หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๔หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม วฒั นธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ • อภปิ รายเกย่ี วกบั คุณคา่ ทางวฒั นธรรมทีเ่ ป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพนั ธท์ ่ดี ี หรืออาจนาไปสู่ ความเขา้ ใจผิดต่อกนั ได้
ความรทู้ ั่วไปเก่ียวกบั วัฒนธรรม วฒั นธรรม ส่ิงท่มี นุษย์สร้างขึน้ เพ่ือนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั เป็นภมู ปิ ัญญาท่ีผ้คู น ในแตล่ ะสังคมสรา้ งสรรค์ข้นึ วัฒนธรรมจึงเปน็ ภูมิปัญญาทางสงั คมอย่างหน่ึง วัฒนธรรมไทย วฒั นธรรม 4 ภาค ประเทศไทยมีวฒั นธรรมประจาชาตเิ ป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นดา้ นภาษา วรรณคดี ศิลปะ ดนตรี อาหาร การแต่งกาย ล้วนเปน็ สงิ่ ทีบ่ รรพบุรุษได้สรา้ งและสง่ั สมมาตงั้ แต่อดีต วัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ การแสดงฟอ้ นเล็บ การแสดงโปงลาง วัฒนธรรมด้านอาหาร การแสดงหนังใหญ่ การแสดงลเิ กฮลู ู น้าพรกิ หนุ่ม แกงไตปลา ส้มตา แกงเขยี วหวาน
บ้าน วัฒนธรรมของภาคเหนือ • ประดับดว้ ยกาแล การแตง่ กาย • ใชด้ นิ ขอในการมุงหลังคา • ผู้ชาย นุ่งกางเกงทีเ่ รยี กว่า อาหาร “เตย่ี ว” สวมเสื้อม่อฮ่อม • แกงฮงั เล • ผู้หญงิ นงุ่ ผา้ ซน่ิ ยาวเกอื บถงึ ตาตมุ่ ใส่เสอ้ื • นา้ พริกหน่มุ คอกลมแขนยาว • ไสอ้ วั่ • ข้าวซอย ศิลปะการแสดง • ฟ้อนเลบ็ • ฟ้อนเงีย้ ว • ตกี ลองสะบัดชัย
บ้าน วัฒนธรรมของ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื • ใต้ถุนสงู การแตง่ กาย • ทาหนา้ ตา่ งเปน็ ช่องแคบๆ • ผชู้ ายจะใส่เสื้อคอกลม ใชผ้ า้ ขาวมา้ คาดเอว อาหาร • ผู้หญงิ น่งุ ผ้าซิน่ ใสเ่ สอื้ คอกลมแขนยาว • ปลารา้ ศิลปะการแสดง • ส้มตา • ลาบก้อย • เซงิ้ • หมอลา • การแสดงโปงลาง
บา้ น วัฒนธรรมของ ภาคกลาง • มีใต้ถุนสงู การแต่งกาย • หลังคาหน้าจ่วั • หนา้ ตา่ งกว้าง • ผู้ชายใสเ่ สอ้ื คอกลม มีผ้าขาวม้าพาดบา่ • ผหู้ ญิงน่งุ โจงกระเบน สวมเส้ือคอกลม อาหาร ศลิ ปะการแสดง • ต้มยา • แกงส้ม • รากลองยาว • นา้ พรกิ ปลาทู • ราโทน • แกงกะทิ • ละครชาตรี • หนงั ใหญ่
บา้ น วฒั นธรรมของ ภาคใต้ • บา้ นจะยกพนื้ สูง การแตง่ กาย • เสาจะวางอย่บู นตอ • หลังคาทรงสงู ลาดเอียง • ผูช้ ายนุ่งผ้าโสร่ง ใส่เส้ือคอตั้ง สวมกางเกง ขายาว อาหาร • ผู้หญงิ นุ่งผา้ ซ่นิ หรือผ้าปาเต๊ะ ใสเ่ สื้อคอกลม • แกงเหลือง • แกงไตปลา ศลิ ปะการแสดง • ข้าวยา • น้าบดู ู • โนราห์ • หนงั ตะลุง • ลเิ กฮูลู • เต้นรองเงง็
ที่มาของวฒั นธรรมไทย สภาพแวดล้อม อทิ ธิพลจาก อิทธพิ ลจากศาสนา ภมู หิ ลงั ทาง การรับเอาวฒั นธรรม ทางภูมิศาสตร์ พระพุทธศาสนา พราหมณ-์ ฮินดู ประวตั ิศาสตร์ อืน่ มาปรับใช้ เนอื่ งจากการมีท่ีตัง้ อยู่ พระพทุ ธศาสนาเผยแผ่ ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู สงั คมไทยมีภมู ิหลัง วฒั นธรรมภายนอก ในเอเชยี ตะวนั ออก เขา้ ส่ปู ระเทศไทย เปน็ อกี ศาสนาหนึง่ ทางประวตั ิศาสตรก์ ่อน ทค่ี นไทยรับเอาเขา้ มา เฉยี งใต้และมสี ภาพ เมอ่ื ประมาณ จากอินเดยี ที่เข้ามา ปรับใชใ้ นช่วงแรกจะ ภมู ิอากาศแบบรอ้ นชื้น พทุ ธศตวรรษที่ ๓ มบี ทบาทต่อสังคมไทย พทุ ธศตวรรษ เปน็ วัฒนธรรมอินเดยี พื้นทส่ี ่วนใหญเ่ ปน็ พื้นท่ี และหยัง่ รากลึกใน นบั ต้งั แตอ่ ดตี ทาให้ ท่ี ๑๗ ทาใหม้ รดก เกยี่ วกับศาสนา ลทั ธิ ราบล่มุ มแี มน่ ้าที่ เกิดวฒั นธรรมดา้ นลัทธิ ทางวฒั นธรรม ความเชื่อ ลักษณะการ อุดมสมบูรณ์ ประชากร สังคมไทย เปน็ ศาสนา ความเช่ือหลายอยา่ ง บางอยา่ งไดก้ ลายเป็น ปกครองขณะเดยี วกนั สว่ นใหญจ่ ึงประกอบ ท่คี นไทยส่วนใหญ่ รากฐานทีส่ าคัญ ในสมยั สโุ ขทัยมีการ อาชีพเกษตรกรรม ของวฒั นธรรม ตดิ ต่อกับจีนจงึ รบั เคารพนับถือ ไทยในปจั จบุ ัน เอาวัฒนธรรมต่างๆ เปน็ หลกั ของจนี โดยเฉพาะ ทางดา้ นเศรษฐกิจ เขา้ มาปรบั ใช้
ลกั ษณะของวัฒนธรรมไทย เปน็ วฒั นธรรมแบบเกษตรกรรม เป็นวฒั นธรรมท่ียดึ ถือพิธกี รรม เปน็ วัฒนธรรมที่ยดึ ถือการกศุ ลตามหลัก • คนส่วนใหญ่จะประกอบอาชพี • การดาเนินชวี ิตในสงั คมไทย จะมี ศาสนา • คนไทยนยิ มทาบญุ ในงานเทศกาล เกษตรกรรม ทาการเพาะปลูก การประกอบพิธกี รรมด้วยเสมอ เลย้ี งสัตว์ ดงั นัน้ วฒั นธรรม ไม่ว่าจะเปน็ การเกิด โกนผมไฟ ตา่ งๆ เพ่ือเป็นสิริมงคลและเพ่อื อทุ ิศ ประเพณีและวิถีชีวิตสว่ นใหญ่ แต่งงาน ข้ึนบ้านใหม่ ครบรอบอายุ บญุ กศุ ลให้ญาตทิ ่ลี ว่ งลบั ไปแล้ว จงึ มักเกยี่ วกับน้าและการเกษตร งานศพ ซงึ่ จะมที งั้ พิธีในทาง พระพุทธศาสนาและศาสนา พราหมณ์-ฮินดู ผสมผสานกนั เปน็ วฒั นธรรมทย่ี ดึ ถอื เครอื ญาติและ เป็นวฒั นธรรมทม่ี กี ารผสมผสาน เป็นวัฒนธรรมทน่ี ยิ มความสนกุ สนาน อาวุโส • ไดร้ ับการผสมผสานทางวัฒนธรรม • กิจกรรมของสังคมไทยสว่ นใหญ่จะมี • สงั คมไทยมคี วามสัมพันธ์โดยยดึ หลัก มาจากสังคมอนื่ เช่น การรบั เอา การสอดแทรกความสนุกสนานไว้ อาวุโส คนทม่ี ีอายุนอ้ ยกว่าจะให้ วัฒนธรรมด้านลัทธคิ วามเชื่อและ ดว้ ยเสมอไม่วา่ จะเปน็ การร้องและรา ความเคารพผ้ทู อ่ี ายุมากกว่าเพราะ การประกอบพธิ ีกรรมศาสนามาจาก จนเกิดเปน็ วฒั นธรรมการละเลน่ ถอื ว่าผู้อาวุโสเปน็ ผ้ทู ี่สูงด้วย สงั คมอนิ เดีย พน้ื บา้ น ประสบการณ์ พบเห็นเรอื่ งราวใน ชวี ติ มากอ่ น
ความคลา้ ยคลงึ และความแตกตา่ งระหวา่ งวฒั นธรรมไทย กับวฒั นธรรมในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ลักษณะของวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบา้ น เป็นวัฒนธรรมสังคมเกษตรกรรม เป็นวัฒนธรรมแบบผสมผสาน • ประเทศเพ่ือนบ้านของไทย ถา้ ไม่นบั รวมสงิ คโปร์ ทัง้ หมดจะ • วัฒนธรรมภายนอกท่ีมอี ทิ ธพิ ลสาคญั คอื วัฒนธรรมของ มวี ฒั นธรรมแบบสงั คมเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ของ ประเทศเพอื่ นบ้าน ประกอบด้วย วฒั นธรรมอนิ เดีย ประเทศจะทาการเพาะปลูกเป็นอาชีพหลัก วฒั นธรรมจีน วัฒนธรรมอสิ ลามและวฒั นธรรมตะวนั ตก เปน็ วฒั นธรรมที่มีศาสนาและลทั ธิความเช่อื เป็นรากฐาน เปน็ วฒั นธรรมทม่ี เี อกลักษณ์ทางวฒั นธรรมเฉพาะของตน • วัฒนธรรมของประเทศเพ่อื นบ้านมีรากฐานสาคัญมาจาก • เนอ่ื งจากประเทศเพือ่ นบ้านของไทยเกือบทกุ ประเทศมี ศาสนา และลทั ธิความเช่อื ทป่ี ระชากรสว่ นใหญข่ องประเทศ ภูมิหลังทางประวัติศาสตรม์ าอยา่ งยาวนาน ยอ่ มจะสง่ ผลใหม้ ี มรดกตกทอดทางวัฒนธรรมมาก เช่น ภาษาพดู ภาษาเขยี น เคารพนับถอื ติดตอ่ กันมาอย่างยาวนานนบั ต้ังแต่อดีต การแต่งกาย อาหารการกนิ
ความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งของวัฒนธรรม วฒั นธรรมด้านท่อี ยอู่ าศัย • เนื่องจากเปน็ สงั คมท่ีตั้งอยู่ในเขตรอ้ น ลกั ษณะวัฒนธรรมการ ก่อสรา้ งท่อี ยู่อาศยั สว่ นใหญ่จงึ มีความคล้ายคลึงกัน เชน่ ใช้ไมส้ ร้างบ้านยกพื้นใหส้ งู ขึ้นจากพน้ื ดิน พน้ื บ้านปดู ว้ ยไม้ กระดาน ฝาบา้ นใชไ้ ม้กระดานตสี ูงขน้ึ และมีช่องลมเพ่อื ระบายอากาศในบ้าน สว่ นหลังคา มคี วามลาดชัน วัฒนธรรมดา้ นประเพณีและพธิ กี รรม • หากชาติใดทีม่ ีรากฐานการนับถอื พระพุทธศาสนา ประเพณี และพิธีกรรมต่างๆ กจ็ ะคลา้ ยคลงึ กับไทย เชน่ การทาบญุ เลี้ยงพระการเวียนเทยี นเน่อื งในวนั สาคญั ทางศาสนา วฒั นธรรมดา้ นภาษา • ประเทศเพอ่ื นบา้ นทมี่ ภี าษาพดู และเขียนคล้ายคลงึ กบั ไทย กค็ อื ลาวเพียงชาตเิ ดยี ว สว่ นชาตอิ นื่ จะใชภ้ าษาของตน ไมว่ า่ จะ เปน็ เมียนมา เวยี ดนาม อนิ โดนีเซีย ฟิลปิ ปนิ ส์ โดยท่ี ภาษาอังกฤษและภาษาจนี จะเปน็ ภาษากลางทใี่ ชต้ ดิ ตอ่ กนั ไดท้ ว่ั ทง้ั ภูมภิ าค
ความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งของวฒั นธรรม (ตอ่ ) วัฒนธรรมด้านการนบั ถอื ศาสนา • พระพทุ ธศาสนา ซ่ึงเปน็ ศาสนาทผ่ี ้คู นส่วนใหญ่ในประเทศ ไทย เมียนมา ลาว กัมพชู านับถือ ดังนน้ั ประเพณี พิธีกรรม ทางศาสนาลัทธคิ วามเช่ือต่างๆ ของเมียนมา ลาว กัมพูชา กจ็ ะคล้ายคลึงกบั ไทย วฒั นธรรมดา้ นการแตง่ กาย • การแตง่ กายของผู้คนในภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ หาก ไม่นบั ชดุ พื้นเมอื งและชดุ ประจาชาติก็จะแตง่ กายไม่แตกต่าง กนั คอื ในสงั คมเมืองผูช้ ายนิยมสวมเสื้อกับกางเกง ผู้หญงิ สวมเส้อื กบั กางเกงหรือกระโปรง แต่ในชนบทผู้หญิงจานวน มากกย็ ังคงสวมใสผ่ า้ ซน่ิ กนั อยู่ วฒั นธรรมด้านอาหาร • อาหารของประชากรในภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตส้ ว่ น ใหญจ่ ะประกอบดว้ ยขา้ ว พืชผกั และเนือ้ สัตว์ ทหี่ าได้ง่าย ในทอ้ งถิ่น การปรุงอาหารโดยมากใช้กะทิและเคร่อื งเทศ รสชาติของอาหารจะจัดจา้ น หลากหลาย สีสนั ดูนา่ รับประทานมรี สชาตเิ ผด็ รอ้ น
วัฒนธรรมกับปัจจยั ในการสรา้ งความสมั พนั ธ์อนั ดี วฒั นธรรมที่เปน็ ปจั จัยในการสร้างความสมั พนั ธ์อันดี วัฒนธรรมด้านศาสนา วฒั นธรรมด้านการศกึ ษา • ทุกศาสนาล้วนมหี ลักธรรมคาสอนสาคญั • การศกึ ษาช่วยสร้างความเจริญงอกงามทางด้านสติปัญญา ทค่ี ล้ายคลึงกันน่นั คอื ใหก้ ระทาความดี ให้แก่ผู้คน ซึ่งเม่ือผู้คนมีสติปัญญามีความเฉลียวฉลาด ละเว้นกระทาส่ิงไม่ดี ใหศ้ าสนิกชนมี ยอ่ มจะหาทางแก้ไขปญั หาต่างๆ อยา่ งสนั ตวิ ิธี ความรกั ความเมตตา วฒั นธรรมดา้ นเนติธรรม วฒั นธรรมด้านภาษา • วัฒนธรรมด้านกฎหมาย หรือขนบธรรมเนียมประเพณีที่มี • ภาษาเป็นวฒั นธรรมอยา่ งหน่ึงในการ ความสาคัญเสมอด้วยกฎหมายหรือการกระทาบางอย่างท่ี นาไปสคู่ วามเขา้ ใจอันดรี ะหว่างกัน ไม่มีกฎหมายห้ามไว้ แต่ถ้าใครทาเข้าก็เป็นที่รังเกียจของ สังคม วัฒนธรรมดา้ นขนบธรรมเนยี ม ประเพณี การแสดงดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมไทย-ลาว เป็นการ เสริมสร้างความสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหว่างกัน • ขนบธรรมเนยี มประเพณีถือเปน็ วัฒนธรรมอันดงี ามของทกุ สังคม เปน็ เคร่อื งมอื ช่วยจรรโลงจติ ใจผคู้ นให้ สดชื่น เบกิ บาน สงบคิดและทาแตส่ ิ่งทดี่ ี
วฒั นธรรมทเี่ ปน็ ปัจจยั ท่ีอาจนาไปสคู่ วามเขา้ ใจผิดตอ่ กัน วัฒนธรรมดา้ นภาษา วัฒนธรรมเกย่ี วกับการปลกุ กระแสชาตินยิ ม • ภาษาเป็นเร่ืองการส่ือสาร มีทั้งภาษาพูด • การแสดงออกซึ่งความรักชาตินั้นเป็นส่ิงที่ดี แตใ่ นบางกรณี ภาษาเขียนและอวัจนภาษา แต่ละชาติจะ ก็มีการนาไปใชแ้ สวงหาประโยชน์ โดยการปลกุ กระแส ใชภ้ าษาทเ่ี ป็นวัฒนธรรมของตน ชาตินิยม วฒั นธรรมดา้ นศาสนา วัฒนธรรมด้านความเชอ่ื และทศั นคตเิ ชงิ ลบ • เรื่องของศาสนาเป็นเร่ืองละเอยี ดออ่ น • ผ้คู นในแตล่ ะประเทศก็จะมีวิถกี ารดาเนินชวี ิตที่เหมาะสม เป็นเร่ืองความเชือ่ ความศรัทธา โดยไม่ สอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมของประเทศของเขา จาเป็นตอ้ งใชเ้ หตุผล ดงั นัน้ จงึ ไม่ควร ดังน้ัน จงึ ไม่ควรไปดหู มนิ่ การกระทาการแสดงออกหรอื พาดพงิ ศาสนาอื่น ไมว่ า่ จะดว้ ยคาพูด นาไปเปรยี บเทยี บการกระทาต่างๆ หรือการกระทา วัฒนธรรมดา้ นขนบธรรมเนยี ม พระธาตุอนิ ทร์แขวน เป็นสถานทศ่ี กั ดสิ์ ิทธิท์ ่ีชาวเมียนมา ประเพณี ใหค้ วามเคารพนบั ถือ และนยิ มไปสักการบชู า • ในแต่ละชาติแต่ละประเทศจะมี ความละเอียดออ่ นในเรอื่ งบางเรอ่ื ง ไม่เหมือนกนั ซงึ่ อาจจะเป็นเหตุท่ี นาไปสู่ความเข้าใจผดิ กนั ไดง้ ่าย
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: