๒หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ รัฐธรรมนูญ กบั การเมืองการปกครองของไทย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. อธิบายหลกั การ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบับปจั จบุ ัน โดยสังเขปได้ ๒. วเิ คราะหบ์ ทบาทการถว่ งดลุ อานาจอธปิ ไตยในรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจบุ ันได้ ๓. ปฏิบัติตนตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบับปจั จุบันทีเ่ ก่ยี วข้องกับตนเองได้
รัฐธรรมนญู กับการเมอื งการปกครองของไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย • ประเทศไทยเปลยี่ นแปลงการปกครอง จากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์มาสรู่ ะบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยไดป้ ระกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย • นบั จาก พ.ศ. ๒๔๗๕ ประเทศไทยมีการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญหลายฉบบั โดยฉบับล่าสดุ เปน็ ฉบบั ที่ ๒๐ โดยมีทม่ี า ดงั น้ี ท่ีมาของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย เกิดความขดั แยง้ คณะรกั ษาความสงบ กรธ. คณะกรรมการ ทางการเมือง แหง่ ชาติ (คสช.) ทาการรา่ งรัฐธรรมนูญ การเลือกต้งั ทมี่ ีแนวโนม้ รุนแรง เขา้ ควบคุมอานาจ แหง่ ราชอาณาจักรไทย จดั การลงประชามติ และบานปลาย การปกครอง วนั ที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๙ ยดื เยอ้ื มาต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๙ เกิดขนึ้ เมื่อ ผลการออกเสยี ง จนถึงเดอื น วันท่ี ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ คณะกรรมการรา่ งรฐั ธรรมนูญ ประชามติ ซง่ึ มี นายมชี ัย ฤชุพันธ์ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมเี ป้าหมายสาคัญ เปน็ ประธาน ปรากฏวา่ รฐั ธรรมนญู มสี าเหตุสาคัญมาจาก เพือ่ ยุติความขดั แย้ง ผ่านความเห็นชอบ การมคี วามคิดเหน็ ทางการเมือง สร้างความสามคั คี และคืนความสุข ไดท้ าการรา่ งรฐั ธรรมนญู ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ด้วยคะแนนเสียง ๑๖,๘๒๐,๔๐๒ ที่แตกต่างกนั ของคนในชาติ ให้แกป่ ระชาชนชาวไทย ภายใน ๑๘๐ วัน โดยมเี นื้อหา และมีผ้ไู ม่เห็นชอบ ๑๐,๙๒๖,๖๔๘ ๑๖ หมวด ๒๗๘ มาตรา
ความสาคัญของรัฐธรรมนญู ยืนยันความเป็นเอกราช รบั รองความเปน็ เอกรฐั ยืนยนั วา่ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข ซึง่ ทรงใชอ้ านาจอธิปไตยผา่ นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รฐั ธรรมนูญกาหนดความสมั พันธ์ ระหวา่ งสถาบันการเมอื งต่างๆ คุม้ ครอง ค้มุ ครอง ประชาชนชาวไทย ศกั ดศิ์ รีความเปน็ มนษุ ย์ ไมว่ ่าจะมีเหล่ากาเนิดใด เพศใด หรือนบั ถอื สิทธิและเสรภี าพ ศาสนาใดอย่างเสมอกนั ของประชาชนชาวไทย
หลักการของรฐั ธรรมนูญ • ประเทศไทยเปน็ ราชอาณาจักรอันหน่งึ อนั เดียวจะแบง่ แยกมไิ ด้ ประเทศไทยเป็นรฐั เด่ียว และรวมศูนยอ์ านาจรัฐไว้ทส่ี ่วนกลางเพยี งแห่งเดียว • ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ มีความสาคญั ตอ่ สังคมไทยเปน็ อย่างยิ่ง เป็นสถาบนั ทอ่ี ยคู่ ู่สงั คมมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและยาวนาน • อานาจอธิปไตยเปน็ ของปวงชนชาวไทย ชาวไทยทกุ คนเป็นเจ้าของอานาจสงู สุดในการปกครองประเทศ ส่วนพระมหากษตั รยิ ์ผทู้ รงเปน็ ประมุข ทรงใช้อานาจทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญตั ิรัฐธรรมนญู • ศักดศิ์ รีความเปน็ มนษุ ย์ สทิ ธิ เสรภี าพ และความเสมอภาคของบคุ คล ย่อมได้รับความคุ้มครองจากรฐั ธรรมนูญ ตามหลกั สทิ ธิมนุษยชน โดยมรี ฐั เปน็ ผ้ดู แู ลและคุม้ ครองสิทธเิ สรภี าพของคนในประเทศตามที่รฐั ธรรมนญู บญั ญตั ิ • รัฐธรรมนญู เป็นกฎหมายสงู สดุ ของประเทศไทย มรี ะบอบการปกครองทถ่ี อื “หลักนติ ริ ัฐ” โดยใช้มาตรการทางกฎหมายทเี่ ป็นธรรม จัดระเบียบของสังคมกฎ ข้อบงั คบั ใดๆ จะขดั หรอื แยง้ กบั รัฐธรรมนูญไม่ได้
โครงสรา้ งของรัฐธรรมนูญ การรับรูข้ า่ วสารข้อมลู สาธารณะ การกาหนดโครงสร้างและสาระสาคญั ของรฐั ธรรมนูญ เมอ่ื มีการจัดการเลือกตั้ง ประชาชนชาวไทยมหี นา้ ทไี่ ปใช้ เป็นสิทธเิ สรภี าพของชนชาวไทย มีการบัญญตั เิ กยี่ วกบั โครงสรา้ งของรฐั และการปกครองของไทย สิทธิลงคะแนนเสยี ง ทั้งในระดบั ชาติ ระดับทอ้ งถิ่น ประการหน่ึง ตามทรี่ ัฐธรรมนูญไดร้ ับรองไว้ ตามแนวทางของระบอบประชาธปิ ไตย เพอื่ คุม้ ครองสิทธเิ สรภี าพของประชาชนชาวไทย • ให้ความสาคัญในการคุม้ ครองสิทธเิ สรภี าพของประชาชน • ระบุหนา้ ท่ขี องประชาชนชาวไทยไว้ • กาหนดแนวนโยบายแห่งรัฐ • บญั ญัติเกี่ยวกับบทบาทหนา้ ทขี่ องรัฐสภา • บทบญั ญัติเก่ยี วกบั บทบาทของคณะรัฐมนตรี • บัญญตั เิ ก่ียวกบั พรรคการเมืองและการเลือกตัง้ • บัญญตั เิ กี่ยวกบั ศาล • ให้ความสาคญั กบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของนักการเมอื ง • สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของประชาชน • กาหนดใหม้ ีองคก์ รอสิ ระทท่ี าหน้าที่ตรวจสอบการใช้อานาจรฐั • กาหนดบทบาทหน้าที่ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย อานาจอธิปไตย ๓แบ่งเป็น ด้าน เปา้ หมายหลกั การใช้ อานาจนิตบิ ญั ญัติ ผ่านทางรัฐสภา ของการแบ่งแกยากรใช้อานาจอธปิ ไตย : การใช้ อานาจบรหิ าร ผา่ นทางคณะรัฐมนตรี การใช้ อานาจตุลาการ ผา่ นทางศาล การคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพและประโยชน์ของประชาชน มกี ารจากัดขอบเขตอานาจของแต่ละฝ่าย มีการควบคมุ และตรวจสอบการใช้อานาจ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ประโยชน์กจ็ ะตกอยทู่ ี่ประชาชนโดยรวม
อานาจนติ ิบัญญตั ิ รัฐสภา เป็นสถาบันท่ีใช้อานาจนิติบัญญัติรัฐธรรมนูญไทยกาหนดไว้เป็นระบบสองสภา คือ สภาผู้แทนราษฎร และ วุฒิสภา เป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยที่ใช้อานาจอธิปไตย ในทางนติ ิบัญญตั แิ ทนประชาชน บทบาทหน้าทีข่ องสภาผู้แทนราษฎร บทบาทหน้าทีข่ องวฒุ สิ ภา • พจิ ารณาและใหค้ วามเห็นชอบรา่ งพระราชบัญญัติ • พจิ ารณากลน่ั กรองร่างพระราชบัญญัตทิ ่ีผา่ นการพจิ ารณา • ควบคุมการบรหิ ารแผ่นดินของฝา่ ยบริหาร จากสภาผู้แทนราษฎร • ควบคมุ การบริหารราชการแผ่นดนิ ของฝ่ายบรหิ าร • มอี านาจถอดถอนบุคคลผดู้ ารงตาแหนง่ ทางการเมือง
อานาจบริหาร คณะรัฐมนตรีจะประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี ๑ คน และรัฐมนตรีอ่ืนอีกตาม จานวนที่รัฐธรรมนูญกาหนดไว้ โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องมาจากบุคคลที่เป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและจะต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในขณะน้ัน พระมหากษัตริย์จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้ง โดยมีประธานสภา ผู้แทนราษฎรเปน็ ผู้ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ตง้ั นายกรฐั มนตรี บทบาทหน้าท่ีของคณะรฐั มนตรี • แถลงนโยบายต่อรฐั สภาก่อนเขา้ ทาหน้าทีบ่ รหิ ารราชการแผ่นดิน โดยรฐั มนตรตี อ้ งดาเนินตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ • เขา้ ประชุมและแถลงข้อเท็จจริงหรอื แสดงความคิดเห็นในทปี่ ระชุมสภา
อานาจตลุ าการ ระบบศาลของไทย เปน็ ศาล ๔ ระบบ คือ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร บทบาทหนา้ ทีข่ องศาลรฐั มนตรี • แถลงนโยบายต่อรฐั สภาก่อนเข้าทาหน้าทบ่ี ริหารราชการแผน่ ดิน โดยรฐั มนตรตี อ้ งดาเนินตามนโยบายท่ไี ดแ้ ถลงไว้ • เข้าประชุมและแถลงขอ้ เทจ็ จริงหรือแสดงความคดิ เหน็ ในท่ปี ระชมุ สภา • พิจารณาคดแี ละพิพากษาคดีทั้งปวงตามขอ้ บัญญัตทิ ีร่ ฐั ธรรมนณู หรือ กฏหมายกาหนดให้ในพระปรมาภไิ ธยพระมหากษัตรยิ ์
ศาลรัฐธรรมนญู ประกอบดว้ ยประธานศาลรัฐธรรมนญู ๑ คน และตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ตามจานวนท่รี ัฐธรรมนูญกาหนด ซงึ่ พระมหากษตั ริยท์ รงแต่งตงั้ โดยมคี ุณสมบัตวิ าระการดารงตาแหนง่ ตลอดจนอานาจหน้าทต่ี ามท่ีรัฐธรรมนญู บญั ญัติ บทบาทอานาจหน้าทีข่ องศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยในกรณีทีม่ ีความขดั แยง้ กนั วนิ ิจฉยั กรณที ่บี ทบญั ญัติ วินจิ ฉัยวา่ หนงั สือสนธิสัญญาใด เกยี่ วกบั อานาจหนา้ ท่ี ระหวา่ ง แหง่ กฎหมาย ต้องไดร้ ับความเหน็ ชอบ รฐั สภาคณะรัฐมนตรี หรือองคก์ ร จากรัฐสภากอ่ นหรอื ไม่ กฎหรือกระบวนการตรากฎหมาย ตามรฐั ธรรมนูญที่มิใชศ่ าล ขดั หรอื แย้งตอ่ รัฐธรรมนูญ ตั้งแต่สององคก์ รขึ้นไป
มีอานาจพจิ ารณาคดที ั้งปวง ยกเวน้ คดที ่ีรฐั ธรรมนูญ หรือกฎหมาย ศาลยุตธิ รรม บัญญตั ิให้อยใู่ นอานาจของศาลอนื่ ซ่งึ ระบบศาลยตุ ิธรรม แบ่งออกเปน็ ๓ ชั้น ศาลฎกี า ศาลช้ันต้น ศาลอทุ ธรณ์ เป็นศาลสงู สุด มีอานาจพจิ ารณา เป็นศาลที่รบั พจิ ารณาคดีใน เปน็ ศาลท่มี ีอานาจพจิ ารณา พพิ ากษาคดที ี่ฝ่ายโจทกห์ รอื เบอ้ื งต้น ทัง้ คดแี พง่ คดีอาญาและ พพิ ากษาคดที ฝี่ ่ายโจทกห์ รอื จาเลยอทุ ธรณ์คาพิพากษาหรอื จาเลยขอฎกี าคาพพิ ากษาหรอื คาสงั่ ของ คดพี ิเศษอื่นๆ ศาลอทุ ธรณ์ คาพิพากษาของศาลฎกี า โดยแบ่งเป็น ๒ ประเภท คาส่งั ของศาลชนั้ ตน้ เปน็ ทีส่ ุด ซึ่งทุกฝา่ ยจะตอ้ งเคารพและ ปฏิบตั ติ าม ไม่มสี ิทธิทจี่ ะโตแ้ ยง้ ได้อีก ศาลช้นั ต้นในกรุงเทพมหานคร ศาลแพง่ ศาลอาญา ศาลแพง่ กรงุ เทพใต้ ศาลแพง่ ธนบุรี ศาลอาญาธนบุรี ศาลแขวงท่ตี ้งั อยูใ่ นกรุงเทพมหานคร ศาลจังหวัดมีนบุรี ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ศาลภาษอี ากรกลาง ศาลแรงงานกลาง ศาลทรพั ยส์ ินทางปญั ญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ศาลล้มละลายกลาง ศาลช้นั ตน้ ในต่างจังหวัด • ศาลจังหวดั • ศาลแขวง • ศาลเยาวชนและครอบครัวในจงั หวดั ตา่ งๆ
ศาลปกครอง เป็นองคก์ รตลุ าการท่ีมีอานาจพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ชีข้ าดขอ้ พิพาททางการ ปกครอง หรอื ท่ีเรยี กว่า คดปี กครอง คดพี พิ าทระหวา่ งหนว่ ยงานของรัฐ ทเ่ี รยี กว่า ศาลปกครองสงู สดุ “หน่วยงานทางปกครอง” หรือ เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั กบั ซ่งึ มเี พยี งศาลเดียว ทาหน้าท่เี ปน็ ศาลสูงสดุ เช่นเดียวกับ เอกชน อันเน่ืองมาจากการใช้อานาจตามกฎหมาย หรอื ศาลฎกี าในระบบของศาลยตุ ธิ รรม จากการจัดทากจิ การของรัฐ ศาลปกครองชน้ั ตน้ ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองในภูมภิ าค คดีพพิ าทระหวา่ งหนว่ ยงานทางปกครองหรอื เจ้าหน้าที่ ตา่ งๆ เชน่ ศาลปกครองขอนแกน่ ศาลปกครองเชียงใหม่ ของรฐั ด้วยกนั เองอนั เน่ืองมาจากการใช้อานาจตาม กฎหมายหรอื จากการจดั ทากิจการของรัฐ ศาลปกครองแบ่งออกเป็น ๒ ชนั้
ศาลทหาร มีอานาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดีอาญาซึง่ ผกู้ ระทา ผดิ เป็นบคุ คลท่อี ยูใ่ น อานาจศาลทหาร และคดอี น่ื ตามที่กฎหมายบญั ญัตไิ ว้ แผนผงั การแสดงความสัมพนั ธก์ ารแบง่ แยกการใช้อานาจ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ พระมหากษตั ริย์ ฝ่ายนติ ิบญั ญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตลุ าการ รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี สภาผูแ้ ทนราษฎร วฒุ ิสภา ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุตธิ รรม ออกกฎหมาย บังคบั ใชก้ ฎหมาย ศาลปกครอง เสนอร่างกฎหมาย ศาลทหาร ตรวจสอบการออกกฎหมาย และการบงั คบั ใช้กฎหมาย
การถ่วงดุลอานาจอธปิ ไตย การถ่วงดุลอานาจของฝา่ ยนติ ิบัญญตั ิ การถว่ งดุลอานาจของฝ่ายบริหาร การถ่วงดุลอานาจของฝา่ ยตลุ าการ การถว่ งดลุ อานาจฝา่ ยบรหิ ารหรือคณะรัฐมนตรี การถ่วงดุลอานาจฝ่ายนิติบัญญัติ การถ่วงดลุ อานาจฝา่ ยบริหาร โดยการควบคมุ การบริหารราชการแผน่ ดนิ โดยการยบุ สภา ซึ่งเป็นพระราชอานาจ โดยกระบวนการพจิ ารณาคดีของศาลฎกี า ซงึ่ กระทาได้ดว้ ยวธิ ีการ เชน่ ของพระมหากษัตริย์ท่ีจะมีพระราชกฤษฎกี ายบุ แผนกคดอี าญาของผ้ดู ารงตาแหนง่ ทางการเมือง • ใหค้ วามเห็นชอบบุคคลทจ่ี ะเปน็ สภาตามคาแนะนาของนายกรฐั มนตรี ซง่ึ จะทาให้ หรอื ศาลรฐั ธรรมนูญ เช่น การวินิจฉยั คุณสมบัติ สภาผแู้ ทนราษฎรส้นิ สุดวาระก่อนกาหนดหรือไม่ ของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง หรอื ศาล นายกรัฐมนตรี โดยประธานสภา สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ต่อไปได้ ขณะเดยี วกันฝ่าย ปกครอง เชน่ การพพิ ากษาคดีปกครองทเี่ กดิ จาก ผูแ้ ทนราษฎรเปน็ ผู้ลงนามรับสนอง บรหิ าร คือ คณะรฐั มนตรเี องกต็ อ้ งพน้ จาก การปฏบิ ตั ิหน้าท่ขี องหนว่ ยงานปกครองหรือ พระบรมราชโองการแตง่ ต้ังนายกรฐั มนตรี ตาแหน่ง แต่ต้องอยใู่ นตาแหนง่ เพื่อปฏบิ ัติหน้าที่ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั • ให้คณะรัฐมนตรีต้องแถลงนโยบายในการ ต่อไปจนกวา่ คณะรฐั มนตรีชุดใหมจ่ ะเข้ามารับ การถว่ งดลุ อานาจฝ่ายนติ บิ ญั ญัติ บริหารราชการแผ่นดินต่อรัฐสภากอ่ นเข้า หนา้ ท่ี โดยกระบวนการพจิ ารณาคดขี องศาล บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ โดยไมม่ ีการลงมติ การถ่วงดลุ อานาจฝ่ายตลุ าการ รัฐธรรมนูญ หรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ ไวว้ างใจ โดยการกล่นั กรองและให้ความเห็นชอบ ดารงตาแหนง่ ทางการเมือง การถ่วงดลุ อานาจฝ่ายตุลาการ วงเงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี • โดยกระบวนการควบคมุ และอนุมัติ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี ถอดถอนผู้ พพิ ากษาหรอื ตลุ าการออกจากตาแหนง่ ตาม บทบัญญัตริ ัฐธรรมนญู
แนวทางการปฏบิ ัตติ น ประชาชนจึงควรปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับ ตามบทบัญญตั ิในรฐั ธรรมนญู บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญตามแนวทาง ดงั นี้ เก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ี เคารพสทิ ธขิ องกัน รู้จักใช้สทิ ธิของ เผยแพร่ความรู้ ปฏบิ ตั ติ ามบทบาท และกนั โดยไม่ ตนเองและแนะนา เก่ียวกับสทิ ธิ หน้าท่ี ท่ี ละเมดิ สิทธิ ใหผ้ ูอ้ ่นื รู้จักใช้และ มนุษยชน และ เสรภี าพของผอู้ นื่ เกี่ยวข้อง เช่น ให้ รกั ษาสทิ ธิของ ปลูกฝงั ความร่วมมอื ใน สง่ เสรมิ และ ตนเอง แนวความคิดเรอ่ื ง การธารงรักษาไว้ สนับสนนุ การ สิทธมิ นษุ ยชน ซง่ึ สถาบนั ชาติ ดาเนินงานของ รว่ มมอื กบั ให้แกช่ ุมชนหรอื องค์กรอสิ ระตาม หน่วยงานของ ศาสนา รฐั ธรรมนูญ ภาครฐั และเอกชน สงั คมตาม พระมหากษัตริย์ เพ่อื ค้มุ ครองสทิ ธิ สถานภาพและ และการปกครอง บทบาททีต่ นพงึ มนษุ ยชน ระบอบ กระทาได้ ประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นประมขุ
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: