ประวัตศิ าสตร์ ๓ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี กล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี การสรา้ งสรรคภ์ ูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทย สมัยรตั นโกสินทร์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ • วเิ คราะหภ์ มู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ และอิทธพิ ลตอ่ การพัฒนาชาตไิ ทยได้
ความหมายของภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญา • ความรู้ ความคดิ ความเชื่อ ทกี่ ล่มุ ชนไดจ้ ากประสบการณ์ • ระบบความเช่อื ระบบคณุ คา่ และวถิ ชี ีวติ ท้ังหมด เมอื่ กลา่ วถงึ ทส่ี ่ังสมไว้ในการปรบั ตวั และการดารงชวี ิตมีทงั้ ภมู ิปญั ญา ภมู ปิ ัญญาก็เปน็ ลกั ษณะส่วนหน่งึ ของวฒั นธรรม และเม่อื อนั เกดิ จากประสบการณใ์ นพ้นื ท่ี ภูมปิ ญั ญาที่มาจาก กลา่ วถึงวัฒนธรรมกจ็ าเปน็ ตอ้ งกล่าวถงึ ภมู ปิ ัญญาดว้ ย ภายนอก และภมู ิปัญญาที่ผลติ ใหม่หรือผลติ ซ้าเพ่ือการ แกป้ ัญหาให้สอดคล้องกับความจาเป็นและความ เปล่ยี นแปลง
ปจั จัยพืน้ ฐานทมี่ ีอทิ ธิพลต่อการสร้างสรรคภ์ มู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย สภาพภูมิศาสตร์ ลักษณะของสงั คม และสภาพแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม • แต่ละภมู ภิ าคของประเทศมีสภาพภมู ศิ าสตร์และ • สังคมไทยเป็นสงั คมแห่งความเสมอภาคภายใต้ อากาศทีแ่ ตกตา่ งกนั รัฐธรรมนญู • ทาใหค้ นไทยต้องแก้ปัญหาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ • คนไทยสว่ นใหญ่นบั ถอื พระพทุ ธศาสนา มีวังและ ภมู ิศาสตร์ส่ิงแวดลอ้ ม วดั เปน็ ศูนยก์ ลางการสรา้ งสรรค์ศิลปวฒั นธรรม
ตวั อยา่ งการสร้างสรรค์ภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั รตั นโกสินทร์ การแพทย์แผนไทย • การใช้สมนุ ไพรในการรักษาโรค ไดม้ าจากการทดลองคดิ ค้นคณุ สมบตั ิของพืช สตั ว์ และธาตุท่มี อี ย่ตู าม ธรรมชาติ • การบรหิ ารรา่ งกาย เรียกว่า ฤๅษดี ัดตน • การนวดประคบ เป็นการจบั เสน้ ด้วยมอื หรือใชอ้ ุปกรณต์ า่ งๆ เพอ่ื ช่วยบาบัดรักษาโรค จารึกตารายาวดั ราชโอรสาราม นับเปน็ ตาราการแพทยแ์ ผนไทย ซ่งึ เปน็ มรดกทาง ภมู ปิ ัญญาอันล้าคา่ ของชาติไทยทีค่ วรรักษาให้คงอย่สู บื ตอ่ ไป
การทอผา้ พน้ื บ้าน เปน็ หตั ถกรรมในครัวเรอื นทสี่ ืบทอดต่อกนั มา สะท้อนให้เห็นถึงวฒั นธรรมไทย ดงั น้ี • รู้จกั นาวสั ดธุ รรมชาตทิ ่ีมอี ยใู่ นทอ้ งถิ่นมาใชใ้ นการทอผ้า • รจู้ กั ประดิษฐล์ วดลายลงบนผนื ผา้ • อาศัยแรงงานคนในครอบครัวแทนเครอ่ื งจักรในการทอเครือ่ งนุ่งห่มใช้ในครอบครวั การทอผ้ามดั หมี่ นบั เปน็ ภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยทางด้านศลิ ปหตั ถกรรม ทมี่ ีความสวยงามมาตง้ั แต่อดีตจนถงึ ปัจจบุ นั
ขา้ วในวัฒนธรรมไทย • ข้าวเป็นบอ่ เกิดของความเช่อื ประเพณี และพิธีกรรมต่างๆ เชน่ พิธีไหว้แมโ่ พสพ พิธเี ล้ียงผีตาแฮก พิธีบชู าแม่ธรณี • พระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวญั เพอ่ื เปน็ สิริมงคลและขวัญกาลังใจให้แกเ่ กษตรกร เมลด็ ข้าวหอมมะลิ เป็นพันธุข์ า้ วของไทยทีด่ ที ส่ี ดุ ประเพณไี หว้แม่โพสพ เปน็ การแสดงความเคารพตอ่ แมโ่ พสพ ซึ่งไดร้ บั การยอมรบั จากนานาชาติ ซง่ึ เป็นธรรมเนียมที่ปฏิบัติสบื ต่อกนั มาชา้ นาน
งานเครอื่ งไมจ้ าหลกั • ใช้เพ่อื ประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมตา่ งๆ ภาพจาหลักส่วนใหญ่เปน็ เทพยดารักษาประตูโบสถ์ หรอื รกั ษาโบสถ์ • สะทอ้ นถึงความสามารถของชา่ งไทยท่สี ร้างสรรค์ผลงานดว้ ยความประณตี เป็นพเิ ศษ และได้สบื ทอด มาถึงอนุชนรนุ่ หลงั งานจาหลกั ไม้ทบ่ี านประตูอโุ บสถวัดระฆงั โฆสติ ารามแสดงให้เห็นถึงความสวยงามและประณตี บรรจงในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานของชา่ งไทย
วรรณกรรมในรัชกาลท่ี ๖ • รชั กาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์งานวรรณกรรมหลายประเภททีม่ ีคุณคา่ เช่น ประเภทวรรณคดี บทละคร ศาสนา ประวตั ิศาสตร์และโบราณคดี การเมอื ง กฎหมาย เปน็ ตน้ • บทพระราชนพิ นธ์ในรชั กาลที่ ๖ สะท้อนถงึ ความเจรญิ ทางด้านสติปญั ญาและความคดิ ของคนไทย ทแ่ี สดง ออกมาในรปู แบบของวรรณคดี รวมถึงเปน็ แหล่งความรใู้ นด้านตา่ งๆ ท่สี ามารถนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ใน ชวี ิตได้ ตวั อย่างบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี ๖ นอกจากจะมีความไพเราะงดงามทางดา้ นวรรณศิลปแ์ ลว้ ยังปลูกจติ สานกึ ในความรกั ชาตดิ ้วย
วรรณกรรมเก่ียวกับอาหารไทยของชนชนั้ สูง กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน • พระราชนพิ นธ์ในรัชกาลที่ ๒ • แสดงถงึ ความงามของวรรณคดีท่สี ะท้อนถึงความประณตี ความละเอียดอ่อนของคนไทยในการทาอาหาร ตาราแม่ครัวหัวป่ าก์ • รวบรวมและเรียบเรยี งโดยทา่ นผ้หู ญงิ เปล่ียน ภาสกรวงศ์ • เปน็ ตาราท่รี วบรวมอาหารทีเ่ จ้านายและขุนนางปรงุ สาหรับรับประทานและสบื ทอดกนั มาเป็นองคค์ วามรู้ เกยี่ วกับอาหาร
สถาปัตยกรรมช่างสบิ หมู่ • รชั กาลท่ี ๑ โปรดเกล้าฯ ให้จัดตัง้ และวางระเบียบของกรมช่างสิบหมูท่ ่ีเคยมมี าแตค่ รงั้ กรุงศรอี ยุธยา เพอื่ ประโยชนใ์ นการก่อสร้างพระบรมมหาราชวงั พระที่น่ัง และวดั ต่างๆ • เพื่อดารงไว้ซง่ึ ศลิ ปวฒั นธรรมอันล้าคา่ ของไทย เช่น พระมหาปราสาทและพระราชมณเฑยี ร ในพระบรมมหาราชวงั เป็นตน้ • สะทอ้ นถึงวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยด้านสถาปตั ยกรรม ทีบ่ รรดาช่างสิบหมู่ของไทยไดส้ รา้ งสรรค์ เอาไว้เป็นมรดกให้คนรุ่นหลังต่อมา พระทนี่ ่ังดุสติ มหาปราสาท ถือเป็นสถาปัตยกรรมชน้ั เอกของกรุงรตั นโกสนิ ทร์ โดยเปน็ พระที่น่ัง ทรงไทยแทอ้ งคเ์ ดียวในพระบรมมหาราชวงั
ตวั อย่างบคุ คลสาคญั ในการสรา้ งสรรค์ภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทย พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระราชพธิ ีเสด็จพระราชดาเนินถวายผ้าพระกฐนิ โดยกระบวน พยุหยา ตราทางชลมารค ได้รบั การฟน้ื ฟูขน้ึ มาใหม่ ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๐๒ เป็นตน้ มา ทรงพระอักษรและทรงพระราชนพิ นธ์หนังสอื แปลหลายเรอ่ื ง ทรงส่งเสริมศลิ ปวฒั นธรรมไทยทุกแขนง รวมทัง้ ภาษาไทยซึง่ เปน็ ภาษาประจาชาติ ทรงฟ้ืนฟูพระราชพิธสี าคญั เชน่ พระราชพิธีจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ พระราชพธิ เี สด็จพระราชดาเนนิ ถวายผา้ พระกฐิน โดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เป็นต้น
สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ์ิ พระบรมราชินีนา ภาคกลาง ทรงฟ้นื ฟกู ารป้นั ต๊กุ ตาชาววงั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ทรงฟืน้ ฟูลายมดั หมี่แบบโบราณ ภาคเหนอื ทรงฟน้ื ฟกู ารทอผา้ ไหม ผ้ายก ผา้ ตนี จก และงานเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย ภาคใต้ ทรงฟนื้ ฟศู ลิ ปะการจกั สานย่านลิเภา การถมเงิน ถมทอง การแกะสลักหนงั ตะลงุ
พระยาอนุมานราชธน • เปน็ ประธานกรรมการชาระปทานุกรม ทาอกั ขรานุกรมภูมิศาสตรไ์ ทย บญั ญัติศัพทภ์ าษาต่างประเทศเปน็ ภาษาไทย และทาสารานุกรมไทย • ผลงานทสี่ าคัญ เช่น หนังสอื ชีวติ ชาวไทยสมัยกอ่ นและการศกึ ษาเร่ืองประเพณไี ทย หนงั สือการศกึ ษาวรรณคดี แงว่ รรณศิลป์ หนังสือศาสนาเปรียบเทียบ พระยาอนมุ านราชธน นกั ปราชญ์ผู้มคี ุณปู การอย่างใหญ่หลวงต่อวงวิชาการของไทย
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: