Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore M1-หน่วย3_กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

M1-หน่วย3_กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

Published by onsansee, 2021-08-30 17:53:28

Description: M1-หน่วย3_กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคล

Search

Read the Text Version

หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๓หน่วยการเรียนรู้ท่ี กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม กฎหมาย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ค้มุ ครองสทิ ธขิ องบคุ คล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ • ปฏบิ ัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธิของบคุ คลได้

ความสาคญั ของกฎหมาย คมุ้ ครองสทิ ธิของบคุ คล ส่งเสริมให้ทกุ คนเหน็ ความสาคญั ทาใหม้ กี ารกาหนด ประชาชน ส่งเสรมิ ทาใหป้ ระชาชน และปฏบิ ตั ติ อ่ กนั อย่างเหมาะสม แนวทางการ ไดเ้ ข้าถึงขอ้ มูล ให้ประชาชนมี ไดร้ บั การคุม้ ครอง เชน่ กฎหมายคุม้ ครองเด็ก ก็จะ พัฒนาคุณภาพ ข่าวสารตา่ งๆ โอกาสร่วมมือกนั สิทธทิ พี่ งึ ได้รบั ตาม มีบทบัญญตั ิสาคญั ในการปกปอ้ ง ซงึ่ เป็นประโยชน์ คิดสรา้ งสรรค์ ของประชาชนชาว ตอ่ การบริโภค เชน่ สิง่ ตา่ งๆ อนั จะ กฎหมาย คุ้มครองเด็ก ไทยทางดา้ น เปน็ ประโยชน์ ไม่ถกู เอารัด กฎหมาย เอาเปรยี บ หรือไม่ การศกึ ษาตามสทิ ธิ คุ้มครองผ้บู ริโภค ต่อสงั คม ถกู ละเมิดสิทธิทพี่ ึง ที่พงึ ไดร้ ับ ประเทศชาติ ไดร้ ับ และโลก เยาวชนไทยไม่วา่ จะอยทู่ ่ีใด นับถือศาสนาใด ก็ย่อมจะไดร้ ับ ทาใหป้ ระชาชนไดร้ บั การคุม้ ครองทรัพย์สนิ การคุ้มครองและพฒั นาใหม้ คี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดี ของตนเอง เมื่อทุกคนสามารถ ใช้ทรพั ยส์ นิ ของตนเอง ทาให้ประชาชนรู้สึกปลอดภัย ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ และคมุ้ คา่ ในการดารงชวี ิตในสงั คม การท่คี นไทยมีสิทธิในการศกึ ษา ทาให้สามารถพัฒนา คุณภาพของประชากรให้สูงขึ้นเพ่ือท่ีจะนาความรู้ไปพฒั นา ประเทศชาติได้อยา่ งย่ังยนื ตอ่ ไป

กฎหมายคมุ้ ครอง สทิ ธขิ องบุคคลทีส่ าคญั กฎหมายคุ้มครองสิทธิของบุคคลเปน็ เคร่อื งมอื ของรัฐ ที่กาหนดขน้ึ เป็นมาตรฐาน เพือ่ การอยูร่ ่วมกนั อยา่ ง ในการให้ความคุ้มครอง สงบสขุ สิทธขิ องบคุ คล กฎหมายคุ้มครองสทิ ธิของบุคคลทคี่ วรเรียนรู้ เช่น • กฎหมายคุ้มครองเดก็ • กฎหมายการศึกษา • กฎหมายคุม้ ครองผูบ้ ริโภค และกฎหมายลขิ สิทธิ์

กฎหมายคุม้ ครองเดก็ เด็ก ตามพระราชบัญญตั ิค้มุ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ หมายความว่า “บุคคลซ่ึงมีอายุต่ากว่า สิบแปดปีบรบิ ูรณ์ แต่ไมร่ วมถงึ ผ้ทู ่ีบรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส” หลักการและแนวคดิ สาคัญๆ เก่ยี วกบั สิทธิเดก็ • เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของเดก็ และไม่เลอื กปฏิบัติ • ยอมรับนบั ถืออานาจปกครองของบิดามารดาหลกั การทว่ี ่าเด็ก ย่อมเหมาะสมทจ่ี ะอยู่รว่ มกับบดิ ามารดาผู้ให้กาเนิด • แทรกแซงอานาจปกครองของบดิ ามารดาโดยอานาจรัฐ ต้องเปน็ ไปเพ่อื ประโยชน์สูงสุดของเด็ก เด็กย่อมได้รับการเลี้ยงดู และพฒั นาการตามวัยอยา่ ง เหมาะสม เพื่อการเจรญิ เตบิ โตเป็นบคุ คลที่มีคณุ ภาพ

บทบาทหน้าท่ที ี่พงึ ปฏบิ ัตติ ่อเดก็ • ให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสง่ั สอน และพัฒนาเดก็ ท่ีอย่ใู นความปกครอง บทบาทหน้าท่ีของผปู้ กครอง ดแู ลของตนตามความสมควร ผู้ปกครองมีหนา้ ทีใ่ ห้การอปุ การะเล้ียงดู และให้ • การอปุ การะเลย้ี งดอู บรมสง่ั สอนและพัฒนาน้ันต้องไมต่ ่ากว่ามาตรฐานขน้ั การศกึ ษาตลอดจนสง่ เสรมิ ให้บตุ รหลานได้ทากจิ กรรมท่ี ตา่ ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง เป็นประโยชน์ท้ังตอ่ ตนเองและสังคมส่วนรวม • ค้มุ ครองสวสั ดิภาพเดก็ ท่ีอยู่ในความปกครองดแู ลของตนไมใ่ ห้ตกอยู่ ในภาวะอันนา่ จะเกดิ อันตรายแกร่ า่ งกายหรือจติ ใจ • ไม่ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรบั เลี้ยงเด็กหรือสถานพยาบาล หรือไว้กับบุคคลที่ รบั จ้างเล้ยี งเดก็ หรอื ทีส่ าธารณะ หรอื สถานท่ีใด โดยเจตนาท่ีจะไมร่ บั เดก็ กลบั คืน • ไม่ละทง้ิ เด็กไว้ ณ สถานท่ีใดๆ โดยไมจ่ ัดใหม้ ีการปอ้ งกันและดแู ล สวัสดิ ภาพหรือให้การเล้ียงดูท่ีเหมาะสม • ไมจ่ งใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งทจี่ าเป็นแก่การดารงชวี ติ หรือสุขภาพอนามยั จน นา่ จะเกิดอนั ตรายแกร่ า่ งกายหรือจติ ใจของเด็ก • ไม่ปฏิบัตติ อ่ เด็กในลักษณะท่เี ป็นการขดั ขวางการเจริญเติบโตหรอื พฒั นาการของเดก็ • ไมป่ ฏิบัตติ อ่ เด็กในลักษณะทเี่ ป็นการเลีย้ งดโู ดยมิชอบ

บทบาทหน้าทที่ ีพ่ งึ ปฏบิ ัตติ อ่ เดก็ (ตอ่ ) บทบาทหนา้ ท่ีของรัฐ • ค้มุ ครองสวัสดิภาพที่อยู่ในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบ ไมว่ ่า เดก็ จะมผี ู้ปกครองหรือไม่กต็ าม • ดูแลและตรวจสอบสถานรบั เล้ยี งเด็ก สถานแรกรบั สถานสงเคราะหส์ ถานค้มุ ครองสวัสดภิ าพ สถาน พัฒนาและฟน้ื ฟู และสถานพนิ จิ ที่ต้งั อย่ใู นเขตพืน้ ที่ท่ี รบั ผิดชอบ พอ่ แม่มหี นา้ ทใ่ี นการเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนบุตร เพอื่ ใหม้ ีพฒั นาการท่ดี ี มคี วามปลอดภัยในการดาเนินชวี ติ

ประเภทของเดก็ ทพ่ี งึ ได้รับการสงเคราะห์ • เดก็ เรร่ อ่ นหรือเดก็ กาพรา้ • เดก็ ทถ่ี ูกทอดทงิ้ หรอื พลดั หลง • เด็กท่ีผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเล้ียงดูได้ เช่น ถูก • เดก็ พิการ จาคุก พิการ ทุพพลภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง ยากจน เป็น ผู้เยาว์ ถูกท้ิงรา้ ง เปน็ โรคจติ หรอื โรคประสาท • เดก็ ทอี่ ยู่ในสภาพยากลาบาก • เด็กท่ีผู้ปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไม่ • เด็กท่ีอยู่ในสภาพท่ีจาต้องไดร้ บั เหมาะสม อาจส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางด้าน การสงเคราะห์ตามทกี่ าหนด ร่างกายและจิตใจของเด็กท่ีอยูใ่ นความปกครองดูแล ในกฎกระทรวง • เดก็ ที่ได้รบั การเลยี้ งดโู ดยมิชอบ ถูกใชเ้ ปน็ เครื่องมอื ใน การกระทาหรือแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ถูก ทารุณกรรม เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือ จติ ใจ

ประเภทของเด็กทีพ่ ึงได้รับการคุ้มครองสวสั ดภิ าพ ตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดแ้ ก่ • เด็กทีถ่ กู ทารณุ กรรม • เด็กทเ่ี สยี่ งตอ่ การกระทาความผดิ • เดก็ ท่ีอยใู่ นสภาพที่จาต้องได้รับการ คมุ้ ครองสวัสดิภาพตามทกี่ าหนดไว้ใน กฎกระทรวง

มาตรการสง่ เสริมความประพฤตินักเรยี นและนกั ศกึ ษา ตามพระราช-บญั ญัติคุ้มครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ • นักเรียน หมายถึง เดก็ ซ่ึงกาลงั รับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานระดับประถมศกึ ษาและระดบั มัธยมศกึ ษา ทงั้ ประเภท สามัญศึกษาและอาชวี ศกึ ษาหรือเทยี บเท่าอยู่ในสถานศกึ ษาของรัฐหรือของเอกชน • นกั ศึกษา หมายถงึ เด็กท่ีกาลังรับการศกึ ษาระดับอุดมศึกษาหรือเทยี บเท่าในสถานศกึ ษาของรฐั หรอื ของเอกชน ตามพระราชบญั ญัติคุม้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้กาหนดมาตรการส่งเสริมความประพฤตินกั เรยี นและนกั ศึกษาไว้ ดังน้ี หนา้ ทีข่ องโรงเรยี นและสถานศึกษาท่จี ะตอ้ งจดั ใหม้ ี หน้าทีข่ องนักเรียน นกั ศกึ ษา ท่จี ะตอ้ งประพฤตติ น ระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนวใหค้ าปรึกษาและ ตามระเบยี บของโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษา ฝกึ อบรมแก่นักเรียน นักศึกษาและผ้ปู กครอง

กฎหมายการศึกษา ความมุ่งหมายและหลกั การ การจัดการศกึ ษาต้อง กระบวนการเรยี นรู้ต้องมุ่ง การจดั การศกึ ษา การจดั ระบบโครงสร้างและ เป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทย ปลกู ฝงั จติ สานึกทีถ่ ูกตอ้ ง ใหย้ ดึ หลักการศกึ ษา กระบวนการจดั การศกึ ษา ใหเ้ ปน็ มนุษยท์ ่สี มบูรณ์ทั้ง ตลอดชีวติ สาหรบั รา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา เกย่ี วกบั การเมอื ง ประชาชน ให้สังคมมีสว่ น ใหย้ ึดหลกั การ ความรู้ และคณุ ธรรม การปกครองในระบอบ รว่ มในการจัดการศึกษา มีเอกภาพด้านนโยบาย มีจรยิ ธรรม และวฒั นธรรม และมคี วามหลากหลาย ประชาธิปไตย อัน ในการปฏิบัติ มกี ารกระจาย ในการดารงชวี ิต มีพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเป็นประมุข อานาจไปส่พู ืน้ ที่ การศกึ ษา สถานศึกษา และ องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ โรงเรียนต้องจัดให้มกี จิ กรรมและ การฝึกอบรมแกน่ ักเรยี น เพอื่ สรา้ งเสรมิ ศักยภาพ และความสามารถ

สทิ ธแิ ละหน้าท่ีทางการศกึ ษา หนา้ ท่ขี องรฐั • รัฐต้องจดั การศึกษาขั้น • รฐั ต้องจัดการศึกษาข้นั พื้นฐานเปน็ พเิ ศษสาหรับบคุ คล พื้นฐานไมน่ อ้ ยกว่าสิบสองปี ทีม่ คี วามบกพรอ่ งทางร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา โดยให้บคุ คลมสี ทิ ธแิ ละ อารมณ์ สังคม การส่อื สารและการเรยี นรู้สาหรับผ้ทู ่ีมี โอกาสเสมอกนั ในการรบั รา่ งกายพกิ ารหรือทพุ พลภาพ หรือบุคคลซง่ึ ไมส่ ามารถ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พง่ึ ตนเองได้ หรอื ไม่มผี ดู้ ูแลหรอื ด้อยโอกาส หน้าทขี่ องบิดา มารดา หรอื มีหน้าทจี่ ดั ให้บุตรหรอื บุคคลซง่ึ อยใู่ นความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปี โดยให้ ผูป้ กครอง เด็กซ่ึงมีอายยุ า่ งเขา้ ปีทเ่ี จ็ดเข้าเรียนในสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานจนอายุย่างเขา้ ปที ่ีสบิ หก สทิ ธิประโยชน์ทางการศึกษา บิดา มารดา หรอื ผปู้ กครอง ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน สงั คมอื่นๆ ซง่ึ สนับสนนุ หรือจดั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน มสี ิทธิ ได้รับสทิ ธปิ ระโยชน์ตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ • การสนบั สนุนจากรฐั ให้มี • เงินอุดหนนุ จากรฐั สาหรับ • การลดหยอ่ นหรอื ยกเวน้ ความรู้ความสามารถในการ การจดั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ภาษสี าหรบั ค่าใชจ้ ่าย อบรมเลย้ี งดู และการให้ ของบุตรหรือบคุ คล ซ่ึงอยใู่ น การศกึ ษา ตามท่ี การศึกษาแกบ่ ุตรหรอื บุคคล ความดแู ลท่คี รอบครวั จดั ให้ กฎหมายกาหนด ซ่งึ อยูใ่ นความดแู ล ทง้ั นี้ตามทก่ี ฎหมายกาหนด

ระบบการศึกษาไทย การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั การศกึ ษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีมีความยืดหย่นุ ใน เป็นการศกึ ษาทีใ่ ห้ผู้เรียนได้เรยี นรู้ การกาหนดจดุ มุ่งหมาย รูปแบบ ดว้ ยตนเองตามความสนใจ เป็นการศึกษาทก่ี าหนดจดุ มงุ่ หมาย วิธีการจัดการศกึ ษา ระยะเวลาของ วธิ ีการศกึ ษาหลกั สตู ร ระยะเวลาของ การศึกษา การวดั และประเมินผล ศกั ยภาพ ความพรอ้ ม และโอกาส การศกึ ษา การวดั และประเมนิ ผล เปน็ เง่อื นไขสาคัญของการสาเรจ็ โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ การศึกษา โดยเน้อื หาและหลักสตู ร สภาพแวดล้อม สังคม สอ่ื หรอื แหล่ง ซ่ึงเป็นเงอ่ื นไขของการสาเร็จ จะต้องมีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับ การศึกษาท่แี น่นอน สภาพปัญหาและความตอ้ งการ ความรู้อื่น ๆ ของบคุ คลแตล่ ะกลุ่ม แนวการจัดการศึกษา ในการจัดการศกึ ษานนั้ จะตอ้ งยึดหลกั ว่าผเู้ รยี นทุกคนมีความสามารถเรยี นร้แู ละพฒั นาตนเองได้และถอื วา่ ผเู้ รียน มคี วาม สาคญั ทสี่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศักยภาพการจัดการศึกษา ตอ้ งเน้นความสาคญั ทั้งความรู้ คณุ ธรรม กระบวนการเรยี นรูแ้ ละบรู ณาการตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับการศกึ ษา

กฎหมายคุ้มครองผ้บู รโิ ภค สทิ ธิของผ้บู ริโภค • สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ทราบขา่ วสารรวมท้ังคาพรรณนาคณุ ภาพท่ถี ูกตอ้ งและเพียงพอ เกีย่ วกับสนิ ค้าหรอื บรกิ าร • สิทธทิ ่จี ะมีอสิ ระในการเลอื กซื้อสินคา้ หรือบรกิ าร • สทิ ธทิ ี่จะได้รับความปลอดภยั จากการใชส้ ินค้าหรือบริการ • สทิ ธทิ ี่จะไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการทาสัญญา • สทิ ธทิ ี่จะได้รบั การพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย

อานาจหนา้ ท่ีของคณะกรรมการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค • พจิ ารณาเรอ่ื งราวร้องทกุ ข์จากผบู้ รโิ ภค • ดาเนนิ การเก่ยี วกับสนิ คา้ ที่อาจเปน็ ท่ีได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหายอนั อนั ตรายแก่ผบู้ รโิ ภคตามกฎหมาย เนอ่ื งมาจากการกระทาของผู้ประกอบ ธรุ กิจ • แจง้ หรอื โฆษณาข่าวสารเก่ียวกบั สินคา้ หรือบริการทอ่ี าจจะก่อใหเ้ กดิ ความ • ดาเนนิ คดีเกยี่ วกบั การละเมิดสิทธขิ อง เสยี หายหรือเสื่อมเสยี แก่สทิ ธิของผบู้ รโิ ภค ผ้บู รโิ ภคทคี่ ณะกรรมการเหน็ สมควร โดยจะระบุช่ือสินคา้ หรือบรกิ ารหรือชือ่ หรอื มีผูร้ ้องขอตามกฎหมาย ของผู้ประกอบธรุ กจิ ดว้ ยกไ็ ด้

กฎหมายลขิ สิทธิ์ • การละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ การกระทาอย่างหนึง่ อย่างใดแกง่ าน อันมลี ขิ สทิ ธโ์ิ ดยไมไ่ ด้รับอนุญาตตามบทบัญญตั ิ พระราชบญั ญตั ลิ ิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ของกฎหมาย (แก้ไขเพม่ิ เตมิ ฉบบั ที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๘) ภาพยนตร์ทบี่ นั ทึกอยู่ในรปู ของแผ่นซดี ีหรอื ดวี ดี ี มกี าร • งานอันมีลิขสิทธ์ิ ไดแ้ ก่ งานสร้างสรรคป์ ระเภท ละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิกันอย่างแพร่หลาย สร้างความเสียหายอยา่ ง วรรณกรรม นาฏกรรมศลิ ปกรรม ดนตรกี รรม มากใหก้ ับผ้สู รา้ งสรรค์และประเทศชาติ การแกป้ ัญหาให้ได้ โสตทัศนวสั ดุ ภาพยนตร์ สิ่งบนั ทกึ เสยี ง งานแพรเ่ สยี ง ผล ผู้บริโภคต้องให้ความร่วมมือ โดยไม่ซ้ือแผ่นที่ละเมิดลขิ สทิ ธิ์ แพร่ภาพ หรืองานอนื่ ใดในแผนกวรรณคดี แผนก วิทยาศาสตร์ แผนกศิลปะของผู้สรา้ งสรรค์ ไมว่ า่ งาน ดงั กลา่ วจะแสดงออกโดยวิธหี รือรปู แบบอย่างใด • การคุ้มครองลิขสทิ ธ์ิ เจา้ ของลิขสทิ ธ์มิ ีสทิ ธิแต่เพยี ง ผ้เู ดยี วในการทาซ้า หรือดดั แปลง เผยแพร่ ต่อสาธารณชน • บทกาหนดโทษการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ เช่น ในกรณีทร่ี อู้ ยู่ แล้วหรือมีเหตอุ นั ควรรวู้ า่ งานใดได้ทาขนึ้ โดยละเมิด ลขิ สิทธ์ิของผ้อู ่ืน กระทาอย่างใดอยา่ งหนึง่ แก่งานนน้ั เพอ่ื หากาไรใหถ้ อื ว่าผู้นั้นกระทาการละเมิดลขิ สิทธ์ิ

กฎหมายลิขสทิ ธ์ิ • สิทธิบตั รการประดษิ ฐ์ • สทิ ธิบัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ์ พระราชบญั ญตั ิสิทธบิ ตั ร พ.ศ. ๒๕๒๒ (แก้ไข • อนสุ ิทธบิ ัตรหรอื ผลติ ภัณฑ์อรรถประโยชน์ เพมิ่ เติม ฉบับท่ี ๓ พ.ศ.๒๕๔๒) ประเภทของสิทธิบัตร สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสาคัญท่ีรัฐออกให้เพ่ือ คุ้มครองการประดิษฐ์การออกแบบผลิตภัณฑ์หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ ที่ มีลักษณะตามทีก่ ฎหมายกาหนด โดยแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท การขอรับสทิ ธบิ ัตร จะต้องมีลักษณะ ดงั นี้ อายุการค้มุ ครองสทิ ธิบตั ร สทิ ธบิ ตั รการประดิษฐ์มีอายุ ๒๐ ปี นบั แต่วนั ขอรบั บทกาหนดโทษการละเมิดสิทธิบตั ร สาหรบั ความผดิ ฐาน สทิ ธบิ ตั ร สทิ ธิบตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ์มีอายุ ๑๐ ปี นบั แตว่ ันขอรบั สทิ ธบิ ตั ร ละเมิดสทิ ธบิ ตั รโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากผทู้ รงสิทธิบตั ร ตอ้ ง สว่ นอนุสทิ ธบิ ตั รให้มีอายุ ๖ ปี นับแต่วนั ขอรบั สิทธบิ ตั ร และผทู้ รงอนุสิทธิบตั ร ระวางโทษจาคุกไมเ่ กิน ๒ ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน ๔๐๐,๐๐๐บาท อาจขอตอ่ อายอุ นสุ ิทธบิ ัตรได้ ๒ คร้งั ครง้ั ละ ๒ ปี โดยให้ยนื่ คาขอตอ่ อายตุ อ่ หรือทั้งจาทง้ั ปรบั ความผิดตามกฎหมายสทิ ธิบตั รนเ้ี ป็น พนกั งานเจา้ หนา้ ทภ่ี ายใน ๙๐ วันก่อนวนั ส้นิ อายุ ความผดิ อาญาแผน่ ดนิ จึงไม่อาจยอมความกนั ได้

ประโยชน์ของการปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย คมุ้ ครองสทิ ธิของบคุ คล ทาให้บ้านเมืองสงบเรียบรอ้ ย ทาใหป้ ระเทศชาติพฒั นาเจรญิ กา้ วหนา้ เปา้ หมายของกฎหมายคุ้มครองสทิ ธิของบคุ คล การท่ปี ระชาชนทกุ คนปฏบิ ัติตน คอื การคุม้ ครองสิทธเิ สรภี าพ ตามกฎหมายคุ้มครองสทิ ธขิ องบุคคล ของประชาชนและจดั ระเบียบบา้ นเมือง อยา่ งเครง่ ครดั ทาให้ทุกคนในสังคม ทาใหช้ มุ ชนหรอื สังคมเกิดการพัฒนา ได้รับการปฏบิ ตั ติ อ่ กันด้วยความเสมอภาคและ เมอ่ื บิดามารดาหรือผปู้ กครองปฏิบตั ิ ตนตามกฎหมายคุ้มครองสิทธขิ องบคุ คล โดย เทา่ เทยี ม การสง่ เสริมใหเ้ ดก็ ในปกครองเข้ารับการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน ทาใหเ้ ด็กเปน็ ผ้มู ีสมรรถนะ มคี ณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook