สถานท่ที ่องเท่ยี วอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่
ประวัตคิ วามเปน็ มา อทุ ยานแห่งชาตดิ อยอินทนนท์ มพี นื้ ท่ีครอบคลมุ อยุ่ในทอ้ งท่ีอาเภอสันป่าตอง อาเภอจอมทอง และอาเภอแม่แจม่ จงั หวัดเชียงใหม่ประกอบไปดว้ ยภูเขาสูงสลบั ซับซ้อน มีดอยอนิ ทนนทซ์ ึง่ เปน็ ยอดเขาที่สูงที่สดุ ของประเทศไทยมีสภาพปา่ เป็นตน้ น้าลาธารของแมน่ า้ หลายสายและเป็นสว่ นหนง่ึ ของตน้ นา้ ปิงทีใ่ หพ้ ลังงานไฟฟ้าท่เี ขอื่ นภูมิพล มีเอกลักษณท์ างธรรมชาตทิ ่สี วยงาม เช่น นา้ ตกตา่ ง ๆ โดนเฉพาะนา้ ตกแมย่ ะ ทไ่ี ดช้ ่อื วา่ สวยทสี่ ุดในประเทศ อทุ ยานแห่งชาตดิ อยอนิ ทนนท์ มีเนอ้ื ที่ ประมาณ 482 ตารางกิโลเมตร หรอื 301,500 ไร่ แต่เดมิ ดอยอนิ ทนนท์มีชอื่ ว่า “ดอยหลวง” หรอื “ดอยอา่ งกา” คาวา่ ดอยหลวงหมายถงึ ภูเขาทีม่ ขี นาดใหญ่ สว่ นท่เี รยี กวา่ ดอยอา่ งกาน้นั มีเรือ่ งเล่าว่าห่างจากดอยอนิ ทนนทไ์ ปทางทศิ ตะวนั ตก 300 เมตร มีหนองน้าอยู่แห่งหน่งึ ลักษณะเหมอื นอ่างน้า แต่กอ่ นน้ีมีฝูงกาไปเล่นน้ากนั มากมายจึงเรียกว่า อ่างกา ต่อมาจึงรวมเรยี กวา่ “ดอยอ่างกา”
เมอื่ คร้งั ทป่ี ่าไมท้ างภาคเหนือยงั อยู่ในความควบคมุ ของเจ้าผู้ครอบครองนครต่างๆ น้ันในสมัยพระเจา้ อินทรวชิ ยานนทเ์ ป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ พระองคเ์ ป็นผู้ทเ่ี หน็ ความสาคญั ของปา่ ไมเ้ ปน็ อันมาก โดยเฉพาะ“ดอยหลวง” พระองคม์ คี วามหวงแหนเป็นพเิ ศษ ขณะท่ียังมพี ระชนมอ์ ยู่ไดส้ ั่งไว้วา่ หากส้นิ พระชนม์ไปแล้วกข็ อให้แบง่ เอาอัฐิส่วนหนง่ึ ไปบรรจไุ ว้ บนยอดดอยหลวงด้วย ตอ่ มา คาวา่ ดอยหลวงก็ถูกเปลีย่ นเป็น “ดอยอินทนนท์” ตามพระนามของเจ้าผูค้ รองนครนน้ัและเมอื่ ข้ึนไปบนยอดเขาสูงนี้ จะเหน็ สถูปบรรจพุ ระอัฐขิ องพระเจ้าอินทรวชิ ยานนทป์ ระดษิ ฐานอยู่ป่าดอยอนิ ทนนทแ์ หง่ นเ้ี ปน็ ปา่ 1 ใน 14 แหง่ ท่ีคณะรัฐมนตรีไดม้ ีมตใิ นการประชุมเม่ือวนั ท่ี 7 ตุลาคม 2502 ให้จัดต้งั เปน็ อุทยานแห่งชาติ ต่อมาได้มีกฎกระทรวงฉบับที่ 103(พ.ศ.2502) ออกตามความพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองและสงวนป่าพ.ศ. 2481 ให้ปา่ ดอยอนิ ทนนทใ์ นท้องที่ ตาบลบา้ นหลวง อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เปน็ ป่าสงวนแหง่ ชาติ
ในปี พ.ศ. 2508 กองบารงุ กรมปา่ ไม้ ได้มคี าสงั่ ท่ี 119/2508ลงวันที่ 11 พฤศจกิ ายน 2508 (ขณะนัน้ เปน็ หมวดอทุ ยานแหง่ ชาติ สงั กดักองบารุง) ใหน้ ายนพิ นธ์ บุญทารมณ์ นักวชิ าการปา่ ไม้ตรี ไปทาการสารวจหาข้อมูลเบอ้ื งต้น และเมอื่ วันท่ี 14 เมษายน 2515 ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายปรดี า กรรณสูต) ไดม้ บี ัญชาใหน้ ายอดุ ม ธนญัชยานนท์ นักวิชาการปา่ ไมโ้ ท ทาการสารวจทางเฮลิคอปเตอรเ์ พื่อจัดตัง้พน้ื ท่ีดงั กล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติตามมตคิ ณะกรรมการอุทยานแห่งชาติครง้ั ที่ 1/2515 ปรากฏวา่ ป่าดอยอินทนนท์มสี ภาพเปน็ ปา่ สมบูรณ์ เป็นป่าต้นน้าลาธาร มีสภาพทวิ ทศั น์และเอกลักษณท์ างธรรมชาติท่สี วยงามและเป็นทอี่ าศยั ของสัตว์ปา่ นานาชนดิ เหมาะสมจดั ตัง้ เป็นอทุ ยานแห่งชาติประกอบกบั ศูนย์อานวยการรว่ ม ฝ่ายรกั ษาความมนั่ คงแหง่ ชาตไิ ดม้ ีหนังสือท่ี กห0312/4757 ลงวนั ท่ี 12 เมษายน 2515 เสนอหัวหนา้ คณะปฏิวตั ิ (จอมพลถนอม กิตติขจร) ให้กาหนดปา่ ดอยอนิ ทนนท์เปน็ เขตอทุ ยานแห่งชาติ และสภาบรหิ ารคณะปฏวิ ตั ไิ ดม้ มี ตเิ มือ่ วันท่ี 27 เมษายน2515 อนุมตั หิ ลักการให้ดาเนินการได้
กรมป่าไม้จงึ ดาเนนิ การจัดตงั้ บรเิ วณทีด่ ินปา่ ดอยอนิ ทนนท์ในทอ้ งทต่ี าบลบ้านหลวง ตาบลสบเตี้ย ตาบลสองแคว ตาบลยางครามอาเภอจอมทอง ตาบลแมว่ ินอาเภอสนั ปา่ ตอง จงั หวัดเชียงใหม่ เนอื้ ท่ี168,750 ไร่ เปน็ อทุ ยานแห่งชาติ โดยได้มีประกาศคณะปฏวิ ตั ิ ฉบบั ที่223 ลงวนั ที่ 2 ตุลาคม 2515 ลงในราชกจิ จานุเบกษาเลม่ 89ตอนท่ี148 ลงวันท่ี 2 ตุลาคม 2515 เปน็ อทุ ยานแห่งชาตลิ าดบั ที่ 6 ของประเทศ เมอ่ื วันที่ 16 มกราคม 2517 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั และสมเดจ็ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จทบ่ี รเิ วณดอยขนุ กลางอุทยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ ไดท้ รงมพี ระราชกระแสรับสัง่ ให้พจิ ารณาดาเนินการขยายอาณาเขตของอุทยานแห่งชาติ ออกไปคลมุ ถงึ บริเวณพืน้ ทีท่ เ่ี ป็นแหลง่ กาเนดิ ตน้ น้าลาธารเพม่ิ ข้ึนอกี กรมปา่ ไมไ้ ดท้ าการตรวจสอบและสารวจเพ่ิมเตมิ ปรากฏว่าตามทก่ี าหนดแนวเขตอุทยานแห่งชาตริ ะบทุ อ้ งทตี่ าบลแม่ศกึ ซง่ึ มิไดอ้ ยู่ในแนวเขตอุทยานฯ และมิได้ระบุท้องทตี่ าบลชา้ งเคิ่งและตาบลท่าผา ซงึ่ อยู่ในแนวเขตอทุ ยานไวใ้ นแนวเขตอทุ ยานดังกลา่ ว
ประกอบกับทางราชการกองทัพอากาศประสงคท์ ี่จะกนั พืน้ ที่บางสว่ นเพื่อก่อสรา้ งสถานเี รดาร์ เพื่อใช้ในราชการกองทพั อากาศ เน้ือที่ 33ไร่ 2 งาน 37 ตารางวา และคณะรฐั มนตรไี ดม้ ีมติเหน็ ชอบและอนุมตั ใิ ห้ดาเนินการไดเ้ มือ่ วนั ท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2517 อกี ทัง้ กระทรวงเกษตรและสหกรณป์ ระสงคท์ ี่จะปรบั ปรงุ ขยายแนวเขตอุทยานแห่งชาตอิ อกไป โดยกาหนดปา่ สงวนแห่งชาตอิ ินทนนท์ ปา่ สงวนแหง่ ชาติปา่ จอมทอง และปา่สงวนแหง่ ชาตปิ า่ แม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ ซ่ึงทีป่ ระชุมคณะกรรมการแหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 1/2518 เมอื่ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2518 ได้มีมตเิ หน็ ชอบ กองอุทยานแห่งชาติกรมปา่ ไม้ จงึ ดาเนินการเพิกถอนป่าสงวนแห่งชาติท้งั 3 ป่าจดั ตั้งเป็นอุทยานแหง่ ชาติ โดยได้มพี ระราชกฤษฎกี าหนดบรเิ วณป่าดอยอนิ ทนนท์ ในทอ้ งท่ตี าบลแมน่ าจร ตาบลชา้ งเคิ่ง ตาบลทา่ ผาอาเภอแม่แจม่ ตาบลแม่วิน ตาบลทุง่ ปี้ อาเภอสันป่าตองและตาบลสองแควตาบลยางคราม ตาบลบา้ นหลวง ตาบลสบเตี้ย อาเภอจอมทองจังหวัดเชยี งใหม่ เปน็ อุทยานแหง่ ชาตใิ นปี พ.ศ. 2521 ซง่ึ ลงประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 95 ตอนที่ 62 ลงวันท่ี 13 มิถนุ ายน 2521 รวมเนื้อที่301,500 ไร่ โดยใหย้ กเลิกประกาศคณะปฏวิ ัติ ฉบับท่ี 223 ลงวนั ท่ี 2ตุลาคม 2515
ภาพบรรยากาศบนอุทยานแหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนท์
เสน้ ทางการเดินทาง จากตวั เมืองเชียงใหมส่ ามารถเดินทางไปยงั อทุ ยานแหง่ ชาติดอยอนิ ทนนท์ ได้ 3 เส้นทางคอื เส้นทางท่ี 1 จากจงั หวดั เชียงใหม่เดินทางโดยใชเ้ ส้นทางถนนสายเชียงใหม่-ฮอด (ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 108) ผา่ นอาเภอ หางดงและอาเภอสันป่ าตอง ไปยงั อาเภอจอมทอง ก่อนถึงอาเภอจอมทองประมาณ 2 กิโลเมตรเล้ียวขวาตามถนนสายจอมทอง- อินทนนท์ (ทางหลวงจงั หวดั หมายเลข 1009)จะเร่ิมเขา้ เขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนทท์ ี่กิโลเมตรที่ 8 (น้าตกแม่กลาง)และตดั ข้ึนสู่ยอดดอยอิน-ทนนทเ์ ป็นระยะทางท้งั หมด 49.8 กม.
เส้นทางที่ 2 จากจังหวดั เชียงใหม่เดินทางตามเส้นทางถนนสานเชียงใหม่-ฮอด (ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 108) ผา่ นอาเภอหางดงอาเภอสนั ป่าตอง อาเภอจอมทองและอาเภอฮอด จากอาเภอฮอดเดนิ ทางตอ่ โดยใช้เสน้ ทางสายฮอด-แม่สะเรียง ฮอด (ทางหลวง แผ่นดนิ หมายเลข108) ผ่านอทุ ยานแห่งชาติออบหลวง แลว้ เล้ยี วขวาต่อไปยังอาเภอแม่แจม่โดยเสน้ ทางสาย ออบหลวง-แม่แจ่ม (ทางหลวงจงั หวดั หมายเลข 1088)จากอาเภอแม่แจ่มใชเ้ ส้นทางสายแม่แจม่ -ดอยอินทนนท์ (ทางหลวงจงั หวดัหมายเลข 1192)ข้นึ สูย่ อดดอยอินทนนท์ท่ถี นนสายจอมทอง-ดอยอนิ ทนนท์(ทางหลวงจงั หวัดหมายเลข 1009 กิโลเมตรท่ี 38-39)
เส้นทางที่ 3 ซงึ่ เป็นเสน้ ทางสู่อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนท์ที่คอ่ นขา้ งจะลาบาก โดยทางจากจงั หวัดเชยี งใหม่ตามเสน้ ทางถนนสายเชยี งใหม-่ ฮอด (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108) ผา่ นอาเภอหางดงและอาเภอสันปา่ ตอง จากอาเภอสันป่าตอง เลยี้ วขวา ตามถนน สายสนั ปา่ ตอง - บา้ นกาด-แมว่ ิน (ทางหลวงจงั หวัดหมายเลข 1013) แล้วตอ่ ดว้ ยเส้นทางทางหลวงจงั หวดั หมายเลข 1284 หรอื เส้นทาง ร.พ.ช.ผ่านบ้านขนุ วาง และข้นึ สู่ถนนสายจอมทอง-ดอยอนิ ทนนท์ (ทางหลวงจงั หวัดหมายเลข 1009) ทกี่ โิ ลเมตรที่ 31 ใกล้ที่ทาการอทุ ยานแหง่ ชาติ
พ้นื ท่ีทอ่ งเทีย่ วและนนั ทนาการที่สาคัญของ อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนท์ส่วนใหญจ่ ะอยู่ตามแนวเส้นทางถนนสายจอมทอง-ยอดดอยอนิ ทนนท์ (ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1009) ถนนสายยอดดอยอนิ ทนนท์-แมแ่ จ่ม (ทางหลวงจงั หวัดหมายเลข 1192)และเสน้ ทางเดินปา่ ตา่ ง ๆ ซ่ึงเพือ่ นๆ สามารถเลือกไปตามสถานที่ท่องเที่ยวทส่ี าคัญของอทุ ยานแห่งชาติตามเส้นทางต่าง ๆ ไดด้ งั นี้
ตามแนวเสน้ ทางถนนสายจอมทอง-ยอดดอยอนิ ทนนท์(ทางหลวงจังหวดั หมายเลข 1009)- นา้ ตกแมย่ ะ -นา้ ตกแมก่ ลาง-ถ้าบริจินดา -นา้ ตกวชิรธาร-น้าตกสิรธิ าร -น้าตกสิริภูมิและสวนหลวงสิริภูมิ- นา้ ตกแม่ปาน - ยอดดอยอินทนนท์-พระธาตุนภเมทนีดลและพระธาตุนภพลภูมิสิริ- เส้นทางเดินศกึ ษาธรรมชาตกิ ิ่วแม่ปาน
สถานท่นี ่าสนใจอนื่ ๆบนดอยอนิ ทนนท์ -โครงการเพาะพันธุก์ ล้วยไมร้ องเท้านารีอนิ ทนนท์ โครงการน้เี กดิ ขึ้นจากพระราชดาริของ สมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงเล็งเหน็ ถงึความสาคัญของกลว้ ยไมร้ องเท้านารอี นิ ทนนท์ ทก่ี าลังจะหมดไปจากปา่ ธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ มเป็นสวนหนิ ท่ีสวยงาม และทางโครงการฯ ได้จดั ทาสวนกล้วยไม้ และสวนดอกไม้เมอื งเหนือไวอ้ ย่างสวยงาม - โครงการหลวงอนิ ทนนท์ ถูกต้ังเพอื่ สง่ เสรมิ ให้ชาวเขาเปล่ยี นอาชพี จากการปลูกฝ่ินมาเป็นเกษตรกรรม ภายในโครงการหลวงนั้นมีพรรณไม้ให้ชมหลากหลายเช่น สวนเฟนิ สวนกระบองเพชร และไมด้ อกไมป้ ระดบั เมืองเหนือ อกี ท้ังยังมีรา้ นอาหารไวใ้ หบ้ ริการ - จดุ ชมทวิ ทศั น์ กม. 41 จุดชมทิวทศั นอ์ ยูต่ รงกโิ ลเมตรที่ 41 ของถนนสายจอมทอง-ยอดดอยอนิ ทนนท์ สามารถมองเหน็ ทิวทศั น์อันกว้างไกลของขุนเขาสลบั ซับซอ้ น โดยเฉพาะยามเชา้ จะมีทะเลหมอกปกคลุมเหนือหุบเขาน่าชมมาก จากจุดชมทิวทศั น์สามารถมองเห็นพระมหาธาตุนภเมทนีดล และพระมหาธาตุ นภพลภูมสิ ริ สิ ูงเดน่ อยู่คูก่ ัน
สถานทีพ่ กั บนดอยอนิ ทนนท์1. บ้านพักสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์-เบอร์โทรศัพท์ : 053 286 7713. ดอยชวั ร์ญา่-เบอร์โทรศพั ท์ : 081 951 74465. บา้ นแมก่ ลางหลวงวิว-เบอร์โทรศัพท์ : 089 8770706
รา้ นอาหารบนดอยอนิ ทนนท์ร้านอาหารท่ีขนึ้ ชื่อบนดอยอนิ ทนนท์ คือ “สถานเี กษตรหลวงหรือโครงการหลวงอนิ ทนนท”์ ต้ังอยู่ที่หมู่บา้ นขนุ กลาง ขับรถข้นึ ดอยอินทนนทม์ าจนถงึ ก.ม. 31 ก็จะมีทางแยกเล้ียวขวาเข้าโครงการ กใ็ หข้ ับรถตามปา้ ยเขา้ ไปประมาณ1ก.ม ภายในโครงการหลวงอินทนนทม์ ที ้งั บ้านพัก ร้านอาหาร ร้านขายของท่รี ะลกึ สวนไม้ดอกไมป้ ระดบั เมอื งหนาวฯลฯ ร้านอาหารจะตัง้ อยูไ่ ม่ห่างจากทพ่ี ักมากนกั เป็นรา้ นคอ่ นข้างใหญ่ แบ่งพนื้ ที่ออกเป็น2 สว่ น ส่วนที่เป็นด้านนอกอาคารจะทาเป็นซมุ้ หลังคามุงจาก ตง้ั โตะ๊อาหารเลยี บไปตามระเบยี งทางเดนิ อากาศดา้ นนอกตอนเย็นค่อนข้างหนาวตอ้ งใส่เสื้อหนาวน่งั ทานอาหาร สว่ นด้านในก็เป็นอาคารหลงั คายกสูง โปร่งสบาย ที่น่งั ด้านนอกจะเตม็ ก่อนเพราะบรรยากาศดี ววิ สวย
แหลง่ ที่มาของข้อมูล http://www.dnp.go.th/MainNation/nationpark/_private/doi_intanon .htm http://travel.kapook.com/view684.html http://travel.sanook.com/944622/ http://travel.kapook.com/view132342.html http://travel.sanook.com/1394081/
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: