นตาํ บล เขาดงพงไพร คิดผนั ผอ นปรน มาคธขา มมา เหลอื จกั หา มปราม ปา วรอ งทนั ที พนั หวั หนาราษฎร รกุ เบยี นบฑี า หารอื แกกนั วัชชีอาณา จักไมใ หพ ล ปอ งกันฉนั ใด ไปมสี ักองค จ่ึงใหต กี ลอง เพอ่ื จกั เสดจ็ ไป แจงขา วไพรี เรียกนดั ทาํ ไม เพื่อหมูภูมี กลาหาญเห็นดี ชุมนุมบัญชา ราชาลจิ ฉวี อันนกึ จํานง ตา งองคดาํ รัส ใครเปนใหญใคร
วชิ ชุมมาลา ฉนั ทฯ 25 เชญิ เทอญทานตอง ขดั ขอ งขอ ไหน ปรึกษาปราศรัย ตามเรอ่ื งตามที สว นเราเลาใช เปน ใหญยังมี ใจอยางผภู ี รกุ ปราศอาจหาญ ความแขงอํานาจ ตา งทรงสําแดง แกงแยง โดยมาน สามคั คขี าด วัชชรี ัฐบาล ภูมศิ ลิจฉวี แมแตส ักองคฯ บชมุ นุมสมาน
ถอดความ วิชชุมมาลา ฉันทฯ 26 ขาวศึกแพรไ ปจนรถู งึ ชาวเมอื งเวสาลี แทบทกุ คนในเมอื งตางตกใจและหวาดกลวั กนั ไปทวั่ หนา ตาต่ืน หนาซีดไมม สี ีเลือด ตัวสั่น พากันหนีตายวุน วาย พากันอพยพครอบครวั หนภี ยั ท้งิ บา นเรือนไปซมุ ซอนตวั เสยี ในปา ไมส ามารถหา มปรามชาวบานได หัวหนาราษฎร และนายดานตาํ บลตา ง ๆ ปรกึ ษากนั คดิ จะยบั ยั้งไมใ หก องทพั มคธขา มมาได จงึ ตกี ลองปาว รองแจง ขาวขาศกึ เขา รกุ ราน เพ่อื ใหเหลา กษัตรยิ แ หง วัชชเี สด็จมาประชุมหาหนทางปองกัน ประการใด ไมมีกษัตรยิ ล ิจฉวแี มแตพระองคเดียวคิดจะเสด็จไป แตล ะพระองคทรงดํารสั วา จะเรียกประชมุ ดวยเหตใุ ด ผใู ดเปน ใหญ ผใู ดกลา หาญ เหน็ ดปี ระการใดก็เชญิ เถิด จะปรกึ ษาหารอื อยา งไรกต็ ามแตใจ ตัวของเรานนั้ ไมไ ดม อี าํ นาจย่งิ ใหญ จติ ใจกข็ ี้ขลาด ไม องอาจกลาหาญ แตละพระองคต างแสดงอาการเพิกเฉย ปราศจากความสามคั คปี รองดอง ในจิตใจ กษัตริยล ิจฉวีแหง วชั ชไี มเ สดจ็ มาประชมุ กนั แมแตพ ระองคเดียว
อนิ ทรวเิ ชียร ฉนั ทฯ ติยรชั ธํารง 27 นคเรศวสิ าลี ปน เขตมคธขตั พเิ คราะหเ หตุณธานี ยั้งทพั ประทับตรง ขณะเศิกประชิดแดน และมินกึ จะเกรงแกลน ภธู รธสงั เกต รณทพั ระงับภยั แหงราชวชั ชี บมทิ าํ ประการใด บุรวางและรา งคน เฉยดูบรูสึก สยคงกระทบกล คดิ จะตอบแทน ลุกระนีถ้ นัดตา คยิ พรรคพระราชา นิง่ เงียบสงบงาํ รจะพองอนัตถภ ยั ปรากฏประหนง่ึ ใน รกกาลขวางไป ดจุ กันฉะน้นั หนอ แนโดยมิพักสง กลแหยยดุ พี อ ทานวัสสการจน จะมริ าวมริ านกัน ธรุ ะจบธจึ่งบญั ภนิ ทพทั ธสามัค พทแกลวทหารหาญ ชาวลิจฉววี า ฬุคะเนกะเกณฑการ จรเขา นครบร ลูกขา งประดาทา อดศิ ูรบดีศร หมุนเลนสนกุ ไฉน ทิวรุงสฤษฎพ ลนั ครูวัสสการแส ปน ปว นบเหลอื หลอ คร้นั ทรงพระปรารภ ชานายนกิ ายสรร เรง ทําอฬุ มุ ปเว เพื่อขา มนทีธาร เขารับพระบณั ฑูร ภาโรปกรณต อน
อนิ ทรวิเชยี ร ฉันทฯ 28 จอมนาถพระยาตรา พยุหาธิทัพขันธ โดยแพและพวงปน พลขามณคงคา พศิ เนืองขนดั คลา จนหมดพหลเน่อื ง ลิบุเรศสะดวกดายฯ ขนึ้ ฝงลุเวสา ถอดความ อินทรวิเชียร ฉนั ทฯ จอมกษตั ริยแหงแควน มคธหยุดทัพตรงหนาเมืองเวสาลี พระองคทรงสังเกตวเิ คราะห เหตุการณทางเมืองวชั ชีในขณะทข่ี าศกึ มาประชดิ เมือง ดนู ่ิงเฉยไมรสู ึกเกรงกลวั หรอื คดิ จะทาํ สิง่ ใดโตตอบระงับเหตรุ า ย กลับอยูอยา งสงบเงยี บไมทาํ การสิง่ ใด มองดรู าวกบั เปน เมอื งรางปราศจากผคู น แนนอนไมตองสงสัยเลยวาคงจะถกู กลอุบายของวสั สการพรา หมณจ นเปน เชน นี้ ความสามัคคผี ูกพนั แหงกษัตรยิ ลิจฉวีถกู ทาํ ลายลงและจะประสบกบั ภัยพบิ ัติ ลูกขา งทีเ่ ด็กขวา งเลนไดสนุกฉนั ใด วัสสการพราหมณก็สามารถยุแหยใ หเ หลา กษตั ริยล จิ ฉวีแตกความสามคั คไี ดตามใจชอบและคดิ ที่จะสนกุ ฉนั นนั้ ครั้นทรงคิดไดดงั น้นั จึงมีพระราชบัญชาแกเ หลาทหารหาญใหรีบสรา งแพไมไผเพอ่ื ขามแมนํา้ จะเขาเมอื ง ของฝา ยศตั รู พวกทหารรบั ราชโองการแลว ก็ปฏิบัตภิ ารกจิ ทไ่ี ดรบั ในตอนเชางานนน้ั ก็ เสรจ็ ทันที จอมกษัตริยเ คลือ่ นกองทพั อันมกี าํ ลงั พลมากมายลงในแพทีต่ ิดกัน นํากําลงั ขามแมน ํ้าจนกองทพั หมดสน้ิ มองดแู นนขนดั ขน้ึ ฝง เมอื งเวสาลีอยางสะดวกสบาย
จิตรปทา ฉนั ทฯ 29 นาครธา นิวสิ าลี เหน็ รปิ มี พลมากมาย ขามตริ ชล กล็ พุ น หมาย มงุ จะทลาย พระนครตน มนอกเตน ตางกต็ ระหนก ตะละผคู น ตน่ื บมิเวน มจลาจล ทว่ั บรุ คา อลเวงไป เสยี งอลวน มขุ มนตรี รกุ เภทภยั สรรพสกล ทรปราศรัย ตรอมมนภี ขณะนีห้ นอ บางคณะอา พระทวารม่ัน ยังมกิ ระไร อรกิ อนพอ ชสภารอ ควรบรบิ าล ตา นปะทะกัน วรโองการ ขัตติยรา ก็จะไดทํา ดํารจิ ะขอ รสั ภบู าล กเ็ คาะกลองขาน ทรงตริไฉน ดจุ กลองพงั โดยนยดาํ เสวกผอง อาณัตปิ าน
จติ รปทา ฉันทฯ 30 ศัพทอโุ ฆษ ประลุโสตทาว ลิจฉวดี า ว ขณะทรงฟง ตา งธก็เฉย และละเลยดงั ไทมอิ นิ ัง ธุระกับใคร ณสภาคา ตางก็บคลา บุรทวั่ ไป แมพระทวาร และทวารใด รอบทิศดาน สจิ ะปดมฯี เหน็ นรไหน ถอดความ จติ รปทา ฉนั ทฯ ฝายเมืองเวสาลีมองเหน็ ขาศึกจํานวนมากขามแมน ํ้ามาเพ่อื จะทาํ ลายลา งบา น เมอื งของตน ตา งก็ตระหนกตกใจกนั ถวนหนา ในเมืองเกิดจลาจลวุนวายไปทัว่ เมอื ง ขา ราชการชั้นผใู หญตางหวาดกลวั ภยั บางพวกก็พูดวาขณะนย้ี ังไมเ ปนไรหรอก ควรจะ ปอ งกนั ประตเู มืองเอาไวใ หม่นั คง ตานทานขา ศกึ เอาไวก อน รอใหท ปี่ ระชมุ เหลา กษตั รยิ มคี วามเห็นวาจะทรงทาํ ประการใด กจ็ ะไดดาํ เนินการตามพระบญั ชาของพระองค เหลา ขา ราชการทัง้ หลายกต็ ีกลองสญั ญาณข้ึนราวกบั กลองจะพงั เสยี งดงั กกึ กอ งไปถึงพระกร รณกษตั ริยลจิ ฉวี ตางองคทรงเพกิ เฉยราวกบั ไมเ อาใจใสใ นเรือ่ งราวของผใู ด ตา งองคไม เสดจ็ ไปที่ประชมุ แมแ ตประตูเมืองรอบทิศทกุ บานกไ็ มม ีผูใ ดปด
สทั ทลุ วิกกีิต ฉันทฯ 31 จอมทพั มาคธราษฎร ธ ยาตรพยุหกรี ธาสวู สิ าลี นคร โดยทางอันพระทวารเปด นรนิกร รอตอรอน อะไร เบือ้ งนั้นทานครุ วุ สั สการทชิ ก็ไป นําทัพชเนนทรไ ท มคธ เขา ปราบลิจฉวิขตั ติยร ัฐชนบท สเู งื้อมพระหัตถห มด และโดย ไปพ ักตองจะกะเกณฑน กิ ายพหลโรย แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ ราบคาบเสรจ็ ธ เสด็จลุราชคฤหอตุ คมเขตบุเรศดจุ ณ เดิม เรื่องตนยกุ ติกแ็ ตจ ะตอ พจนเตมิ ภาษติ ลิขิตเสรมิ ประสงค ปรุงโสตเปน คตสิ ุนทราภรณจง จบั ขอประโยชนตรง ตรดิ ู
ถอดความ สทั ทุลวิกกี ติ ฉันทฯ 32 จอมทพั แหง แควน มคธกรธี าทัพเขาเมืองเวสาลที างประตเู มอื งทเี่ ปดอยโู ดยไมมผี คู นหรอื ทหารตอสูประการใด ขณะนัน้ วัสสการพราหมณผ เู ปนอาจารยก็ไปนําทพั ของกษัตรยิ แหงมคธเขามาปราบกษัตริยล ิจฉวี อาณาจกั รทง้ั หมดกต็ กอยูในเงอ้ื มพระหตั ถ โดยที่ กองทัพไมต อ งเปลืองแรงในการตอสู ปราบราบคาบแลวเสด็จยงั ราชคฤหเมอื งยิ่งใหญดัง เดมิ เน้อื เรือ่ งแตเดมิ จบลงเพยี งนี้ แตป ระสงคจะแตง สุภาษติ เพม่ิ เตมิ ใหไ ดรบั ฟงเพอื่ เปน คตอิ นั ทรงคุณคา นาํ ไปคิดไตรตรอง
อนิ ทรวิเชยี ร ฉนั ทฯ 33 อนั ภบู ดรี า ชอชาตศัตรู ไดล ิจฉวภี ู วประเทศสะดวกดี วรราชวัชชี แลสรรพบรรดา ฑอนัตถพินาศหนา ถงึ ซง่ึ พบิ ตั ิบี คณะแตกและตา งมา หสโทษพโิ รธจอง เหีย้ มนนั้ เพราะผันแผก ทนสนิ้ บปรองดอง ถือทฐิ ิมานสา ตรมิ ลักประจกั ษเจือ รสเลา ก็งา ยเหลือ แยกพรรคสมรรคภนิ คติโมหเปน มลู ขาดญาณพจิ ารณต รอง ยนภาวอาดูร ยศศักดเิ สือ่ มนาม เช่อื อรรถยุบลเอา ครุ ุวัสสการพราหมณ เหตหุ ากธมากเมือ กลงาํ กระทํามา จง่ึ ดาลประการหา เสยี แดนไผทสญู ควรชมนิยมจัด เปนเอกอบุ ายงาม
ถอดความ อินทรวเิ ชียรฉนั ท 34 พระเจาอชาตศตั รไู ดแ ผน ดินวัชชีอยางสะดวก และกษัตรยิ ล ิจฉวที งั้ หลายกถ็ งึ ซงึ่ ความ พินาศลม จม เหตุเพราะความแตกแยกกนั ตางกม็ คี วามยึดมนั่ ในความคดิ ของตน ผกู โกรธ ซ่ึงกนั และกัน ตา งแยกพรรค แตกสามคั คกี นั ไมป รองดองกัน ขาดปญญาทีจ่ ะพิจารณา ไตรต รอง เชื่อถอยความของบรรดาพระโอรสอยา งงายดาย เหตุท่เี ปน เชนนน้ั เพราะ กษตั รยิ แ ตละพระองคทรงมากไปดวยความหลง จึงทําใหถ ึงซง่ึ ความฉิบหาย มภี าวะความ เปนอยูอันทกุ ขระทม เสยี ท้งั แผน ดนิ เกยี รตยิ ศ และชอื่ เสยี งท่เี คยมอี ยู สวนวัสสการพรา หมณน้ันนา ช่ืนชมอยางยิ่งเพราะเปนเลิศในการกระทํากลอุบาย
อนิ ทรวเิ ชียรฉันท 11 35 พุทธาทบิ ัณฑติ พเิ คราะหคิดพนิ ิจปรา รภสรรเสริญสา ธสุ มัครภาพผล สุกภาวมาดล วาอาจจะอวยผา บนริ าศนิรนั ดร ดีสูณ หมตู น คยพรรคสโมสร คุณไรไ ฉนดล หมูใดผสิ ามคั เพราะฉะนนั้ แหละบคุ คล ไปป ราศนิราศรอน ธรุ ะเก่ยี วกะหมเู ข มุขเปน ประธานเอา พรอมเพรียงประเสรฐิ ครัน บมิเหน็ ณฝา ยเดียว ผหู วงั เจรญิ ตน นรอ่ืนกแ็ ลเหลียว มิตรภาพผดงุ ครอง พึงหมายสมัครเปน ทมผอนผจงจอง ธูรทั่วณตวั เรา มนเมอ่ื จะทําใด ลุกป็ น ก็แบงไป ควรยกประโยชนย ืน่ สจุ ริตนิยมธรรม ดบู า งและกลมเกลยี ว สปุ ระพฤติสงวนพรร อุปเฉทไมตรี ย้ังทิฐมิ านหยอน ผิบไรสมคั รมี อารีมมิ ีหมอง รววิ าทระแวงกัน ลาภผลสกลบรร ตามนอ ยและมากใจ พึงมรรยาทยึด ร้อื ริษยาอนั ด่ังน้ันณหมูใด พรอ มเพรียงนพิ ทั ธน ี
อนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท 11 36 หวงั เทอญมิตอ งสง สยคงประสบพลนั ซึ่งสขุ เกษมสันต หติ ะกอบทวิกา มนอาจระรานหาญ ใครเลาจะสามารถ ก็เพราะพรอ มเพราะเพรียงกัน หักลางบแหลกลาญ นรสงู ประเสรฐิ ครัน เฉพาะมชี ีวคี รอง ปว ยกลาวอะไรฝงู ผิวใครจะใครล อง สรรพสัตวอัน พลหักกเ็ ต็ม สละลณี้ หมตู น แมม ากผิก่งิ ไม บมพิ รอมมเิ พรียงกนั มัดกาํ กระน้นั ปอง สขุ ทงั้ เจรญิ อัน ลุไฉนบไดม เหลาไหนผไิ มตรี พภยันตรายกลี กิจใดจะขวายขวน ตปิ ระสงคกค็ งสม คณะเปนสมา อยา ปรารถนาหวัง ภนพิ ทั ธรําพึง มวลมาอบุ ัตบิ รร ผวิ มีกค็ ํานึง จะประสบสุขาลยั ฯ ปวงทกุ ขพ ิบตั สิ รร แมป ราศนยิ มปรี ควรชนประชุมเชน สามัคคปิ รารม ไปม กี ใ็ หมี เน่ืองเพอ่ื ภยิ โยจงึ
ถอดความ อินทรวิเชยี รฉนั ท11 37 ผูรทู ้ังหลายมีพระพุทธเจาเปนตน ไดใครครวญพจิ ารณากลา วสรรเสริญวาชอบแลว ในเรือ่ ง ผลแหงความพรอ มเพรียงกนั ความสามัคคอี าจอํานวยใหถงึ ซ่ึงสภาพแหงความผาสุก ณ หมูของตนไมเสื่อมคลายตลอดไป หากหมใู ดมคี วามสามคั ครี ว มชุมนุมกนั ไมหา งเหนิ กนั สิ่งทไี่ รประโยชนจ ะมาสูไดอ ยา งไร ความพรอมเพรียงนัน้ ประเสริฐย่ิงนกั เพราะฉะน้นั บคุ คลใดหวงั ทีจ่ ะไดรบั ความเจริญแหง ตนและมกี จิ ธุระอนั เปนสว นรวม กพ็ งึ ตั้งใจเปน หัวหนาเอาเปนธรุ ะดวยตัวของเราเองโดยมเิ ห็นประโยชนตนแตฝ ายเดียว ควรยก ประโยชนใ หบุคคลอ่ืนบา ง นึกถงึ ผอู ื่นบา ง ตองกลมเกลียว มคี วามเปน มติ รกันไว ตองลด ทิฐมิ านะ รูจกั ขม ใจ จะทําสิง่ ใดกเ็ อ้อื เฟอกนั ไมมีความบาดหมางใจ ผลประโยชนท้ังหลาย ทีเ่ กดิ ขึ้นก็แบงปนกันไป มากบา งนอยบา งอยางเปน ธรรม ควรยดึ มนั่ ในมารยาทและความ ประพฤติทด่ี งี าม รักษาหมูคณะโดยไมม คี วามริษยากันอันจะตัดรอนไมตรี ดงั นน้ั ถาหมู คณะใดไมขาดซ่งึ ความสามัคคี มีความพรอมเพรียงกันอยูเสมอ ไมม ีการวิวาท และระแวง กนั กห็ วงั ไดโ ดยไมตองสงสัยวา คงจะพบซึง่ ความสุข ความสงบ และประกอบดว ย ประโยชนมากมาย ใครเลาจะมีใจกลาคิดทําสงครามดวย หวงั จะทาํ ลายลา งกไ็ มได ทั้งนี้ เพราะความพรอ มเพรยี งกนั นนั่ เอง กลาวไปไยกบั มนษุ ยผูประเสรฐิ หรอื สรรพสตั วทีม่ ชี วี ิต แมแ ตกิ่งไมหากใครจะใครล องเอามามดั เปน กาํ ต้ังใจใชก ําลังหกั กย็ ากเต็มทน หากหมูใด ไมมีความสามัคคีในหมูค ณะของตน และกจิ การอันใดท่จี ะตองขวนขวายทาํ กม็ พิ รอม เพรยี งกัน กอ็ ยาไดหวงั เลยความสุขความเจริญจะเกดิ ข้ึนไดอยา งไร ความทุกขพ บิ ตั ิ อนั ตรายและความชั่วรา ยทั้งปวง ถงึ แมจ ะไมต อ งการกจ็ ะตอ งไดร บั เปน แนแ ท ผทู ี่อยูรวม กันเปน หมคู ณะหรอื สมาคม ควรคํานึงถึงความสามคั คอี ยเู ปน นจิ ถา ยงั ไมม ีกค็ วรจะมีข้นึ ถา มอี ยูแ ลว กค็ วรใหเ จรญิ รงุ เรอื งย่ิงขึน้ ไปจึงจะถงึ ซง่ึ ความสุขความสบาย
อธิบายคาํ ศัพท 38 กถา ถอ ยคาํ กลหเ หตุ เหตแุ หงการทะเลาะ กสิก ไกวล ชาวนา ขตั ตยิ คดี ทั่วไป คม ชเนนทร พระเจาแผน ดนิ ทม เรื่อง ทลิทภาว ไป ท่ัวบุรคาม ทชิ (ชน+อนิ ทร) ผเู ปน ใหญในหมชู น ความขม ใจ ยากจน ทัว่ บานทั่วเมอื ง บางทีก็ใชวา ทวชิ ทชิ งค ทชิ าจารย ทวชิ งค หมายถึง ผเู กิดสองครัง้ คอื พราหมณื กลา วคอื เกดิ เปนคนโดย ทัว้ ไปครงั้ หนงึ่ และเกิดเปน พราหมณโดยตําแหนงอกี ครั้ง
ทิน วัน 39 นครบร เมอื งของขา ศึก นย,นยั เคาความ ความหมาย นยมาน ใจความสาํ คญั (มาน=หวั ใจ) นรนิกร ฝงู ชน นฤพัทธ,นพิ ัทธ เนอื งๆ เสมอ เนอื่ งกัน นฤสาร ไมม ีสาระ นวิ ัต กลบั นรี ผล ไมเปนผล ประเด มอบใหห มด ประศาสน การส่ังสอน ปรากรม ความเพยี ร ตกแตง ใหไ พเราะนา ฟง ปรงุ โสต หายไป ปลาต บางท่ีใช ปวัตต์ิ หมายถึง ปวัตน ความเปน ไป
พฤฒิ 40 พิเฉท ผูเ ฒา หมายถึง วัสสการพราหมณ พชิ าการ ทาํ ลาย การตัดขาด พทุ ธาทบิ ัณฑิต วิชาความรู ภตั ผูรู มีพระพุทธเจาเปน ตน ภาโรปกรณ ขา ว ภินทพทั ธสามัคคยิ (จัดทาํ ) เครื่องมือตามทไ่ี ดร ับมอบ หมาย ภิยโย ภีรกุ การแตกสามคั คี ภนิ ท แปลวา ภูมศิ แตกแยก พทั ธ แปลวา ผกู พนั สา มน มัคคยิ แปลวา สามัคคี มนารมณ มาน ยิง่ ข้ึนไป ขลาด กลัว พระราชา ใจ สมดังทค่ี ดิ หรอื สมดังใจ ความถอื ตวั ในความวา \"แกง แยง โดยมาน\"
ยกุ ติ ยตุ ิ จบสิน้ 41 รหฐุ าน ลกั ษณสาสน รโหฐาน หมายยถงึ ท่สี งัด ทล่ี ับ เลา คอื ลักษณและสาสน หมายถึง วญั จโนบาย จดหมาย วลั ลภชน วิรธุ รูปความ ขอความ เคา สมรรคภนิ ทน สมัครภาพ อุบายหลอกลวง สหกรณ สํ่า คนสนิท สิกขสภา สุขาลยั ผิดปกติ เสาวน เสาวภาพ การแตกสามคั คี หายน, หายน ความสมัครสมานสามคั คี หมเู หลา หมู พวก หองเรียน ที่ที่มคี วามสุข ฟง สุภาพ ละมุนละมอ ม ความเสอ่ื ม
หิตะ ประโยชน 42 เห้ยี มนน้ั เหตุน้นั อนัตถ ไมเ ปน ประโยชน อนกุ รม ตามลาํ ดบั อภิเผา ผเู ปนใหญ อาคม มา มาถงึ อปุ เฉทไมตรี ตดั ไมตรี อรุ ส โอรส ลกู ชาย อฬุ มุ ปเวฬุ แพไมไผ เอาธูร เอาใจใสเปนธุระ เอาภาร รบั ภาระ รบั ผิดชอบ
ง ๑. กลั ยาณี ถนอมแกว . ๒๕๕๓. ถอดความสามคั คีเภทคําฉันทในบทเรยี น (๑). สบื คน ๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๔, จาก https://www.gotoknow.org/posts/330820 ๒. กลั ยาณี ถนอมแกว . ๒๕๕๓. ถอดความสามคั คเี ภทคาํ ฉนั ทใ นบทเรยี น (๒). สืบคน ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๔, จาก https://www.gotoknow.org/posts/330832 ๓. กัลยาณี ถนอมแกว. ๒๕๕๓. ถอดความสามคั คีเภทคาํ ฉนั ทใ นบทเรียน (๓). สบื คน ๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๔, จาก https://www.gotoknow.org/posts/332007 ๔. กลั ยาณี ถนอมแกว. ๒๕๕๓. ถอดความสามคั คีเภทคาํ ฉันทในบทเรียน (๔). สืบคน ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๔, จาก https://www.gotoknow.org/posts/332012 ๕. กลั ยาณี ถนอมแกว . ๒๕๕๓. ถอดความสามคั คเี ภทคาํ ฉันทใ นบทเรียน (๕). สืบคน ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๔, จาก https://www.gotoknow.org/posts/332031 ๖. กัลยาณี ถนอมแกว . ๒๕๕๓. ถอดความสามัคคเี ภทคําฉนั ทในบทเรยี น (๖). สืบคน ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๔, จาก https://www.gotoknow.org/posts/328193 ๗. กลั ยาณี ถนอมแกว . ๒๕๕๓. ถอดความสามคั คเี ภทคาํ ฉนั ทในบทเรียน (๗). สบื คน ๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๖๔, จาก https://www.gotoknow.org/posts/328970 ๘. ณฐั ชยา เพช็ รรตั น. ๒๕๕๙. สามคั คเี ภทคาํ ฉนั ท. สืบคน ๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๔, จาก https://sites.google.com/a/watpa.ac.th/krunatchaya/bi-khwam-ru- reuxng-samakhkhi-pheth-kha-chanth
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: